SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
การจัดการองค์ความรู้สาขาวิชาสื่อสารการแสดง
ร่วมสมัย
Knowledge Management ประจำาปี 2555
ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ลาว
ผู้จัดการความรู้ อาจาร
ย์ณัฐพงค์ แย้มเจริญ
การวิจัยเรื่อง “แนวทางพัฒนาภาพยนตร์ลาวสู่ระบบ
อุตสาหกรรม” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประวัติและความเป็นมา
ของภาพยนตร์ลาว สถานภาพอุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาวในยุค
ปัจจุบัน และเพื่อนำาเสนอแนวทางพัฒนาภาพยนตร์ลาวสู่ระบบ
อุตสาหกรรม การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) แบบใช้หลายวิธีการ (Multiple
Methodology) ประกอบด้วย การศึกษาจากเอกสาร
(Documentary Research) การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม
(Participant Observation) และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-
Depth Interview) และใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative
Research) โดยการสำารวจ (Survey) กลุ่มตัวอย่างจำานวน 400
ชุด จากผลการวิจัยสามารถนำาเสนอ สรุปผลการศึกษา อภิปราย
ผลตามวัตถุประสงค์ และข้อเสนอแนะได้ดังต่อไปนี้
สรุปผลการศึกษา
1 ประวัติและความเป็นมาของภาพยนตร์ลาว
ผลการศึกษาด้านประวัติและความเป็นมาของภาพยนตร์ลาว
พบว่าสามารถจำาแนกเป็น 6 ยุคสำาคัญ ๆ ได้ดังนี้
ยุคที่ 1 ยุคภาพยนตร์เพื่ออุดมการณ์ทางการเมือง
ในยุคที่หนึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากาการล่าอาณานิคม โดย
เฉพาะภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองภาพยนตร์มีหน้าที่ในการต่อ
ต้านประเทศอาณานิคม และเป็นเครื่องมือเพื่อถ่ายทอดอุดมการณ์
ทางการเมือง ซึ่งในระหว่างปี ค.ศ.1950 – 1974 สปป.ลาวแบ่ง
ออกเป็น 2 ฝ่ายคือลาวทางเหนือ ได้แก่ แขวงพงสาลี และซำา
เหนืออยู่ภายใต้การปกครองของฝ่ายลาว และลาวทางใต้อยู่ภาย
ใต้การปกครองของฝ่ายพระราชอาณาจักรลาว ยุคสมัยดังกล่าว
นอกจากภาพยนตร์ที่ผลิตจากฝ่ายการเมืองทั้งสองฝ่ายแล้ว ยังมี
การนำาเข้าภาพยนตร์เพื่อความบันเทิงจากจีน ไทย อินเดีย โดย
สายภาพยนตร์ถือเป็น 3 ใน 4 ของภาพยนตร์ที่จัดฉายใน
สปป.ลาว โรงภาพยนตร์
ยุคที่ 2 : ยุคปลดปล่อย (ค.ศ.1975 – ค.ศ.1999)
ภายหลังจากสงครามเสร็จสิ้นลง ในระหว่างปี ค.ศ. 1975 –
1985 เป็นช่วงที่ประเทศลาวกำาลังสถาปนาเป็น ประเทศ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทุกอย่างในสังคมลาวมี
การเปลี่ยนแปลงไปไม่ว่าระบบการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา รวม
ทั้งระบบสื่อมวลชนจากที่เคยมี 2 ระบบ ปัจจุบันเป็นระบบเดียวกัน
คือระบบสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทุกอย่างใน
ระบบที่เคยเป็นของเอกชนก็จำาต้องโอนมาเป็นของรัฐหรือกำากับ
ดูแลโดยรัฐ สื่อภาพยนตร์ก็เช่นกัน โรงภาพยนตร์บางโรงยังคง
ดำาเนินการฉายต่อไปแต่ได้ปรับแนวทางการดำาเนินกิจการให้เข้า
กับสภาพสังคม การเมืองที่เปลี่ยนแปลง ความเข้มงวดกวดขันนี้เอง
ทำาให้ในที่สุด โรงภาพยนตร์ค่อย ๆ ปิดกิจการลงจนหมดสิ้นจาก
ประเทศลาวในยุคนี้
ตั้งแต่ปี ค.ศ.1986 พรรคปฎิวัติลาวได้มีความคิดริเริ่มเพิ่อ
แสวงหาแนวทางการดำาเนินงานใหม่ หรือเรียกกันว่า จินตนาการ
ใหม่โดยมีเป้าหมายคือการดัดแปลงกลไกคุ้มครองเก่าที่ขาด
ประสิทธิภาพไปสู่กลไกความคุ้มครองใหม่โดยเริ่มจากการ
เปลี่ยนแปลงความรับรู้ เปลี่ยนแปลงจินตนาการ เพื่อจำาแนกให้ได้
ว่าอันใดคือกลไกเก่า และอันใดคือกลไกใหม่ เพื่อทำาให้แต่ละคน
แต่ละหัวหน่วยเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านความรับรู้
และทั้งในด้านการกระทำา
ในเวลาดังกล่าวนี้ ประเทศลาวเริ่มมีระบบสื่อสารมวลชนเพิ่ม
มากขึ้น วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ขยายตัวออกไป ขณะ
ที่ภาพยนตร์อยู่ในช่วงที่ซบเซา แม้ว่ารัฐบาลลาวก็ได้ตระหนักว่า
ภาพยนตร์เป็นเครื่องมือที่สำาคัญอย่างหนึ่งของการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์โดยสามารถใช้ภาพยนตร์เป็นเครื่องมือในการ
อบรมฝึกสอนและให้เห็นชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนและบ้านเมือง
โดยนำาสิ่งดีๆมาเผยแพร่ ดังที่เคยกระทำามาเมื่อสมัยการต่อสู้ปลด
ปล่อยชาติจนสามารถระดมประชาชนเป็นจำานวนมากมายเพื่อ เข้า
ร่วมกระบวนการและยังใช้ภาพยนตร์โฆษณาเผยแพร่อิทธิพลของ
ประเทศไปสู่ต่างประเทศด้วย เพราะตระหนักรู้ดีถึงอิทธิพลของ
2
ภาพยนตร์ที่สามารถชักจูงโน้มน้าวใจผู้ดูให้คล้อยตามไปได้โดย
ไม่รู้ตัว
ยุคที่ 3 ยุคกำาเนิดนักสร้างและภาพยนตร์อิสระ
(ค.ศ.2000 – ค.ศ.2006)
กระแสการพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยถือเป็นบริบทที่
สำาคัญที่ส่งผลต่อความตื่นตัวทางด้านภาพยนตร์ใน สปป.ลาวมีคน
รุ่นใหม่จำานวนหนึ่งสนใจและเห็นความสำาคัญในการเรียนทางด้าน
ภาพยนตร์และสื่อสารมวลชนซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนโฉมหน้าของ
ภาพยนตร์ลาวในยุคต่อจากนี้อย่างก้าวกระโดด
ยุคที่ 4 : ยุคคืนชีพภาพยนตร์ลาว (ค.ศ 2007 –
ค.ศ.2010)
ตั้งแต่ก้าวข้ามสู่ปี ค.ศ.2000 เป็นต้น ประชาคมโลกมีการ
ติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น กระแสโลภิวัตน์นับเป็นปรากฎการณ์หนึ่ง
ที่สำาคัญที่ทำาให้สื่อมีอิทธิพลและมีบทบาทระหว่างกัน ข้อมูล
ข่าวสารสามารถเข้าถึงและแลกเปลี่ยนกันไปมาระหว่างที่หนึ่งไป
ยังที่หนึ่งจึงทำาได้โดยสะดวก
ในทศวรรษปัจจุบันภาพยนตร์จัดได้ว่ามีอิทธิพลอย่างสูงทั้ง
ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้ในปี ค.ศ.2007
รัฐบาลลาวจึงได้ทบทวนการจัดการหน่วยงานภาครัฐอีกครั้งโดย
ได้พิจารณา ศูนย์ภาพยนตร์และวิดีโอ ให้ยกระดับขึ้นเป็น กรม
ภาพยนตร์ ภายใต้การควบคุมดูแลของกระทรวงแถลงข่าวและ
วัฒนธรรมเช่นเดิม โดยมีนายบุญเจ้า พิจิตร ดำารงตำาแหน่งเป็น
อธิบดีกรมภาพยนตร์ซึ่งบทบาทของกรมภาพยนตร์ในยุคนี้มีหน้าที่
ชัดเจนขึ้นคือการเผยแพร่และอนุรักษ์ภาพยนตร์เก่าของประเทศ
รวมถึงผลิตภาพยนตร์เพื่อถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารของรัฐ
ยุคที่ 5 : ยุคปัญญาชนภาพยนตร์ลาว (ค.ศ.2011 –
ปัจจุบัน)
ผลพวงจากกระแสโลกาภิวัตน์ที่ยังพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อ
เนื่อง ทำาให้การได้รับข่าวสารเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นไปได้
ง่ายขึ้น ภาพยนตร์เป็นสิ่งหนึ่งที่คนทุกมุมโลกมีโอกาสแลกเปลี่ยน
และรับชมได้โดยง่ายผ่านเครือข่ายทางอินเตอร์เน็ต สังคมโลก
แคบคลงด้วยการติดต่อสื่อสาร การทำาความรู้จักกันของคนใน
วงการภาพยนตร์เป็นไปอย่างง่ายดายโดยอาจไม่ต้องออกเดินทาง
ไปไหน เกิดการรวมกลุ่มของคนทำาภาพยนตร์ลาวขึ้นอย่างไม่เป็น
ทางการเพื่อจะผลิตภาพยนตร์ร่วมกันในยุคนี้คนลาวรุ่นใหม่ที่ได้
รับการส่งไปเรียนยังต่างประเทศในสถาบันการศึกษาที่ต่าง ๆ เริ่ม
ทยอยกลับมายัง สปป.ลาวมากยิ่งขึ้น หลายคนสำาเร็จการศึกษา
3
หรือมีประสบการณ์ทางด้านสื่อสารมวลชนและภาพยนตร์ และเริ่ม
สนใจสร้างภาพยนตร์ในบ้านเกิดของตนเอง
ยุคที่ 6 อุตสาหกรรมบันเทิงแบบครบวงจร
(Entertainment Complex)
อนาคตอันใกล้นี้บริบทหนึ่งในสังคมคือการพัฒนาเทคโนโลยี
เข้าสู่ระบบดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ในปัจจุบันระบบดิจิทัลกำาลัง
แพร่กระจายมาทั่วทุกมุมโลก ไม่เว้นประเทศในแถบอาเซียนโดย
เฉพาะประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศที่มีอิทธิพลทางด้านสื่ออย่างสูง
กับ สปป.ลาวก็กำาลังเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับระบบดิจิทัล
ในสื่อทุกแขนง
4

More Related Content

What's hot

4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎีข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎีTotsaporn Inthanin
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การอ่าน PISA
การอ่าน PISAการอ่าน PISA
การอ่าน PISAPatcha Linsay
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

TV Production 1
TV Production 1TV Production 1
TV Production 1
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎีข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
การอ่าน PISA
การอ่าน PISAการอ่าน PISA
การอ่าน PISA
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 

Viewers also liked

เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง ปีการศึกษา 2553
แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง  ปีการศึกษา 2553แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง  ปีการศึกษา 2553
แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง ปีการศึกษา 2553นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553
แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553นู๋หนึ่ง nooneung
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2554
แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์  ปีการศึกษา 2554แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์  ปีการศึกษา 2554
แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2554นู๋หนึ่ง nooneung
 
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯบทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯนู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56นู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศนู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนนู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์นู๋หนึ่ง nooneung
 

Viewers also liked (18)

เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
 
แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง ปีการศึกษา 2553
แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง  ปีการศึกษา 2553แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง  ปีการศึกษา 2553
แผนวิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง ปีการศึกษา 2553
 
Pf
PfPf
Pf
 
_________________________________________1
  _________________________________________1  _________________________________________1
_________________________________________1
 
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553
แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
 
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
 
แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2554
แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์  ปีการศึกษา 2554แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์  ปีการศึกษา 2554
แผนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บุคลากรคณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2554
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯบทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
 
Kmหนังลาว2
Kmหนังลาว2Kmหนังลาว2
Kmหนังลาว2
 
แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
หลักสูตรMca
หลักสูตรMcaหลักสูตรMca
หลักสูตรMca
 
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung

สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยนู๋หนึ่ง nooneung
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลสาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลนู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์นู๋หนึ่ง nooneung
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung (20)

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pr 2559
 
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Pf 2559
 
Md 2559
Md 2559Md 2559
Md 2559
 
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Mca 2559
 
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Fm 2559
 
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Bc 2559
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
 
จรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัยจรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย
 
ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556
 
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
 
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลสาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
 
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
 
สาขาวิชาการโฆษณา
สาขาวิชาการโฆษณาสาขาวิชาการโฆษณา
สาขาวิชาการโฆษณา
 
ประกาศ
ประกาศประกาศ
ประกาศ
 
Flow thepleela m3
Flow thepleela m3Flow thepleela m3
Flow thepleela m3
 
Flow thepleela m2
Flow thepleela m2Flow thepleela m2
Flow thepleela m2
 

Km หนังลาว

  • 1. การจัดการองค์ความรู้สาขาวิชาสื่อสารการแสดง ร่วมสมัย Knowledge Management ประจำาปี 2555 ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ลาว ผู้จัดการความรู้ อาจาร ย์ณัฐพงค์ แย้มเจริญ การวิจัยเรื่อง “แนวทางพัฒนาภาพยนตร์ลาวสู่ระบบ อุตสาหกรรม” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประวัติและความเป็นมา ของภาพยนตร์ลาว สถานภาพอุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาวในยุค ปัจจุบัน และเพื่อนำาเสนอแนวทางพัฒนาภาพยนตร์ลาวสู่ระบบ อุตสาหกรรม การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แบบใช้หลายวิธีการ (Multiple Methodology) ประกอบด้วย การศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In- Depth Interview) และใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยการสำารวจ (Survey) กลุ่มตัวอย่างจำานวน 400 ชุด จากผลการวิจัยสามารถนำาเสนอ สรุปผลการศึกษา อภิปราย ผลตามวัตถุประสงค์ และข้อเสนอแนะได้ดังต่อไปนี้ สรุปผลการศึกษา 1 ประวัติและความเป็นมาของภาพยนตร์ลาว ผลการศึกษาด้านประวัติและความเป็นมาของภาพยนตร์ลาว พบว่าสามารถจำาแนกเป็น 6 ยุคสำาคัญ ๆ ได้ดังนี้ ยุคที่ 1 ยุคภาพยนตร์เพื่ออุดมการณ์ทางการเมือง ในยุคที่หนึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากาการล่าอาณานิคม โดย เฉพาะภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองภาพยนตร์มีหน้าที่ในการต่อ ต้านประเทศอาณานิคม และเป็นเครื่องมือเพื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ ทางการเมือง ซึ่งในระหว่างปี ค.ศ.1950 – 1974 สปป.ลาวแบ่ง ออกเป็น 2 ฝ่ายคือลาวทางเหนือ ได้แก่ แขวงพงสาลี และซำา เหนืออยู่ภายใต้การปกครองของฝ่ายลาว และลาวทางใต้อยู่ภาย
  • 2. ใต้การปกครองของฝ่ายพระราชอาณาจักรลาว ยุคสมัยดังกล่าว นอกจากภาพยนตร์ที่ผลิตจากฝ่ายการเมืองทั้งสองฝ่ายแล้ว ยังมี การนำาเข้าภาพยนตร์เพื่อความบันเทิงจากจีน ไทย อินเดีย โดย สายภาพยนตร์ถือเป็น 3 ใน 4 ของภาพยนตร์ที่จัดฉายใน สปป.ลาว โรงภาพยนตร์ ยุคที่ 2 : ยุคปลดปล่อย (ค.ศ.1975 – ค.ศ.1999) ภายหลังจากสงครามเสร็จสิ้นลง ในระหว่างปี ค.ศ. 1975 – 1985 เป็นช่วงที่ประเทศลาวกำาลังสถาปนาเป็น ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทุกอย่างในสังคมลาวมี การเปลี่ยนแปลงไปไม่ว่าระบบการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา รวม ทั้งระบบสื่อมวลชนจากที่เคยมี 2 ระบบ ปัจจุบันเป็นระบบเดียวกัน คือระบบสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทุกอย่างใน ระบบที่เคยเป็นของเอกชนก็จำาต้องโอนมาเป็นของรัฐหรือกำากับ ดูแลโดยรัฐ สื่อภาพยนตร์ก็เช่นกัน โรงภาพยนตร์บางโรงยังคง ดำาเนินการฉายต่อไปแต่ได้ปรับแนวทางการดำาเนินกิจการให้เข้า กับสภาพสังคม การเมืองที่เปลี่ยนแปลง ความเข้มงวดกวดขันนี้เอง ทำาให้ในที่สุด โรงภาพยนตร์ค่อย ๆ ปิดกิจการลงจนหมดสิ้นจาก ประเทศลาวในยุคนี้ ตั้งแต่ปี ค.ศ.1986 พรรคปฎิวัติลาวได้มีความคิดริเริ่มเพิ่อ แสวงหาแนวทางการดำาเนินงานใหม่ หรือเรียกกันว่า จินตนาการ ใหม่โดยมีเป้าหมายคือการดัดแปลงกลไกคุ้มครองเก่าที่ขาด ประสิทธิภาพไปสู่กลไกความคุ้มครองใหม่โดยเริ่มจากการ เปลี่ยนแปลงความรับรู้ เปลี่ยนแปลงจินตนาการ เพื่อจำาแนกให้ได้ ว่าอันใดคือกลไกเก่า และอันใดคือกลไกใหม่ เพื่อทำาให้แต่ละคน แต่ละหัวหน่วยเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านความรับรู้ และทั้งในด้านการกระทำา ในเวลาดังกล่าวนี้ ประเทศลาวเริ่มมีระบบสื่อสารมวลชนเพิ่ม มากขึ้น วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ขยายตัวออกไป ขณะ ที่ภาพยนตร์อยู่ในช่วงที่ซบเซา แม้ว่ารัฐบาลลาวก็ได้ตระหนักว่า ภาพยนตร์เป็นเครื่องมือที่สำาคัญอย่างหนึ่งของการโฆษณา ประชาสัมพันธ์โดยสามารถใช้ภาพยนตร์เป็นเครื่องมือในการ อบรมฝึกสอนและให้เห็นชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนและบ้านเมือง โดยนำาสิ่งดีๆมาเผยแพร่ ดังที่เคยกระทำามาเมื่อสมัยการต่อสู้ปลด ปล่อยชาติจนสามารถระดมประชาชนเป็นจำานวนมากมายเพื่อ เข้า ร่วมกระบวนการและยังใช้ภาพยนตร์โฆษณาเผยแพร่อิทธิพลของ ประเทศไปสู่ต่างประเทศด้วย เพราะตระหนักรู้ดีถึงอิทธิพลของ 2
  • 3. ภาพยนตร์ที่สามารถชักจูงโน้มน้าวใจผู้ดูให้คล้อยตามไปได้โดย ไม่รู้ตัว ยุคที่ 3 ยุคกำาเนิดนักสร้างและภาพยนตร์อิสระ (ค.ศ.2000 – ค.ศ.2006) กระแสการพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยถือเป็นบริบทที่ สำาคัญที่ส่งผลต่อความตื่นตัวทางด้านภาพยนตร์ใน สปป.ลาวมีคน รุ่นใหม่จำานวนหนึ่งสนใจและเห็นความสำาคัญในการเรียนทางด้าน ภาพยนตร์และสื่อสารมวลชนซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนโฉมหน้าของ ภาพยนตร์ลาวในยุคต่อจากนี้อย่างก้าวกระโดด ยุคที่ 4 : ยุคคืนชีพภาพยนตร์ลาว (ค.ศ 2007 – ค.ศ.2010) ตั้งแต่ก้าวข้ามสู่ปี ค.ศ.2000 เป็นต้น ประชาคมโลกมีการ ติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น กระแสโลภิวัตน์นับเป็นปรากฎการณ์หนึ่ง ที่สำาคัญที่ทำาให้สื่อมีอิทธิพลและมีบทบาทระหว่างกัน ข้อมูล ข่าวสารสามารถเข้าถึงและแลกเปลี่ยนกันไปมาระหว่างที่หนึ่งไป ยังที่หนึ่งจึงทำาได้โดยสะดวก ในทศวรรษปัจจุบันภาพยนตร์จัดได้ว่ามีอิทธิพลอย่างสูงทั้ง ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้ในปี ค.ศ.2007 รัฐบาลลาวจึงได้ทบทวนการจัดการหน่วยงานภาครัฐอีกครั้งโดย ได้พิจารณา ศูนย์ภาพยนตร์และวิดีโอ ให้ยกระดับขึ้นเป็น กรม ภาพยนตร์ ภายใต้การควบคุมดูแลของกระทรวงแถลงข่าวและ วัฒนธรรมเช่นเดิม โดยมีนายบุญเจ้า พิจิตร ดำารงตำาแหน่งเป็น อธิบดีกรมภาพยนตร์ซึ่งบทบาทของกรมภาพยนตร์ในยุคนี้มีหน้าที่ ชัดเจนขึ้นคือการเผยแพร่และอนุรักษ์ภาพยนตร์เก่าของประเทศ รวมถึงผลิตภาพยนตร์เพื่อถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารของรัฐ ยุคที่ 5 : ยุคปัญญาชนภาพยนตร์ลาว (ค.ศ.2011 – ปัจจุบัน) ผลพวงจากกระแสโลกาภิวัตน์ที่ยังพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อ เนื่อง ทำาให้การได้รับข่าวสารเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นไปได้ ง่ายขึ้น ภาพยนตร์เป็นสิ่งหนึ่งที่คนทุกมุมโลกมีโอกาสแลกเปลี่ยน และรับชมได้โดยง่ายผ่านเครือข่ายทางอินเตอร์เน็ต สังคมโลก แคบคลงด้วยการติดต่อสื่อสาร การทำาความรู้จักกันของคนใน วงการภาพยนตร์เป็นไปอย่างง่ายดายโดยอาจไม่ต้องออกเดินทาง ไปไหน เกิดการรวมกลุ่มของคนทำาภาพยนตร์ลาวขึ้นอย่างไม่เป็น ทางการเพื่อจะผลิตภาพยนตร์ร่วมกันในยุคนี้คนลาวรุ่นใหม่ที่ได้ รับการส่งไปเรียนยังต่างประเทศในสถาบันการศึกษาที่ต่าง ๆ เริ่ม ทยอยกลับมายัง สปป.ลาวมากยิ่งขึ้น หลายคนสำาเร็จการศึกษา 3
  • 4. หรือมีประสบการณ์ทางด้านสื่อสารมวลชนและภาพยนตร์ และเริ่ม สนใจสร้างภาพยนตร์ในบ้านเกิดของตนเอง ยุคที่ 6 อุตสาหกรรมบันเทิงแบบครบวงจร (Entertainment Complex) อนาคตอันใกล้นี้บริบทหนึ่งในสังคมคือการพัฒนาเทคโนโลยี เข้าสู่ระบบดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ในปัจจุบันระบบดิจิทัลกำาลัง แพร่กระจายมาทั่วทุกมุมโลก ไม่เว้นประเทศในแถบอาเซียนโดย เฉพาะประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศที่มีอิทธิพลทางด้านสื่ออย่างสูง กับ สปป.ลาวก็กำาลังเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับระบบดิจิทัล ในสื่อทุกแขนง 4