SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
บทที่ 8 การวัดผลประเมินผลการเรีนรู้
ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ  หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่างๆ โดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ การทดสอบการศึกษา  หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล การประเมินผล  หมายถึง การตัดสินใจ หรือการวินิจฉัยสิ่งต่างๆ ที่ได้จากการวัดผล เช่น ผลจากการวัดความสูง การชั่งน้ำหนักของวัตถุ บลูม  (Bloom)  ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัด ออกเป็น  3  ลักษณะ วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1.  วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน 2.  วัดผลเพื่อวินิจฉัย 3.  วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง 4.  วัดผลเพื่อเปรียบเทียบ หรือเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรียน 5.  วัดผลเพื่อพยากรณ์ 6.  วัดผลเพื่อประเมินผล หลักการวัดผลการศึกษา 1.  ต้องวัดให้ตรงกับจุกมุ่งหมายของการเรียนการสอน 2.  เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม 3.  ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด 4.  ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง 5.  ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า
เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกต การสังเกต คือ การมอง ดู สร้างแบบประเมินการสังเกต รูปแบบการสังเกต การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือการโต้ตอบ รูปแบบการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง   การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบสอบถาม นิยมใช้กันมาก รูปแบบของการสอบถาม แบบสอบถามชนิดปลายเปิด   แบบสอบถามชนิดปลายเปิด การจัดอันดับ เป็นการจักอันดับคุณภาพของผู้เรียน การประเมินผลจากสภาพจริง หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก การรวบรวมข้อมูล
การวัดผลภาคปฎิบัติ คือ การให้นักเรียนลงมือปฎิบัติ มีดังนี้ ขั้นเตรียมงาน   ขั้นปฎิบัติงาน  เวลาที่ใช้ในการทำงาน  ผลงาน การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน คือ การรวมข้อมูลมี่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่างๆ แบบทดสอบ คือชุดคำถามถูกผิด การสังเกต  ธรรมชาติของข้อมูลจากการสังเกต แบ่งออกเป็น  2  ระดับ 9.1  เป็นรูปธรรม 9.2  เป็นนามธรรม ชนิดของการสังเกต แบ่งออกเป็น  2  ชนิด 1.  การสังเกตแบบมีส่วนร่วม 2.  การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
ลักษณะของการสังเกตที่ดี 1.  กำหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกต 2.  วางแผนการสังเกตไว้ล่วงหน้า 3.  ควรสังเกตโดยที่ผู้สังเกตไม่รู้ตัว 4.  ควรระวังอย่าให้เกิดการลำเอียงในขณะที่สังเกต 5.  ควรสังเกตซ้ำหลายๆครั้ง เพื่อเป็นการตรวจสอบความแน่ใจ 6.  ควรมีการบันทึกการสังเกตทุกครั้ง เพื่อป้องกันการลืม การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้ มาจัดกระทำโดยการจัดระเบียบ แยกประเภท
ลักษณะของข้อมูล แบ่งออกเป็น  2  ประเภท 1.  ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ข้อมูลที่อยู่ในรูปของจำนวน ปริมาณ หรือตัวเลข 2.  ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ ข้อมูลที่ไม่อยู่ในรูปของจำนวนหรือตัวเลข ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น  2  ประเภท 1.  การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ 2.  การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ การประเมินผลทางการศึกษา กระบวนการในการตัดสินใจลง สรุปคุณลักษณะ หรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามี คุณภาพดีระดับใด โดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ  3  ประการคือ 1.  ผลการวัด 2.  เกณฑ์การพิจารณา 3.  การตัดสินใจ
ลักษณะการประเมินผลจากข้อมูล แบ่งออกเป็น  2  วิธี คือ 1.  การประเมินผลแบบอ้างอิงเกณฑ์ เป็นการวัดเพื่อต้อการทราบว่าบุคคลนั้น มีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จาก ผลงานไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอ้างอิงเกณฑ์ 1.  วัตถุประสงค์การสอนต้องชัดเจน 2.  ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน 3.  เกณฑ์ที่วัดต้องเด่นชัด มีหลักเกณฑ์ที่อย่างอิงอย่างยุติธรรม
2.  การประเมินผลแบบอ้างอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น คือ จำแนกคะแนน สูงสุดจนต่ำสุด แล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบเพื่อ ประเมินต่อไป เช่น การสอบคัดเลือกนักศึกษาสอบเข้ามหาวิทยาลัย ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอ้างอิงกลุ่ม 1.  ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความเชื่อมั่นและเที่ยงตรง 2.  ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด การประเมินต้องมีความยุติธรรม ตามสภาพความเป็นจริงของผลการเรียน

More Related Content

Similar to บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้

บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้ยัยบ้อง ตาบร้า
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8paynarumon
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8sirinan120
 

Similar to บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้ (20)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

More from nan1799

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้nan1799
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพnan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
นัน
นันนัน
นันnan1799
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยาnan1799
 

More from nan1799 (9)

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพ
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
นัน
นันนัน
นัน
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้

  • 2. ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่างๆ โดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล การประเมินผล หมายถึง การตัดสินใจ หรือการวินิจฉัยสิ่งต่างๆ ที่ได้จากการวัดผล เช่น ผลจากการวัดความสูง การชั่งน้ำหนักของวัตถุ บลูม (Bloom) ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัด ออกเป็น 3 ลักษณะ วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
  • 3. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1. วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน 2. วัดผลเพื่อวินิจฉัย 3. วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง 4. วัดผลเพื่อเปรียบเทียบ หรือเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรียน 5. วัดผลเพื่อพยากรณ์ 6. วัดผลเพื่อประเมินผล หลักการวัดผลการศึกษา 1. ต้องวัดให้ตรงกับจุกมุ่งหมายของการเรียนการสอน 2. เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม 3. ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด 4. ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง 5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า
  • 4. เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกต การสังเกต คือ การมอง ดู สร้างแบบประเมินการสังเกต รูปแบบการสังเกต การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือการโต้ตอบ รูปแบบการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบสอบถาม นิยมใช้กันมาก รูปแบบของการสอบถาม แบบสอบถามชนิดปลายเปิด แบบสอบถามชนิดปลายเปิด การจัดอันดับ เป็นการจักอันดับคุณภาพของผู้เรียน การประเมินผลจากสภาพจริง หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก การรวบรวมข้อมูล
  • 5. การวัดผลภาคปฎิบัติ คือ การให้นักเรียนลงมือปฎิบัติ มีดังนี้ ขั้นเตรียมงาน ขั้นปฎิบัติงาน เวลาที่ใช้ในการทำงาน ผลงาน การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน คือ การรวมข้อมูลมี่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่างๆ แบบทดสอบ คือชุดคำถามถูกผิด การสังเกต ธรรมชาติของข้อมูลจากการสังเกต แบ่งออกเป็น 2 ระดับ 9.1 เป็นรูปธรรม 9.2 เป็นนามธรรม ชนิดของการสังเกต แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
  • 6. ลักษณะของการสังเกตที่ดี 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกต 2. วางแผนการสังเกตไว้ล่วงหน้า 3. ควรสังเกตโดยที่ผู้สังเกตไม่รู้ตัว 4. ควรระวังอย่าให้เกิดการลำเอียงในขณะที่สังเกต 5. ควรสังเกตซ้ำหลายๆครั้ง เพื่อเป็นการตรวจสอบความแน่ใจ 6. ควรมีการบันทึกการสังเกตทุกครั้ง เพื่อป้องกันการลืม การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้ มาจัดกระทำโดยการจัดระเบียบ แยกประเภท
  • 7. ลักษณะของข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ข้อมูลที่อยู่ในรูปของจำนวน ปริมาณ หรือตัวเลข 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ ข้อมูลที่ไม่อยู่ในรูปของจำนวนหรือตัวเลข ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ 2. การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ การประเมินผลทางการศึกษา กระบวนการในการตัดสินใจลง สรุปคุณลักษณะ หรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามี คุณภาพดีระดับใด โดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1. ผลการวัด 2. เกณฑ์การพิจารณา 3. การตัดสินใจ
  • 8. ลักษณะการประเมินผลจากข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ 1. การประเมินผลแบบอ้างอิงเกณฑ์ เป็นการวัดเพื่อต้อการทราบว่าบุคคลนั้น มีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จาก ผลงานไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอ้างอิงเกณฑ์ 1. วัตถุประสงค์การสอนต้องชัดเจน 2. ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน 3. เกณฑ์ที่วัดต้องเด่นชัด มีหลักเกณฑ์ที่อย่างอิงอย่างยุติธรรม
  • 9. 2. การประเมินผลแบบอ้างอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น คือ จำแนกคะแนน สูงสุดจนต่ำสุด แล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบเพื่อ ประเมินต่อไป เช่น การสอบคัดเลือกนักศึกษาสอบเข้ามหาวิทยาลัย ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอ้างอิงกลุ่ม 1. ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความเชื่อมั่นและเที่ยงตรง 2. ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด การประเมินต้องมีความยุติธรรม ตามสภาพความเป็นจริงของผลการเรียน