SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
การจัดการองค์ความรู้สาขาวิชาสื่อสารการแสดง
ร่วมสมัย
Knowledge Management ประจำาปี 2555
สถานภาพภาพยนตร์ลาวในปัจจุบัน
ผู้จัดการความรู้ อาจาร
ย์ณัฐพงค์ แย้มเจริญ
สถานภาพอุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาวในยุคปัจจุบัน
ผู้วิจัยขอสรุปผลการศึกษาด้านสถานภาพอุตสาหกรรม
ภาพยนตร์ลาวจำาแนกตามปัจจัยทั้ง 4 ด้านดังนี้
1. ด้านปัจจัยนำาเข้า
1.1 บุคลากรทางด้านภาพยนตร์
อุตสาหกรรมภาพยนตร์แม้กำาลังเติบโตในระยะเวลาไม่นาน
แต่สามารถจำาแนกกลุ่มผู้สร้างและผู้ผลิตภาพยนตร์ออกเป็น 4
กลุ่มได้แก่ กลุ่มบริษัทเอกชน กลุ่มลาวนิวเวฟซีเนม่า กลุ่มผู้
สร้างภาพยนตร์อิสระ กรมภาพยนตร์หน่วยงานของรัฐบาล
1.2 ทุน
ผู้สร้างและผู้ผลิตภาพยนตร์มีวิธีการจัดหาทุนเพื่อสร้าง
ภาพยนตร์ใน 4 วิธีคือ การผลิตภาพยนตร์โดยได้ทุนการ
สนับสนุนจากภาครัฐ การผลิตภาพยนตร์โดยการร่วมทุนกับ
บริษัทเอกชนในประเทศไทย การผลิตภาพยนตร์โดยการร่วมทุน
กับบริษัทเอกชนในประเทศลาว และการผลิตภาพยนตร์โดยการ
ลงทุนด้วยตนเอง
1.3 อุปกรณ์ในการถ่ายทำา
อุปกรณ์ในการถ่ายทำาภาพยนตร์ใน สปป.ลาวส่วนใหญ่มีใน
ขั้นพื้นฐานเพียงพอต่อการผลิตภาพยนตร์ในลักษณะที่เป็นอยู่
เพราะไม่จำาเป็นต้องใช้อุปกรณ์ขั้นสูงมาก เมื่อจำาแนกผู้สร้างและผู้
ผลิตภาพยนตร์ออกเป็น 2 กลุ่มพบว่าทั้งสองกลุ่มได้แก่ ผู้สร้างและ
ผู้ผลิตในรูปแบบบริษัท และผู้สร้างและผู้ผลิตในรูปแบบกลุ่มหรือผู้
สร้างอิสระจะมีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ในการถ่ายทำาแตกต่าง
กัน ผู้สร้างและผู้ผลิตในรูปแบบบริษัทจะมีความพร้อมทางอุปกรณ์
ในการถ่ายทำามากกว่าเนื่องจากนอกจากงานภาพยนตร์แล้วยัง
ผลิตงานบันเทิงอื่น ๆ ที่ต้องใช้อุปกรณ์เครื่องมือมาก่อนหน้านี้แล้ว
ในขณะที่ผู้สร้างและผู้ผลิตในรูปแบบกลุ่มหรือผู้สร้างอิสระจะมี
เพียงอุปกรณ์หลักในถ่ายทำาส่วนอุปกรณ์อื่น ๆ จะต้องใช้วิธีหยิบ
ยืม ซื้อหรือการเช่าในราคาย่อมเยาว์เท่าที่จะสามารถบริหาร
จัดการได้
2. ด้านปัจจัยสนับสนุน
2.1 กระบวนการผลิต
กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาวทั้ง ก่อนการ
ผลิต การผลิต และหลังการผลิตมีครบทุกกระบวนการแต่ไม่เป็นไป
อย่างไม่เคร่งครัดเนื่องด้วยปัจจัยและอุปสรรคหลายด้านและ
ภาพยนต์ลาวส่วนใหญ่ไม่สามารถดำาเนินการได้ตามแผนที่วางไว้
2.2 กระบวนการสนับสนุน
กระบวนการด้านการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ใน
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาว การใช้สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์
ยังไม่ทันสมัย ขาดการวิเคราะห์และวางแผนทางด้านการตลาด
โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ความถี่และปริมาณในการเผยแพร่
โฆษณาและประชาสัมพันธ์ยังมีปริมาณที่ไม่เหมาะสม
3. ด้านผลผลิต
3.1 ภาพยนตร์
1. ด้านเนื้อหาและสกุลของภาพยนตร์
ภาพยนตร์ในปัจจุบันมีทั้งหมด 11 เรื่องเป็นสกุลรัก
(Romantic) จำานวน 5 เรื่อง สกุลสยองขวัญ (Horror) จำานวน
2 เรื่อง สกุลตลก (Comedy) จำานวน 2 เรื่องและสกุลระทึกขวัญ
(Thriller) จำานวน 1 เรื่อง และสกุลชีวิต (Drama) จำานวน 1
เรื่อง
2. ด้านเทคนิคที่ใช้ในการผลิต
เทคนิคที่ใช้ในการผลิตภาพยนตร์ลาวส่วนใหญ่ยังเป็น
เทคนิคขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับภาพยนตร์ลาวที่ผลิตในปัจจุบัน
นี้ เนื่องจากภาพยนตร์ลาวแนวเล่าเรื่องยังไม่ต้องอาศัยการใช้
เทคนิคขึ้นสูงมากจึงทำาให้ยังไม่ประสบปัญหาในช่วงนี้ แต่สำาหรับ
อนาคตด้านเทคนิคที่ใช้ในการผลิตต้องมีการพัฒนาเพื่อรองรับ
ภาพยนตร์ที่มีศักยภาพมากขึ้น
3. ด้านดารานักแสดง
ดารานักแสดงที่ปรากฎอยู่ในภาพยนตร์ลาวจากภาพยนตร์ทั้ง
11 เรื่องมีด้วยกัน 2 ลักษณะคือ ภาพยนตร์ที่ใช้คนลาวแสดง
2
ทั้งหมดซึ่งมีทั้งคนลาวที่เป็นนักแสดงใหม่และศิลปิน คนดังของ
ลาวมาร่วมแสดง และภาพยนตร์ที่ใช้คนลาวแสดงคู่กับคนที่มีชื่อ
เสียงในประเทศไทยซึ่งเป็นเฉพาะผลงานการกำากับของศักดิ์ชาย
ดีนาน
4. ด้านฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก
ฉากและอุปกรณ์ประกอบฉากส่วนใหญ่เป็นฉากถ่ายทำาจาก
สถานที่จริงเป็นหลัก เนื่องจากเมื่อได้รับอนุญาตให้ถ่ายทำาจาก
กรมภาพยนตร์แล้ว ผู้สร้างและผู้ผลิตสามารถถ่ายทำาตามสถานที่
ต่าง ๆ ที่ระบุไว้ในบทได้ ความสมบูรณ์ของฉากและอุปกรณ์
ประกอบแต่ละเรื่องขึ้นอยู่กับงบประมาณที่มีโดยจำานวนจำากัด
5. ด้านภาพที่นำาเสนอ
ภาพที่นำาเสนอทั้งขนาดภาพ และการเคลื่อนกล้องส่วนใหญ่มี
ปรากฎให้เห็นในภาพยนตร์ทุกแบบ ภาพที่นำาเสนอมีความหลาก
หลายสามารถสื่อสารความหมายและอารมณ์ความรู้สึกดีพอสมควร
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการจัดแสงและอุปกรณ์ต่างๆ ในแต่ละกองถ่ายว่ามี
งบประมาณและความพร้อมมากแค่ไหน แต่แนวโน้มทางด้านภาพ
ที่นำาเสนอในภาพยนตร์ลาวยุคหลังเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นทั้งการ
จัดองค์ประกอบภาพ การสื่อความหมาย อารมณ์และความรู้สึก
6. ด้านเสียงและดนตรีประกอบ
เสียงที่ปรากฎในภาพยนตร์ลาวมีทั้งเสียงที่เป็นธรรมชาติและ
เสียงที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเสริมบรรยากาศในภาพยนตร์ นอกจากนี้
ภาพยนตร์ลาวหลายเรื่องมีการใช้เพลงประกอบภาพยนตร์เพื่อเพิ่ม
การสื่อความหมาย และสร้างการจดจำาให้กับผู้ชม
7. ด้านการแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย
ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ยุคปัจจุบันเป็นไป 3 ลักษณะคือ
การแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายในลักษณะสมจริง (Realistic)
การแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายในลักษณะไม่สมจริง (Non-
realistic) และ การแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายในลักษณะ
สัญลักษณ์ (Symbolism)
3.2 โรงภาพยนตร์
โรงภาพยนตร์ในสปป.ลาวปัจจุบันเปิดดำาเนินการอยู่ 3 แห่ง
คือในแขวงนครหลวงเวียงจันทน์ แขวงจำาปาสัก และแขวงสะหวัน
นะเขตแต่โรงภาพยนตร์ที่ได้รับความนิยมและภาพยนตร์ลาวใน
ระบบอุตสาหกรรมทุกเรื่องนำาไปเผยแพร่มีเพียงโรงภาพยนตร์
ลาว-ไฮเทคที่ นครหลวงเวียงจันทน์เพียงเท่านั้น
4. ด้านผลสัมฤทธิ์
3
4.1 รางวัลเกียรติยศและการได้รับเกียรติเชิญเข้าร่วม
กิจกรรมด้านภาพยนตร์ในเวทีต่างๆ
สปป.ลาวยังไม่มีการจัดมอบรางวัลเกียรติยศทางภาพยนตร์
ใด ๆ ให้แก่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ แต่ในขณะเดียวกัน สปป.ลาว
มีเทศกาลภาพยนตร์ที่สำาคัญอยู่ 2 เทศกาลกล่าวคือเทศกาล
ภาพยนตร์หลวงพระบาง และเทศกาลภาพยนตร์เวียงจันทน์นาน
ภายใต้ก่อตั้งของภาคเอกชนและชาวต่างชาติโดยมีรัฐบาลเป็น
ฝ่ายสนับสนุนเท่านั้น ในส่วนของการส่งผลงานภาพยนตร์ไปเข้า
ร่วมในเวทีนานาชาตินอกประเทศ ผู้สร้างและผู้ผลิตยังต้องเป็นผู้
ผลักดันตัวเองเป็นหลัก
4.2 การวิจารณ์ภาพยนตร์ลาว
การวิจารณ์ภาพยนตร์ลาวยังเป็นผลสัมฤทธิ์ที่ไม่ประสบความ
สำาเร็จในปัจจุบัน เนื่องจาก สปป.ลาวยังไม่มีวัฒนธรรมการวิจารณ์
ที่เข้มแข็งและเป็นทางการ ดังนั้นจึงไม่สามารถทราบความคิดเห็น
อย่างแท้จริงที่สะท้อนจากผู้ชมและนักวิจารณ์ได้โดยตรง ส่วน
ใหญ่จะเป็นลักษณะการปากต่อกันอย่างไม่เป็นทางการมากกว่า มี
เพียงบทวิจารณ์จากนักวิจารณ์ชาวไทยต่อภาพยนตร์ลาวเป็นหลัก
เท่านั้นที่สะท้อนความคิดอย่างตรงไปตรงมาและเขียนออกมารูป
แบบการวิจารณ์ไม่ใช่การแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อต่าง ๆ ทั่วไป
แต่ขณะเดียวกันภาพยนตร์ลาวที่ได้รับการวิจารณ์ส่วนใหญ่จะเป็น
ภาพยนตร์ลาวที่มีโอกาสเข้าฉายในประเทศไทย หรือนักวิจารณ์
ได้มีโอกาสข้ามฝั่งไปชมภาพยนตร์ลาวเพียงบางเรื่องตามเทศกาล
ภาพยนตร์ใน สปป.ลาว เท่านั้น
4.3 ผู้ชม
ผลสัมฤทธิ์ในระบบอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทางด้านผู้ชมพบว่า
ผู้ชมยังมีความพึงพอใจในองค์ประกอบภาพยนตร์ลาวอยู่ในระดับ
น้อยและปานกลางโดยองค์ประกอบภาพยนตร์ที่ต้องเร่งพัฒนาคือ
ด้านเนื้อหาและบทภาพยนตร์ ด้านสกุลภาพยนตร์ ด้านดารานัก
แสดง และด้านเทคนิคในการผลิตภาพยนตร์
4

More Related Content

Viewers also liked

เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์นู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56นู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศนู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนนู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์นู๋หนึ่ง nooneung
 

Viewers also liked (10)

Km56
Km56Km56
Km56
 
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้
 
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
แผนกรอบอัตรากำลังคณะนิเทศศาสตร์
 
แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
 
หลักสูตรMca
หลักสูตรMcaหลักสูตรMca
หลักสูตรMca
 
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung

สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยนู๋หนึ่ง nooneung
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลสาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลนู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์นู๋หนึ่ง nooneung
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung (20)

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pr 2559
 
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Pf 2559
 
Md 2559
Md 2559Md 2559
Md 2559
 
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Mca 2559
 
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Fm 2559
 
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Bc 2559
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
 
จรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัยจรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย
 
ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556
 
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
สาขาวิชาวารสารศาสตร์และสื่อใหม่
 
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลสาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล
 
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
 
สาขาวิชาการโฆษณา
สาขาวิชาการโฆษณาสาขาวิชาการโฆษณา
สาขาวิชาการโฆษณา
 
ประกาศ
ประกาศประกาศ
ประกาศ
 
Flow thepleela m3
Flow thepleela m3Flow thepleela m3
Flow thepleela m3
 
Flow thepleela m2
Flow thepleela m2Flow thepleela m2
Flow thepleela m2
 

Kmหนังลาว2

  • 1. การจัดการองค์ความรู้สาขาวิชาสื่อสารการแสดง ร่วมสมัย Knowledge Management ประจำาปี 2555 สถานภาพภาพยนตร์ลาวในปัจจุบัน ผู้จัดการความรู้ อาจาร ย์ณัฐพงค์ แย้มเจริญ สถานภาพอุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาวในยุคปัจจุบัน ผู้วิจัยขอสรุปผลการศึกษาด้านสถานภาพอุตสาหกรรม ภาพยนตร์ลาวจำาแนกตามปัจจัยทั้ง 4 ด้านดังนี้ 1. ด้านปัจจัยนำาเข้า 1.1 บุคลากรทางด้านภาพยนตร์ อุตสาหกรรมภาพยนตร์แม้กำาลังเติบโตในระยะเวลาไม่นาน แต่สามารถจำาแนกกลุ่มผู้สร้างและผู้ผลิตภาพยนตร์ออกเป็น 4 กลุ่มได้แก่ กลุ่มบริษัทเอกชน กลุ่มลาวนิวเวฟซีเนม่า กลุ่มผู้ สร้างภาพยนตร์อิสระ กรมภาพยนตร์หน่วยงานของรัฐบาล 1.2 ทุน ผู้สร้างและผู้ผลิตภาพยนตร์มีวิธีการจัดหาทุนเพื่อสร้าง ภาพยนตร์ใน 4 วิธีคือ การผลิตภาพยนตร์โดยได้ทุนการ สนับสนุนจากภาครัฐ การผลิตภาพยนตร์โดยการร่วมทุนกับ บริษัทเอกชนในประเทศไทย การผลิตภาพยนตร์โดยการร่วมทุน กับบริษัทเอกชนในประเทศลาว และการผลิตภาพยนตร์โดยการ ลงทุนด้วยตนเอง 1.3 อุปกรณ์ในการถ่ายทำา อุปกรณ์ในการถ่ายทำาภาพยนตร์ใน สปป.ลาวส่วนใหญ่มีใน ขั้นพื้นฐานเพียงพอต่อการผลิตภาพยนตร์ในลักษณะที่เป็นอยู่ เพราะไม่จำาเป็นต้องใช้อุปกรณ์ขั้นสูงมาก เมื่อจำาแนกผู้สร้างและผู้ ผลิตภาพยนตร์ออกเป็น 2 กลุ่มพบว่าทั้งสองกลุ่มได้แก่ ผู้สร้างและ ผู้ผลิตในรูปแบบบริษัท และผู้สร้างและผู้ผลิตในรูปแบบกลุ่มหรือผู้ สร้างอิสระจะมีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ในการถ่ายทำาแตกต่าง
  • 2. กัน ผู้สร้างและผู้ผลิตในรูปแบบบริษัทจะมีความพร้อมทางอุปกรณ์ ในการถ่ายทำามากกว่าเนื่องจากนอกจากงานภาพยนตร์แล้วยัง ผลิตงานบันเทิงอื่น ๆ ที่ต้องใช้อุปกรณ์เครื่องมือมาก่อนหน้านี้แล้ว ในขณะที่ผู้สร้างและผู้ผลิตในรูปแบบกลุ่มหรือผู้สร้างอิสระจะมี เพียงอุปกรณ์หลักในถ่ายทำาส่วนอุปกรณ์อื่น ๆ จะต้องใช้วิธีหยิบ ยืม ซื้อหรือการเช่าในราคาย่อมเยาว์เท่าที่จะสามารถบริหาร จัดการได้ 2. ด้านปัจจัยสนับสนุน 2.1 กระบวนการผลิต กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาวทั้ง ก่อนการ ผลิต การผลิต และหลังการผลิตมีครบทุกกระบวนการแต่ไม่เป็นไป อย่างไม่เคร่งครัดเนื่องด้วยปัจจัยและอุปสรรคหลายด้านและ ภาพยนต์ลาวส่วนใหญ่ไม่สามารถดำาเนินการได้ตามแผนที่วางไว้ 2.2 กระบวนการสนับสนุน กระบวนการด้านการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ใน อุตสาหกรรมภาพยนตร์ลาว การใช้สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ยังไม่ทันสมัย ขาดการวิเคราะห์และวางแผนทางด้านการตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ความถี่และปริมาณในการเผยแพร่ โฆษณาและประชาสัมพันธ์ยังมีปริมาณที่ไม่เหมาะสม 3. ด้านผลผลิต 3.1 ภาพยนตร์ 1. ด้านเนื้อหาและสกุลของภาพยนตร์ ภาพยนตร์ในปัจจุบันมีทั้งหมด 11 เรื่องเป็นสกุลรัก (Romantic) จำานวน 5 เรื่อง สกุลสยองขวัญ (Horror) จำานวน 2 เรื่อง สกุลตลก (Comedy) จำานวน 2 เรื่องและสกุลระทึกขวัญ (Thriller) จำานวน 1 เรื่อง และสกุลชีวิต (Drama) จำานวน 1 เรื่อง 2. ด้านเทคนิคที่ใช้ในการผลิต เทคนิคที่ใช้ในการผลิตภาพยนตร์ลาวส่วนใหญ่ยังเป็น เทคนิคขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับภาพยนตร์ลาวที่ผลิตในปัจจุบัน นี้ เนื่องจากภาพยนตร์ลาวแนวเล่าเรื่องยังไม่ต้องอาศัยการใช้ เทคนิคขึ้นสูงมากจึงทำาให้ยังไม่ประสบปัญหาในช่วงนี้ แต่สำาหรับ อนาคตด้านเทคนิคที่ใช้ในการผลิตต้องมีการพัฒนาเพื่อรองรับ ภาพยนตร์ที่มีศักยภาพมากขึ้น 3. ด้านดารานักแสดง ดารานักแสดงที่ปรากฎอยู่ในภาพยนตร์ลาวจากภาพยนตร์ทั้ง 11 เรื่องมีด้วยกัน 2 ลักษณะคือ ภาพยนตร์ที่ใช้คนลาวแสดง 2
  • 3. ทั้งหมดซึ่งมีทั้งคนลาวที่เป็นนักแสดงใหม่และศิลปิน คนดังของ ลาวมาร่วมแสดง และภาพยนตร์ที่ใช้คนลาวแสดงคู่กับคนที่มีชื่อ เสียงในประเทศไทยซึ่งเป็นเฉพาะผลงานการกำากับของศักดิ์ชาย ดีนาน 4. ด้านฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก ฉากและอุปกรณ์ประกอบฉากส่วนใหญ่เป็นฉากถ่ายทำาจาก สถานที่จริงเป็นหลัก เนื่องจากเมื่อได้รับอนุญาตให้ถ่ายทำาจาก กรมภาพยนตร์แล้ว ผู้สร้างและผู้ผลิตสามารถถ่ายทำาตามสถานที่ ต่าง ๆ ที่ระบุไว้ในบทได้ ความสมบูรณ์ของฉากและอุปกรณ์ ประกอบแต่ละเรื่องขึ้นอยู่กับงบประมาณที่มีโดยจำานวนจำากัด 5. ด้านภาพที่นำาเสนอ ภาพที่นำาเสนอทั้งขนาดภาพ และการเคลื่อนกล้องส่วนใหญ่มี ปรากฎให้เห็นในภาพยนตร์ทุกแบบ ภาพที่นำาเสนอมีความหลาก หลายสามารถสื่อสารความหมายและอารมณ์ความรู้สึกดีพอสมควร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการจัดแสงและอุปกรณ์ต่างๆ ในแต่ละกองถ่ายว่ามี งบประมาณและความพร้อมมากแค่ไหน แต่แนวโน้มทางด้านภาพ ที่นำาเสนอในภาพยนตร์ลาวยุคหลังเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นทั้งการ จัดองค์ประกอบภาพ การสื่อความหมาย อารมณ์และความรู้สึก 6. ด้านเสียงและดนตรีประกอบ เสียงที่ปรากฎในภาพยนตร์ลาวมีทั้งเสียงที่เป็นธรรมชาติและ เสียงที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเสริมบรรยากาศในภาพยนตร์ นอกจากนี้ ภาพยนตร์ลาวหลายเรื่องมีการใช้เพลงประกอบภาพยนตร์เพื่อเพิ่ม การสื่อความหมาย และสร้างการจดจำาให้กับผู้ชม 7. ด้านการแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ยุคปัจจุบันเป็นไป 3 ลักษณะคือ การแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายในลักษณะสมจริง (Realistic) การแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายในลักษณะไม่สมจริง (Non- realistic) และ การแต่งหน้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายในลักษณะ สัญลักษณ์ (Symbolism) 3.2 โรงภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ในสปป.ลาวปัจจุบันเปิดดำาเนินการอยู่ 3 แห่ง คือในแขวงนครหลวงเวียงจันทน์ แขวงจำาปาสัก และแขวงสะหวัน นะเขตแต่โรงภาพยนตร์ที่ได้รับความนิยมและภาพยนตร์ลาวใน ระบบอุตสาหกรรมทุกเรื่องนำาไปเผยแพร่มีเพียงโรงภาพยนตร์ ลาว-ไฮเทคที่ นครหลวงเวียงจันทน์เพียงเท่านั้น 4. ด้านผลสัมฤทธิ์ 3
  • 4. 4.1 รางวัลเกียรติยศและการได้รับเกียรติเชิญเข้าร่วม กิจกรรมด้านภาพยนตร์ในเวทีต่างๆ สปป.ลาวยังไม่มีการจัดมอบรางวัลเกียรติยศทางภาพยนตร์ ใด ๆ ให้แก่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ แต่ในขณะเดียวกัน สปป.ลาว มีเทศกาลภาพยนตร์ที่สำาคัญอยู่ 2 เทศกาลกล่าวคือเทศกาล ภาพยนตร์หลวงพระบาง และเทศกาลภาพยนตร์เวียงจันทน์นาน ภายใต้ก่อตั้งของภาคเอกชนและชาวต่างชาติโดยมีรัฐบาลเป็น ฝ่ายสนับสนุนเท่านั้น ในส่วนของการส่งผลงานภาพยนตร์ไปเข้า ร่วมในเวทีนานาชาตินอกประเทศ ผู้สร้างและผู้ผลิตยังต้องเป็นผู้ ผลักดันตัวเองเป็นหลัก 4.2 การวิจารณ์ภาพยนตร์ลาว การวิจารณ์ภาพยนตร์ลาวยังเป็นผลสัมฤทธิ์ที่ไม่ประสบความ สำาเร็จในปัจจุบัน เนื่องจาก สปป.ลาวยังไม่มีวัฒนธรรมการวิจารณ์ ที่เข้มแข็งและเป็นทางการ ดังนั้นจึงไม่สามารถทราบความคิดเห็น อย่างแท้จริงที่สะท้อนจากผู้ชมและนักวิจารณ์ได้โดยตรง ส่วน ใหญ่จะเป็นลักษณะการปากต่อกันอย่างไม่เป็นทางการมากกว่า มี เพียงบทวิจารณ์จากนักวิจารณ์ชาวไทยต่อภาพยนตร์ลาวเป็นหลัก เท่านั้นที่สะท้อนความคิดอย่างตรงไปตรงมาและเขียนออกมารูป แบบการวิจารณ์ไม่ใช่การแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อต่าง ๆ ทั่วไป แต่ขณะเดียวกันภาพยนตร์ลาวที่ได้รับการวิจารณ์ส่วนใหญ่จะเป็น ภาพยนตร์ลาวที่มีโอกาสเข้าฉายในประเทศไทย หรือนักวิจารณ์ ได้มีโอกาสข้ามฝั่งไปชมภาพยนตร์ลาวเพียงบางเรื่องตามเทศกาล ภาพยนตร์ใน สปป.ลาว เท่านั้น 4.3 ผู้ชม ผลสัมฤทธิ์ในระบบอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทางด้านผู้ชมพบว่า ผู้ชมยังมีความพึงพอใจในองค์ประกอบภาพยนตร์ลาวอยู่ในระดับ น้อยและปานกลางโดยองค์ประกอบภาพยนตร์ที่ต้องเร่งพัฒนาคือ ด้านเนื้อหาและบทภาพยนตร์ ด้านสกุลภาพยนตร์ ด้านดารานัก แสดง และด้านเทคนิคในการผลิตภาพยนตร์ 4