SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
จิตวิทยาการเรียนรู้
แนวคิด ๑ .  การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำให้บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ๒ .  การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ   ลักษณะสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น คือ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร   ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซ้ำๆ และมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทั้งทางปริมาณและคุณภาพ ๓ .  ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของบทเรียน   เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้  สามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม   เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ ๑ .  องค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๒ .  อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๓ .  อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
ความหมาย จิตวิทยา   ตรงกับภาษาอังกฤษว่า   Psychology   มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก  2  คำ คือ Phyche  แปลว่า วิญญาณ กับ   Logos  แปลว่า การศึกษา     ตามรูปศัพท์   จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ    แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์   การเรียนรู้    (Lrarning )  ตามความหมายทางจิตวิทยาหมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวรอันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์   พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้    ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
ประเภทของจิตวิทยาการเรียนรู้ 1     ความต้องการของผู้เรียน   ( Want)   คือ ผู้เรียนอยากทราบอะไร เมื่อผู้เรียนมีความต้องการอยากรู้อยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเป็นสิ่งที่ยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ 2    สิ่งเร้าที่น่าสนใจ   ( Stimulus)   ก่อนที่จะเรียนรู้ได้ จะต้องมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจ และน่าสัมผัสสำหรับมนุษย์ ทำให้มนุษย์ดิ้นรนขวนขวาย และใฝ่ใจที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่น่าสนใจนั้น ๆ 3     การตอบสนอง  ( Response)  เมื่อมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทำการสัมผัสโดยใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น ตาดู หูฟัง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้วยใจ เป็นต้น  4     การได้รับรางวัล  ( Reward)   ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็นกำไรชีวิตอย่างหนึ่ง จะได้นำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต
ลำดับขั้นของการเรียนรู้ 1.  ประสบการณ์  ( experiences)  ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรู้อยู่ด้วยกันทั้งนั้น ส่วนใหญ่ที่เป็นที่เข้าใจก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ประสาทรับรู้เหล่านี้จะเป็นเสมือนช่องประตูที่จะให้บุคคลได้รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ  2.  ความเข้าใจ  ( understanding)  หลังจากบุคคลได้รับประสบการณ์แล้ว ขั้นต่อไปก็คือ ตีความหมายหรือสร้างมโนมติ  ( concept)  ในประสบการณ์นั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะสมองจะเกิดสัญญาณ  ( percept)  และมีความทรงจำ  ( retain)  ขึ้น ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้ว่า  " ความเข้าใจ“ 3.  ความนึกคิด  ( thinking)  ความนึกคิดถือว่าเป็นขั้นสุดท้ายของการเรียนรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง   Crow (1948)  ได้กล่าวว่า ความนึกคิดที่มีประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นความนึกคิดที่สามารถจัดระเบียบ
องค์ประกอบของการเรียนรู้   สิ่งเร้า   ( Stimulus )   เป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบออกมาและเป็นตัว กำหนดพฤติกรรมว่าจะแสดงออกมาในลักษณะใด   สิ่งเร้าอาจเป็นเหตุการณ์หรือวัตถุและอาจเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายก็ได้     แรงขับ   ( Drive )   มี   2  ประเภทคือแรงขับปฐมภูมิ   ( Primary Drive )  เช่น ความหิว ความกระหาย การต้องการพักผ่อน  การตอบสนอง   ( Response )   เป็นพฤติกรรมต่างๆ   ที่บุคคลแสดงออกมาเมื่อได้รับการ กระตุ้นจากสิ่งเร้าต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ หรือสถานการณ์ อาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่รอบตัวเรานั่นเอง แรงเสริม   ( Reinforcement )   สิ่งที่มาเพิ่มกำลังให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ การตอบสนอง   เช่น รางวัล   การตำหนิ    การลงโทษ การชมเชย เงิน ของขวัญ    เป็นต้น
กระบวนการของการเรียนรู้   กระบวนการของการเรียนรู้มีขั้นตอนดังนี้คือ 1.        มีสิ่งเร้า ( Stimulus )  มาเร้าอินทรีย์   ( Organism )  2.        อินทรีย์เกิดการรับสัมผัส   ( Sensation )  ประสาทสัมผัสทั้งห้า   ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย 3.        ประสาทสัมผัสส่งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสาทเกิดการรับรู้   ( Perception )  4.        สมองแปลผลออกมาว่าสิ่งที่สัมผัสคืออะไรเรียกว่าความคิดรวบยอด ( Conception )  5.        พฤติกรรมได้รับคำแปลผลทำให้เกิดความคิดรวบยอดก็จะเกิดการเรียนรู้   ( Learning ) 6.        เมื่อเกิดกระบวนการเรียนรู้บุคคลก็จะเกิดการตอบสนอง   ( Response )  พฤติกรรมนั้นๆ  
ทฤษฎีการเรียนรู้     ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข   ( Conditioning Theory ) การเรียนรู้แบบนี้      คือ   การที่บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองต่างๆ ของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ที่มีความเข้มพอที่จะเร้าความสนใจได้ซึ่งการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเป็นผลของประสบการณ์และการทำบ่อยๆ หรือการทำแบบฝึกหัดแสดงให้เห็นว่าเรามีความเข้าใจเบื้องต้นว่าบุคคลได้เรียนอะไรบางอย่างเมื่อพฤติกรรมของเขาเปลี่ยนแปลงไปในทางใดทางหนึ่งนักจิตวิทยาเชื่อว่า เงื่อนไข   ( Conditioning )  เป็นกระบวนการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน   การวางเงื่อนไขมี   2  อย่างคือ   การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  และการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ   ( operant Conditioning ) 
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning ) การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  ผู้คิดคือ อีวาน พาฟลอฟ ( Ivan Pavlov 1849-1936)  นักสรีระวิทยาชาวรัสเซีย   เขาทำการทดลองเกี่ยวกับต่อมน้ำลายและต่อมน้ำย่อยของสัตว์   เพื่อการศึกษาระบบย่อยอาหาร   พาฟลอฟสังเกตว่าสัตว์จะเริ่มหลั่งน้ำลายเมื่อได้รับอาหาร   ซึ่งพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติไม่จำเป็นต้องมีการเรียนรู้   เขายังสังเกตด้วยอีกว่าสัตว์เริ่มหลั่งน้ำลายทันที   เมื่อเห็นผู้ทดลองที่เคยเป็นผู้ให้อาหารเข้ามาในห้องนั้น   หรือเมื่อมีใครยกจานอาหารของสุนัข   มันจะน้ำลายไหล
ก่อนการวางเงื่อนไข   UCS ( อาหาร )                                                                                                     UCR (  น้ำลายไหล   ) สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                        น้ำลายไหล   สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCS )  ทำให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCR  ) UCS ( อาหาร )                                                                                                     สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                       UCR (  น้ำลายไหล   )
ทฤษฎีสิ่งเสริมแรง   (Reinforcement Theory ) เบอร์ฮัส เฟดเดอริค สกินเนอร์   (Burrhus Federick Skinner)  นักจิตวิทยาพัฒนาทฤษฎีสิ่งเสรีมแรงเรียกว่า   สิ่งเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)  ใช้หลักการจูงใจแต่ละบุคคลให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม   โดยชการออกแบบและจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีบรรยากาศน่าทำงาน   ในการยกย่องชมเชยบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานดี   และใช้การลงโทษซึ่งทำให้เกิดผลลบแก่บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานต่ำมาก
สิ่งเสริมแรงและการลงโทษ (Reintorcement and Punishment)    การให้รางวัลและการให้โทษในหน่วยงาน   องค์การเป็นที่ทราบกันดีว่า   มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคล   ถ้าเราต้องการให้บุคคลทำงานในแนวทางที่เหมาะสม   เราก็ควรจูงใจบุคคลเหล่านั้นโดยการให้สิ่งเสริมแรงเอให้เขาทำงานให้ตามที่เราต้องการ   จากผลการศึกษาเป็นจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า   การผู้บริหารมีการใช้วิธีการให้รางวัลและการให้โทษ   ย่อมมีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพการทำงาน   และความพอใจในการทำงานในกลุ่มบุคคล   ผู้ร่วมงาน   การให้รางวัลอย่างเหมาะสมคือ   ให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่มีผลงานดี   และไม่ให้รางวัลแก่บุคคลที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ   ผู้บริหารที่ไม่รู้จักให้รางวัลอย่างเหมาะสมจะทำให้บุคคลที่ทำงานเกิดความรู้สึกไม่พอใจว่า   ไม่ได้รับความยุติธรรม   ทำให้ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง   และทำให้กลุ่มของผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความรู้สึกไม่พอใจมากขึ้น  
สิ่งล่อใจ   (Incentives )                  สิ่งล่อใจ   จัดว่าเป็นการจูงใจโดยการให้รางวัล   นับว่ามีความสำคัญต่อการกระตุ้นพฤติกรรมสเปนซ์ (Spence)   เชื่อว่า   สิ่งล่อใจของทฤษฏีการจูงใจประกอบด้วย   ลัทธิพฤติกรรมและแนวทางความเข้าใจตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า   พฤติกรรมเป็นสิ่งชี้นำไปสู่จุดหมายปลายทางและบุคคลนั้นก็มีความพยายามที่จะทำให้ได้รับประเภทสิ่งล่อใจทางบวก ( สิ่งที่ปรารถนา )  และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งล่อใจทางลบ ( สิ่งที่ไม่ปรารถนา )
ประเภทของสิ่งล่อใจ   (Types of Incentives ) ประเภทที่   1  สิ่งล่อใจปฐมภูมิ (Primary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่สามารถทำให้เกิดความพึงพอใจในด้านความต้องการทางด้านสรีระ   เพื่อความมีชีวิตอยู่รอด   ได้แก่   ปัจจัย   5  คือ   อาหาร , เสื้อผ้า , ที่อยู่อาศัย , ยารักษาโรคและความต้องการทางเพศ ประเภทที่   2  สิ่งล่อใจทุติยภูมิ (Secondary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่ทำให้เกิดประสบการณ์แปลกใหม่   และมีการเร้าใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่การทำงานที่ตรงกับความสนใจ   ความถนัด   ท้าทายความสามารถหรือเป็นงานใหม่ที่ลดความจำเจซ้ำซาก   ที่ทำให้เกิดความหน้าเบื่อหน่ายต่อผู้ปฏิบัติงานหรือเป็นงานที่มีการแข่งขันใช้ความรู้ความสามารถ   ซึ่งตรงกับลักษณะที่เป็นบุคคลที่มีความกระตือรือร้น   มีความขยันหมั่นเพียร   ตั้งใจการทำงานอย่างจริงจัง
ประเภทที่   3    สิ่งล่อใจทางสังคม   (Social Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับการให้การยอมรับยกย่องนับถือ   ให้ความไว้วางใจ   ให้ความเชื่อถือ   ให้อิสรภาพและการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะที่ดีในการทำงาน   โดยกระทำให้เป็นที่ปรากฏและรู้จักแก่เพื่อนร่วมงาน   ผู้บริหารงาน   และบุคคลที่เรายอมรับและนับถือนี้   เป็นบุคคลที่มีผลงานดีเด่น   มีความประพฤติเป็นตัวอย่างที่ดีได้จะทำให้ผู้ร่วมงานดีมีความรู้สึกว่าตนสำคัญต่อหน่วยงาน   และจะมีกำลังในการทำงานเพิ่มมากขึ้น ประเภทที่   4  สิ่งล่อใจที่เป็นเงิน   (Monetary Incentives)  สิ่งล่อใจที่เป็นเงินเป็นการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่บุคคลที่ทำงานมีผลงานดีหรือผลผลิตพิ่มขึ้น   หรือมีผลกำไรเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นสิ่งล่อใจให้บุคคลที่ทำงานดีอยู่แล้ว   หรือบุคคลที่ทำงานยังไม่ถึงเกณฑ์ระดับดีได้มีของขวัญและกำลังใจเพิ่มขึ้นที่จะอุทิศทั้งสติปัญญา   พลังร่างกายให้แก่การทำงานอย่างเต็มที่
ประเภทที่   5   สิ่งล่อใจที่เป็นกิจกรรม (Activity Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับกิจกรรมทำงานตามตำแหน่งหน้าที่   ผู้บริหารงานมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ผู้ทำงานได้ทำงานตรงกับความรู้ความสามารถ   ความสนใจ   ความถนัด   เพื่อเป็นการจูงใจในการทำงาน   ผู้บริหารงานสามารถจัดให้มีการแข่งขันในการทำงาน   โดยกำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนผลงานหรือผลผลิตภายในเวลาเท่าใดและกำหนดการให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่สามารถทำงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้   วิธีดังกล่าวนี้จะเป็นการจูงใจผู้ทำงานเกิดความรู้สึกอยากจะทำงานให้มีผลงานหรือผลผลิตเพิ่มขึ้น
การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก  ( Positive Transfer )  คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลของการเรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็วขึ้น ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น  การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก มักเกิดจาก ๑ .  เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง  และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้งานแรกอย่างแจ่มแจ้งแล้ว ๒ .  เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง ๓ .  เมื่อผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะนำผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเรียนรู้อีกงานหนึ่ง  และสามารถจำวิธีเรียนหรือผลของการเรียนรู้งานแรกได้อย่างแม่นยำ ๔ .  เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  โดยชอบที่จะนำความรู้ต่างๆ ที่เคยเรียนรู้มาก่อนมาลองคิดทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การนำไปประยุกต์ใช้ ๑ .  ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใหม่  ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ใหม่มาแล้ว ๒ .  พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ๓ .  ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่งหวังว่าผู้เรียนทุกคนจะต้องเกิดการเรียนรู้ที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน ๔ .  ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดีแล้วจึงจะสอนบทเรียนต่อไป ๕ .  พยายามชี้แนะให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบทเรียนที่มีความสัมพันธ์กัน
การนำหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object]
END

More Related Content

What's hot

จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Prakul Jatakavon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้eaktcfl
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาSinghar Kramer
 

What's hot (16)

จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
 

Similar to นัน

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 

Similar to นัน (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

More from nan1799

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้nan1799
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพnan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 

More from nan1799 (7)

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพ
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 

นัน

  • 2. แนวคิด ๑ . การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำให้บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ๒ . การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ ลักษณะสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น คือ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซ้ำๆ และมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทั้งทางปริมาณและคุณภาพ ๓ . ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 3. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของบทเรียน เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ ๑ . องค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๒ . อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๓ . อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
  • 4. ความหมาย จิตวิทยา   ตรงกับภาษาอังกฤษว่า   Psychology   มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche  แปลว่า วิญญาณ กับ   Logos  แปลว่า การศึกษา     ตามรูปศัพท์   จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ    แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์   การเรียนรู้    (Lrarning )  ตามความหมายทางจิตวิทยาหมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวรอันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์   พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้    ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
  • 5. ประเภทของจิตวิทยาการเรียนรู้ 1     ความต้องการของผู้เรียน ( Want)   คือ ผู้เรียนอยากทราบอะไร เมื่อผู้เรียนมีความต้องการอยากรู้อยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเป็นสิ่งที่ยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ 2    สิ่งเร้าที่น่าสนใจ ( Stimulus)   ก่อนที่จะเรียนรู้ได้ จะต้องมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจ และน่าสัมผัสสำหรับมนุษย์ ทำให้มนุษย์ดิ้นรนขวนขวาย และใฝ่ใจที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่น่าสนใจนั้น ๆ 3     การตอบสนอง ( Response)  เมื่อมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทำการสัมผัสโดยใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น ตาดู หูฟัง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้วยใจ เป็นต้น 4     การได้รับรางวัล ( Reward)   ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็นกำไรชีวิตอย่างหนึ่ง จะได้นำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต
  • 6. ลำดับขั้นของการเรียนรู้ 1. ประสบการณ์ ( experiences)  ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรู้อยู่ด้วยกันทั้งนั้น ส่วนใหญ่ที่เป็นที่เข้าใจก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ประสาทรับรู้เหล่านี้จะเป็นเสมือนช่องประตูที่จะให้บุคคลได้รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ 2. ความเข้าใจ ( understanding)  หลังจากบุคคลได้รับประสบการณ์แล้ว ขั้นต่อไปก็คือ ตีความหมายหรือสร้างมโนมติ ( concept)  ในประสบการณ์นั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะสมองจะเกิดสัญญาณ ( percept)  และมีความทรงจำ ( retain)  ขึ้น ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้ว่า " ความเข้าใจ“ 3. ความนึกคิด ( thinking)  ความนึกคิดถือว่าเป็นขั้นสุดท้ายของการเรียนรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง   Crow (1948)  ได้กล่าวว่า ความนึกคิดที่มีประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นความนึกคิดที่สามารถจัดระเบียบ
  • 7. องค์ประกอบของการเรียนรู้ สิ่งเร้า   ( Stimulus )   เป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบออกมาและเป็นตัว กำหนดพฤติกรรมว่าจะแสดงออกมาในลักษณะใด   สิ่งเร้าอาจเป็นเหตุการณ์หรือวัตถุและอาจเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายก็ได้    แรงขับ   ( Drive )   มี   2  ประเภทคือแรงขับปฐมภูมิ   ( Primary Drive )  เช่น ความหิว ความกระหาย การต้องการพักผ่อน การตอบสนอง   ( Response )   เป็นพฤติกรรมต่างๆ   ที่บุคคลแสดงออกมาเมื่อได้รับการ กระตุ้นจากสิ่งเร้าต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ หรือสถานการณ์ อาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่รอบตัวเรานั่นเอง แรงเสริม   ( Reinforcement )   สิ่งที่มาเพิ่มกำลังให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ การตอบสนอง   เช่น รางวัล   การตำหนิ    การลงโทษ การชมเชย เงิน ของขวัญ    เป็นต้น
  • 8. กระบวนการของการเรียนรู้ กระบวนการของการเรียนรู้มีขั้นตอนดังนี้คือ 1.        มีสิ่งเร้า ( Stimulus )  มาเร้าอินทรีย์   ( Organism )  2.        อินทรีย์เกิดการรับสัมผัส   ( Sensation )  ประสาทสัมผัสทั้งห้า   ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย 3.        ประสาทสัมผัสส่งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสาทเกิดการรับรู้   ( Perception )  4.        สมองแปลผลออกมาว่าสิ่งที่สัมผัสคืออะไรเรียกว่าความคิดรวบยอด ( Conception )  5.        พฤติกรรมได้รับคำแปลผลทำให้เกิดความคิดรวบยอดก็จะเกิดการเรียนรู้   ( Learning ) 6.        เมื่อเกิดกระบวนการเรียนรู้บุคคลก็จะเกิดการตอบสนอง   ( Response )  พฤติกรรมนั้นๆ  
  • 9. ทฤษฎีการเรียนรู้   ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข   ( Conditioning Theory ) การเรียนรู้แบบนี้     คือ   การที่บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองต่างๆ ของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ที่มีความเข้มพอที่จะเร้าความสนใจได้ซึ่งการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเป็นผลของประสบการณ์และการทำบ่อยๆ หรือการทำแบบฝึกหัดแสดงให้เห็นว่าเรามีความเข้าใจเบื้องต้นว่าบุคคลได้เรียนอะไรบางอย่างเมื่อพฤติกรรมของเขาเปลี่ยนแปลงไปในทางใดทางหนึ่งนักจิตวิทยาเชื่อว่า เงื่อนไข   ( Conditioning )  เป็นกระบวนการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน   การวางเงื่อนไขมี   2  อย่างคือ   การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  และการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ   ( operant Conditioning ) 
  • 10. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning ) การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  ผู้คิดคือ อีวาน พาฟลอฟ ( Ivan Pavlov 1849-1936)  นักสรีระวิทยาชาวรัสเซีย   เขาทำการทดลองเกี่ยวกับต่อมน้ำลายและต่อมน้ำย่อยของสัตว์   เพื่อการศึกษาระบบย่อยอาหาร   พาฟลอฟสังเกตว่าสัตว์จะเริ่มหลั่งน้ำลายเมื่อได้รับอาหาร   ซึ่งพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติไม่จำเป็นต้องมีการเรียนรู้   เขายังสังเกตด้วยอีกว่าสัตว์เริ่มหลั่งน้ำลายทันที   เมื่อเห็นผู้ทดลองที่เคยเป็นผู้ให้อาหารเข้ามาในห้องนั้น   หรือเมื่อมีใครยกจานอาหารของสุนัข   มันจะน้ำลายไหล
  • 11. ก่อนการวางเงื่อนไข   UCS ( อาหาร )                                                                                                     UCR (  น้ำลายไหล   ) สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                        น้ำลายไหล   สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCS )  ทำให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCR ) UCS ( อาหาร )                                                                                                     สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                       UCR (  น้ำลายไหล   )
  • 12. ทฤษฎีสิ่งเสริมแรง   (Reinforcement Theory ) เบอร์ฮัส เฟดเดอริค สกินเนอร์   (Burrhus Federick Skinner)  นักจิตวิทยาพัฒนาทฤษฎีสิ่งเสรีมแรงเรียกว่า   สิ่งเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)  ใช้หลักการจูงใจแต่ละบุคคลให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม   โดยชการออกแบบและจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีบรรยากาศน่าทำงาน   ในการยกย่องชมเชยบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานดี   และใช้การลงโทษซึ่งทำให้เกิดผลลบแก่บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานต่ำมาก
  • 13. สิ่งเสริมแรงและการลงโทษ (Reintorcement and Punishment)    การให้รางวัลและการให้โทษในหน่วยงาน   องค์การเป็นที่ทราบกันดีว่า   มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคล   ถ้าเราต้องการให้บุคคลทำงานในแนวทางที่เหมาะสม   เราก็ควรจูงใจบุคคลเหล่านั้นโดยการให้สิ่งเสริมแรงเอให้เขาทำงานให้ตามที่เราต้องการ   จากผลการศึกษาเป็นจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า   การผู้บริหารมีการใช้วิธีการให้รางวัลและการให้โทษ   ย่อมมีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพการทำงาน   และความพอใจในการทำงานในกลุ่มบุคคล   ผู้ร่วมงาน   การให้รางวัลอย่างเหมาะสมคือ   ให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่มีผลงานดี   และไม่ให้รางวัลแก่บุคคลที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ   ผู้บริหารที่ไม่รู้จักให้รางวัลอย่างเหมาะสมจะทำให้บุคคลที่ทำงานเกิดความรู้สึกไม่พอใจว่า   ไม่ได้รับความยุติธรรม   ทำให้ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง   และทำให้กลุ่มของผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความรู้สึกไม่พอใจมากขึ้น  
  • 14. สิ่งล่อใจ   (Incentives )                  สิ่งล่อใจ   จัดว่าเป็นการจูงใจโดยการให้รางวัล   นับว่ามีความสำคัญต่อการกระตุ้นพฤติกรรมสเปนซ์ (Spence)   เชื่อว่า   สิ่งล่อใจของทฤษฏีการจูงใจประกอบด้วย   ลัทธิพฤติกรรมและแนวทางความเข้าใจตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า   พฤติกรรมเป็นสิ่งชี้นำไปสู่จุดหมายปลายทางและบุคคลนั้นก็มีความพยายามที่จะทำให้ได้รับประเภทสิ่งล่อใจทางบวก ( สิ่งที่ปรารถนา )  และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งล่อใจทางลบ ( สิ่งที่ไม่ปรารถนา )
  • 15. ประเภทของสิ่งล่อใจ   (Types of Incentives ) ประเภทที่   1  สิ่งล่อใจปฐมภูมิ (Primary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่สามารถทำให้เกิดความพึงพอใจในด้านความต้องการทางด้านสรีระ   เพื่อความมีชีวิตอยู่รอด   ได้แก่   ปัจจัย   5  คือ   อาหาร , เสื้อผ้า , ที่อยู่อาศัย , ยารักษาโรคและความต้องการทางเพศ ประเภทที่   2  สิ่งล่อใจทุติยภูมิ (Secondary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่ทำให้เกิดประสบการณ์แปลกใหม่   และมีการเร้าใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่การทำงานที่ตรงกับความสนใจ   ความถนัด   ท้าทายความสามารถหรือเป็นงานใหม่ที่ลดความจำเจซ้ำซาก   ที่ทำให้เกิดความหน้าเบื่อหน่ายต่อผู้ปฏิบัติงานหรือเป็นงานที่มีการแข่งขันใช้ความรู้ความสามารถ   ซึ่งตรงกับลักษณะที่เป็นบุคคลที่มีความกระตือรือร้น   มีความขยันหมั่นเพียร   ตั้งใจการทำงานอย่างจริงจัง
  • 16. ประเภทที่   3    สิ่งล่อใจทางสังคม   (Social Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับการให้การยอมรับยกย่องนับถือ   ให้ความไว้วางใจ   ให้ความเชื่อถือ   ให้อิสรภาพและการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะที่ดีในการทำงาน   โดยกระทำให้เป็นที่ปรากฏและรู้จักแก่เพื่อนร่วมงาน   ผู้บริหารงาน   และบุคคลที่เรายอมรับและนับถือนี้   เป็นบุคคลที่มีผลงานดีเด่น   มีความประพฤติเป็นตัวอย่างที่ดีได้จะทำให้ผู้ร่วมงานดีมีความรู้สึกว่าตนสำคัญต่อหน่วยงาน   และจะมีกำลังในการทำงานเพิ่มมากขึ้น ประเภทที่   4  สิ่งล่อใจที่เป็นเงิน   (Monetary Incentives)  สิ่งล่อใจที่เป็นเงินเป็นการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่บุคคลที่ทำงานมีผลงานดีหรือผลผลิตพิ่มขึ้น   หรือมีผลกำไรเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นสิ่งล่อใจให้บุคคลที่ทำงานดีอยู่แล้ว   หรือบุคคลที่ทำงานยังไม่ถึงเกณฑ์ระดับดีได้มีของขวัญและกำลังใจเพิ่มขึ้นที่จะอุทิศทั้งสติปัญญา   พลังร่างกายให้แก่การทำงานอย่างเต็มที่
  • 17. ประเภทที่   5   สิ่งล่อใจที่เป็นกิจกรรม (Activity Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับกิจกรรมทำงานตามตำแหน่งหน้าที่   ผู้บริหารงานมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ผู้ทำงานได้ทำงานตรงกับความรู้ความสามารถ   ความสนใจ   ความถนัด   เพื่อเป็นการจูงใจในการทำงาน   ผู้บริหารงานสามารถจัดให้มีการแข่งขันในการทำงาน   โดยกำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนผลงานหรือผลผลิตภายในเวลาเท่าใดและกำหนดการให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่สามารถทำงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้   วิธีดังกล่าวนี้จะเป็นการจูงใจผู้ทำงานเกิดความรู้สึกอยากจะทำงานให้มีผลงานหรือผลผลิตเพิ่มขึ้น
  • 18. การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก ( Positive Transfer ) คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลของการเรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็วขึ้น ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก มักเกิดจาก ๑ . เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้งานแรกอย่างแจ่มแจ้งแล้ว ๒ . เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง ๓ . เมื่อผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะนำผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเรียนรู้อีกงานหนึ่ง และสามารถจำวิธีเรียนหรือผลของการเรียนรู้งานแรกได้อย่างแม่นยำ ๔ . เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยชอบที่จะนำความรู้ต่างๆ ที่เคยเรียนรู้มาก่อนมาลองคิดทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ
  • 19.
  • 20. การนำไปประยุกต์ใช้ ๑ . ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใหม่ ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ใหม่มาแล้ว ๒ . พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ๓ . ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่งหวังว่าผู้เรียนทุกคนจะต้องเกิดการเรียนรู้ที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน ๔ . ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดีแล้วจึงจะสอนบทเรียนต่อไป ๕ . พยายามชี้แนะให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบทเรียนที่มีความสัมพันธ์กัน
  • 21.
  • 22. END