SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
โครงการอบรมวิชาการและทักษะปฏิบัติการดานพิพิธภัณฑ
(Museum Academy 2016)
หลักการและเหตุผล
สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ (สพร.) ในกํากับของสํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู
(สบร.) ไดดําเนินงานโครงการวิจัยองคความรูดานพิพิธภัณฑ ซึ่งเปนโครงการตามวัตถุประสงคของสํานักงาน
บริหารและพัฒนาองคความรู คือ (1) การเปนองคกรการเรียนรูขนาดใหญ ที่สมบูรณ หลากหลายและเปน
องคกรนําทางดานฐานความรู โดยสอดคลองกับพันธกิจของ สพร. (2) การสรางพิพิธภัณฑตนแบบและ
เผยแพรองคความรูที่เกี่ยวของกับพิพิธภัณฑการเรียนรู
นอกจากนี้ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ยังสนับสนุนและรวมมือเปนเครือขายกับ
พิพิธภัณฑอื่นทั่วประเทศ เพื่อรวมสรางมาตรฐานกระบวนการเรียนรูและการบริหารจัดการพิพิธภัณฑใหมี
คุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงเสริมสรางความรูดานพิพิธภัณฑวิทยาและพิพิธภัณฑศึกษาที่
เหมาะสม ตลอดจนสนับสนุนการเผยแพรองคความรูโดยการจัดประชุมวิชาการ การจัดเสวนาทางดาน
ประวัติศาสตร โบราณคดี สังคม ศิลปวัฒนธรรม และชาติพันธุวิทยา ที่อยูในกระแสความสนใจของคนใน
สังคม หรือเรื่องราวในอดีตที่มีผลกับปจจุบัน อันเปนการเผยแพรและตอยอดองคความรูสูสาธารณชน
โดยฝายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ มีแผนการดําเนินงานดานพิพิธภัณฑศึกษา
โดยเห็นวาในระยะ 10 ปที่ผานมา พิพิธภัณฑไดเขามามีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของคนในสังคมไทยมากขึ้น
วัฒนธรรมการเขาชมพิพิธภัณฑไดเขามาเปนสวนหนึ่งของคนในสังคมไทย โดยพิพิธภัณฑ หอศิลป และศูนย
การเรียนรูในประเทศไทยไดปรากฏขึ้นเปนจํานวนมาก ทั้งที่ทําหนาที่เปนแหลงเรียนรู แหลงพักผอนหยอนใจ
แหลงสาระเชิงบันเทิง รวมทั้งสถานที่สรางแรงบันดาลใจและความคิดสรางสรรคใหมๆ เมื่อพิพิธภัณฑมี
บทบาทตอคนในสังคมมากขึ้น บุคลากรในสายงานพิพิธภัณฑก็มีความจําเปนที่ตองสราง “งาน” ใหสอดคลอง
กับความตองการของคนในสังคม คนทํางานพิพิธภัณฑก็จําเปนตองรับมือกับความเปลี่ยนแปลงเหลานี้ ดวย
เทคนิคและวิธีการอยางใหม โดยผูปฏิบัติงานพิพิธภัณฑควรทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทั้งใน
เรื่องของประเด็นเนื้อหา และวิธีการเรียนรูของผูชม ซึ่งควรรวมไปถึงรสนิยมการใชชีวิตและวิธีการใฝหา
ความรูของผูชมกลุมตางๆ
โดยเห็นวา โครงการอบรมวิชาการและทักษะปฏิบัติการดานพิพิธภัณฑ (Museum Academy
2016) จะทําใหเกิดความตื่นตัวของการทํางานพิพิธภัณฑ โดยคาดหวังใหผูรับการอบรมเกิดการประยุกตใช
กับงานของตน ทั้งนี้ ไดรับความรวมมือทางวิชาการกับ องคกรพิพิธภัณฑ นักวิชาการ นักปฏิบัติการดาน
Museum Academy 2016
พิพิธภัณฑ อาทิ มูลนิธิบานฮอลันดา โดยเปนภาคียุทธศาสตรในการใหความรูทางดานพิพิธภัณฑ และได
พัฒนาเพื่อเปนหลักสูตรนํารองตาม “โครงการอบรมวิชาการและทักษะปฏิบัติการดานพิพิธภัณฑ” (Museum
Academy 2016) บนพื้นฐานของแนวคิด “Learning by Doing” โดยในโครงการนํารองนี้ ไดทดลองจัด 4
หัวขอ ที่ไดจากการสํารวจความตองการของนักปฏิบัติการในพิพิธภัณฑ (ผานการตอบแบบสอบถามของ
โครงการบรรยายวิชาการดานพิพิธภัณฑ Museum inFocus) ประกอบดวย
1. รื้อ สราง งานพิพิธภัณฑ: การวางแผนพิพิธภัณฑสมัยใหม
(Introduction to ‘new museology’ & museum planning)
เอสเตรลา-หทัยรัตน มณเฑียร
23 – 25 มิถุนายน 2559
2. งานการศึกษาสําหรับพิพิธภัณฑในศตวรรษที่ 21
(Museum Education)
โอต-พัฒนพงศ มณเฑียร
30 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2559
3. ปฏิบัติการ ‘สวย’ ดวย ‘แสง’ (Lighting Design for Exhibition)
ฐะนียา ยุกตะทัต FOS Lighting Design Studio
7-9 กรกฎาคม 2559
4. ‘เขียน’ อยางไรในนิทรรศการ?
(How to write an exhibition ‘TEXT’?)
นันทนรี พานิชกุล และทีมนิทรรศการ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (TCDC)
ทวีศักดิ์ วรฤทธิ์เรืองอุไร และทีมนิทรรศการ มิวเซียมสยาม (TCDC)
28-30 กรกฎาคม 2559
โดยจัดทําเปนหลักสูตรระยะสั้น จํานวน 4 หัวขอ หัวขอละ 3 วัน ซึ่งจะจัดในวันพฤหัสบดี, วัน
ศุกร และวันเสาร โครงสรางการอบรมประกอบดวย การฟงบรรยายแนวคิดและทฤษฎีเฉพาะเรื่องที่มีความ
ทันสมัย การออกภาคสนามเพื่อดูตัวอยางงาน และการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใชนิทรรศการของมิวเซียม
สยามและพิพิธภัณฑอื่นๆ เปนฐานการเรียนรูเพื่อใหผูเขาการอบรมไดฝกกระบวนการคิด การวางแผน และ
การแกปญหาของสถานการณที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติการจริง
Museum Academy 2016
คุณสมบัติของผูเขารับการอบรมและการคัดเลือก การฝกอบรมเปดกวางใหกับนักศึกษาในระดับ
มหาวิทยาลัย ภัณฑารักษ ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารที่เกี่ยวของกับสายงานพิพิธภัณฑทุกแขนง โดยผูสนใจสมัคร
ตองระบุเหตุผลที่ตองการเขารวมฝกอบรมและความคาดหวังตอการประยุกตใชกับงานหรือความสนใจของ
ตนเอง โดยผูเขารับการอบรมจะไดรับประกาศนียบัตรจากสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ
สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ เห็นวาโครงการฯ ดังกลาวจะกอใหเกิดประโยชนในการ
เรียนรูรวมกันจากภาคสวนตางๆ ทั้งภาควิชาการและภาคปฏิบัติ โดยเปนการลงลึกถึงทฤษฎีและปฏิบัติการที่
แตกตางจากหลักสูตรการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยของไทย สามารถสรางความแข็งแกรงใหกับวง
วิชาการพิพิธภัณฑศึกษาได ซึ่งจะทําใหบุคลากรที่ทํางานดานพิพิธภัณฑเขาใจถึงสวนประกอบตางๆ ของงาน
พิพิธภัณฑและการสรางสรรคงานพิพิธภัณฑใหสามารถสื่อสารกับผูเขาชมใหไดรับประสบการณที่ชัดเจน และ
สรางความแปลกใหมในการเรียนรู นอกจากนี้ บุคลากรดานพิพิธภัณฑจะไดมีแรงบันดาลใจในการตอยอด
ความรูและทักษะเพื่อนําความรูมาประยุกตใชกับงานของตนไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเกิด
การพัฒนาในสายงานพิพิธภัณฑตอไป
วัตถุประสงค
1) เพื่อเชื่อมคนทํางานพิพิธภัณฑ โดยมี สพร. เปนแกนกลางในการสงมอบองคความรู เพื่อสราง
ภาคีการเรียนรูรวมกันจากภาคสวนตางๆ ทั้งภาควิชาการ ภาคปฏิบัติ และชุมชนเพื่อสรางความแข็งแกรง
ใหกับวงวิชาพิพิธภัณฑศึกษา
2) เพื่อเพิ่มพูนความรูพื้นฐานดานพิพิธภัณฑศึกษาแกบุคลากรของสพร. และบุคลากรดาน
พิพิธภัณฑในเรื่องประวัติและพัฒนาการของพิพิธภัณฑ บทบาทตอสังคม นิยามและประเภทของพิพิธภัณฑ
เทคนิคเชิงปฏิบัติการในงานพิพิธภัณฑและวิธีการในการสื่อสาร รวมถึงการบริหารจัดการ การดําเนินงาน
ตางๆ รูปแบบองคกร การจัดการ และการวางแผนเชิงกลยุทธเพื่อใหพิพิธภัณฑเปนองคกรที่รับผิดชอบตอ
สังคมอยางแทจริง
3) เพื่อเพิ่มชองทางงานบริการทางวิชาการในการบมเพาะแนวคิดการจัดการพิพิธภัณฑแนวใหม
และขยายผลตนแบบการเรียนรูสูสังคม
กลุมเปาหมาย : จํานวน 15-20 คน
นักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารที่เกี่ยวของกับสายงานพิพิธภัณฑทุกแขนง และ
ผูสนใจทั่วไป
สถานที่จัดการอบรม
หองคลังความรู ชั้น 2 อาคารสํานักงาน สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ (มิวเซียมสยาม)
เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
*ทั้งนี้ในแตละหลักสูตรอาจมีการศึกษาดูงาน นอกสถานที่
Museum Academy 2016
วัตถุประสงค
1) เพื่อเชื่อมคนทํางานพิพิธภัณฑ โดยมี สพร. เปนแกนกลางในการสงมอบองคความรู เพื่อสราง
ภาคีการเรียนรูรวมกันจากภาคสวนตางๆ ทั้งภาควิชาการ ภาคปฏิบัติ และชุมชนเพื่อสรางความแข็งแกรง
ใหกับวงวิชาพิพิธภัณฑศึกษา
2) เพื่อเพิ่มพูนความรูพื้นฐานดานพิพิธภัณฑศึกษาแกบุคลากรของสพร. และบุคลากรดาน
พิพิธภัณฑทั้งในเรื่องแนวคิดทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติการ
3) เพื่อเพิ่มชองทางงานบริการทางวิชาการในการบมเพาะแนวคิดการจัดการพิพิธภัณฑแนวใหม
และขยายผลตนแบบการเรียนรูสูสังคม
ผลที่คาดวาจะไดรับ
1) บุคลากรดานพิพิธภัณฑไดรับความรู ความเขาใจเกี่ยวกับกลไกของงานพิพิธภัณฑอยางกวางขวาง
มากขึ้น
2) สามารถสรางองคความรู แนวคิด จินตนาการที่ไดจากการเรียนรู และจากการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ โดยนําความรูที่ไดจากการบูรณาการจากศาสตรที่หลากหลายไปพัฒนา หรือปรับใชให
สอดคลองกับงานของตนเพื่อสรางประโยชนและสรางสรรคการเรียนรูสูสังคม โดยมีพิพิธภัณฑเปนขุมพลัง
แหงการเรียนรู
3) สรางความรวมมือทางวิชาการระหวางสพร. และนักวิชาการดานพิพิธภัณฑ
ผูรับผิดชอบโครงการ
ฝายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ
ขอมูลเพิ่มเติม 02 225 2777 ตอ 407, 419, 420
อีเมล <chonchanok@ndmi.or.th>
Museum Academy 2016

More Related Content

Similar to Museum academy-2016

รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
Arc annual report2554 (1)
Arc annual report2554 (1)Arc annual report2554 (1)
Arc annual report2554 (1)KKU Library
 
Annual report2550
Annual report2550Annual report2550
Annual report2550KKU Library
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243KKU Library
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์Humanities Information Center
 
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...kaewpanya km
 

Similar to Museum academy-2016 (15)

รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
Arc annual report2554 (1)
Arc annual report2554 (1)Arc annual report2554 (1)
Arc annual report2554 (1)
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
Annual report2550
Annual report2550Annual report2550
Annual report2550
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
 
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
 

More from National Discovery Museum Institute (NDMI)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุลNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่มNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 

More from National Discovery Museum Institute (NDMI) (20)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
 
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
 
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
 
Agenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bullyAgenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bully
 
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case StudyEducation Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
 
Museum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 posterMuseum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 poster
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
 
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
 
Forum Agenda Museum Without Walls
 Forum Agenda Museum Without Walls Forum Agenda Museum Without Walls
Forum Agenda Museum Without Walls
 
Poster Museum Without Walls 2016-TH
Poster Museum Without Walls 2016-THPoster Museum Without Walls 2016-TH
Poster Museum Without Walls 2016-TH
 
Poster Museum Without Walls 2016-ENG
Poster Museum Without Walls 2016-ENGPoster Museum Without Walls 2016-ENG
Poster Museum Without Walls 2016-ENG
 
Poster Museum Without Walls Short Film Contest
Poster Museum Without Walls Short Film ContestPoster Museum Without Walls Short Film Contest
Poster Museum Without Walls Short Film Contest
 
Book Museum Refocused
Book Museum RefocusedBook Museum Refocused
Book Museum Refocused
 
Abstract museum refocused
Abstract museum refocusedAbstract museum refocused
Abstract museum refocused
 
Museum Refocused
Museum RefocusedMuseum Refocused
Museum Refocused
 

Museum academy-2016

  • 1. โครงการอบรมวิชาการและทักษะปฏิบัติการดานพิพิธภัณฑ (Museum Academy 2016) หลักการและเหตุผล สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ (สพร.) ในกํากับของสํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (สบร.) ไดดําเนินงานโครงการวิจัยองคความรูดานพิพิธภัณฑ ซึ่งเปนโครงการตามวัตถุประสงคของสํานักงาน บริหารและพัฒนาองคความรู คือ (1) การเปนองคกรการเรียนรูขนาดใหญ ที่สมบูรณ หลากหลายและเปน องคกรนําทางดานฐานความรู โดยสอดคลองกับพันธกิจของ สพร. (2) การสรางพิพิธภัณฑตนแบบและ เผยแพรองคความรูที่เกี่ยวของกับพิพิธภัณฑการเรียนรู นอกจากนี้ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ยังสนับสนุนและรวมมือเปนเครือขายกับ พิพิธภัณฑอื่นทั่วประเทศ เพื่อรวมสรางมาตรฐานกระบวนการเรียนรูและการบริหารจัดการพิพิธภัณฑใหมี คุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงเสริมสรางความรูดานพิพิธภัณฑวิทยาและพิพิธภัณฑศึกษาที่ เหมาะสม ตลอดจนสนับสนุนการเผยแพรองคความรูโดยการจัดประชุมวิชาการ การจัดเสวนาทางดาน ประวัติศาสตร โบราณคดี สังคม ศิลปวัฒนธรรม และชาติพันธุวิทยา ที่อยูในกระแสความสนใจของคนใน สังคม หรือเรื่องราวในอดีตที่มีผลกับปจจุบัน อันเปนการเผยแพรและตอยอดองคความรูสูสาธารณชน โดยฝายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ มีแผนการดําเนินงานดานพิพิธภัณฑศึกษา โดยเห็นวาในระยะ 10 ปที่ผานมา พิพิธภัณฑไดเขามามีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของคนในสังคมไทยมากขึ้น วัฒนธรรมการเขาชมพิพิธภัณฑไดเขามาเปนสวนหนึ่งของคนในสังคมไทย โดยพิพิธภัณฑ หอศิลป และศูนย การเรียนรูในประเทศไทยไดปรากฏขึ้นเปนจํานวนมาก ทั้งที่ทําหนาที่เปนแหลงเรียนรู แหลงพักผอนหยอนใจ แหลงสาระเชิงบันเทิง รวมทั้งสถานที่สรางแรงบันดาลใจและความคิดสรางสรรคใหมๆ เมื่อพิพิธภัณฑมี บทบาทตอคนในสังคมมากขึ้น บุคลากรในสายงานพิพิธภัณฑก็มีความจําเปนที่ตองสราง “งาน” ใหสอดคลอง กับความตองการของคนในสังคม คนทํางานพิพิธภัณฑก็จําเปนตองรับมือกับความเปลี่ยนแปลงเหลานี้ ดวย เทคนิคและวิธีการอยางใหม โดยผูปฏิบัติงานพิพิธภัณฑควรทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทั้งใน เรื่องของประเด็นเนื้อหา และวิธีการเรียนรูของผูชม ซึ่งควรรวมไปถึงรสนิยมการใชชีวิตและวิธีการใฝหา ความรูของผูชมกลุมตางๆ โดยเห็นวา โครงการอบรมวิชาการและทักษะปฏิบัติการดานพิพิธภัณฑ (Museum Academy 2016) จะทําใหเกิดความตื่นตัวของการทํางานพิพิธภัณฑ โดยคาดหวังใหผูรับการอบรมเกิดการประยุกตใช กับงานของตน ทั้งนี้ ไดรับความรวมมือทางวิชาการกับ องคกรพิพิธภัณฑ นักวิชาการ นักปฏิบัติการดาน Museum Academy 2016
  • 2. พิพิธภัณฑ อาทิ มูลนิธิบานฮอลันดา โดยเปนภาคียุทธศาสตรในการใหความรูทางดานพิพิธภัณฑ และได พัฒนาเพื่อเปนหลักสูตรนํารองตาม “โครงการอบรมวิชาการและทักษะปฏิบัติการดานพิพิธภัณฑ” (Museum Academy 2016) บนพื้นฐานของแนวคิด “Learning by Doing” โดยในโครงการนํารองนี้ ไดทดลองจัด 4 หัวขอ ที่ไดจากการสํารวจความตองการของนักปฏิบัติการในพิพิธภัณฑ (ผานการตอบแบบสอบถามของ โครงการบรรยายวิชาการดานพิพิธภัณฑ Museum inFocus) ประกอบดวย 1. รื้อ สราง งานพิพิธภัณฑ: การวางแผนพิพิธภัณฑสมัยใหม (Introduction to ‘new museology’ & museum planning) เอสเตรลา-หทัยรัตน มณเฑียร 23 – 25 มิถุนายน 2559 2. งานการศึกษาสําหรับพิพิธภัณฑในศตวรรษที่ 21 (Museum Education) โอต-พัฒนพงศ มณเฑียร 30 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2559 3. ปฏิบัติการ ‘สวย’ ดวย ‘แสง’ (Lighting Design for Exhibition) ฐะนียา ยุกตะทัต FOS Lighting Design Studio 7-9 กรกฎาคม 2559 4. ‘เขียน’ อยางไรในนิทรรศการ? (How to write an exhibition ‘TEXT’?) นันทนรี พานิชกุล และทีมนิทรรศการ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (TCDC) ทวีศักดิ์ วรฤทธิ์เรืองอุไร และทีมนิทรรศการ มิวเซียมสยาม (TCDC) 28-30 กรกฎาคม 2559 โดยจัดทําเปนหลักสูตรระยะสั้น จํานวน 4 หัวขอ หัวขอละ 3 วัน ซึ่งจะจัดในวันพฤหัสบดี, วัน ศุกร และวันเสาร โครงสรางการอบรมประกอบดวย การฟงบรรยายแนวคิดและทฤษฎีเฉพาะเรื่องที่มีความ ทันสมัย การออกภาคสนามเพื่อดูตัวอยางงาน และการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใชนิทรรศการของมิวเซียม สยามและพิพิธภัณฑอื่นๆ เปนฐานการเรียนรูเพื่อใหผูเขาการอบรมไดฝกกระบวนการคิด การวางแผน และ การแกปญหาของสถานการณที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติการจริง Museum Academy 2016
  • 3. คุณสมบัติของผูเขารับการอบรมและการคัดเลือก การฝกอบรมเปดกวางใหกับนักศึกษาในระดับ มหาวิทยาลัย ภัณฑารักษ ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารที่เกี่ยวของกับสายงานพิพิธภัณฑทุกแขนง โดยผูสนใจสมัคร ตองระบุเหตุผลที่ตองการเขารวมฝกอบรมและความคาดหวังตอการประยุกตใชกับงานหรือความสนใจของ ตนเอง โดยผูเขารับการอบรมจะไดรับประกาศนียบัตรจากสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ เห็นวาโครงการฯ ดังกลาวจะกอใหเกิดประโยชนในการ เรียนรูรวมกันจากภาคสวนตางๆ ทั้งภาควิชาการและภาคปฏิบัติ โดยเปนการลงลึกถึงทฤษฎีและปฏิบัติการที่ แตกตางจากหลักสูตรการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยของไทย สามารถสรางความแข็งแกรงใหกับวง วิชาการพิพิธภัณฑศึกษาได ซึ่งจะทําใหบุคลากรที่ทํางานดานพิพิธภัณฑเขาใจถึงสวนประกอบตางๆ ของงาน พิพิธภัณฑและการสรางสรรคงานพิพิธภัณฑใหสามารถสื่อสารกับผูเขาชมใหไดรับประสบการณที่ชัดเจน และ สรางความแปลกใหมในการเรียนรู นอกจากนี้ บุคลากรดานพิพิธภัณฑจะไดมีแรงบันดาลใจในการตอยอด ความรูและทักษะเพื่อนําความรูมาประยุกตใชกับงานของตนไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเกิด การพัฒนาในสายงานพิพิธภัณฑตอไป วัตถุประสงค 1) เพื่อเชื่อมคนทํางานพิพิธภัณฑ โดยมี สพร. เปนแกนกลางในการสงมอบองคความรู เพื่อสราง ภาคีการเรียนรูรวมกันจากภาคสวนตางๆ ทั้งภาควิชาการ ภาคปฏิบัติ และชุมชนเพื่อสรางความแข็งแกรง ใหกับวงวิชาพิพิธภัณฑศึกษา 2) เพื่อเพิ่มพูนความรูพื้นฐานดานพิพิธภัณฑศึกษาแกบุคลากรของสพร. และบุคลากรดาน พิพิธภัณฑในเรื่องประวัติและพัฒนาการของพิพิธภัณฑ บทบาทตอสังคม นิยามและประเภทของพิพิธภัณฑ เทคนิคเชิงปฏิบัติการในงานพิพิธภัณฑและวิธีการในการสื่อสาร รวมถึงการบริหารจัดการ การดําเนินงาน ตางๆ รูปแบบองคกร การจัดการ และการวางแผนเชิงกลยุทธเพื่อใหพิพิธภัณฑเปนองคกรที่รับผิดชอบตอ สังคมอยางแทจริง 3) เพื่อเพิ่มชองทางงานบริการทางวิชาการในการบมเพาะแนวคิดการจัดการพิพิธภัณฑแนวใหม และขยายผลตนแบบการเรียนรูสูสังคม กลุมเปาหมาย : จํานวน 15-20 คน นักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารที่เกี่ยวของกับสายงานพิพิธภัณฑทุกแขนง และ ผูสนใจทั่วไป สถานที่จัดการอบรม หองคลังความรู ชั้น 2 อาคารสํานักงาน สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ (มิวเซียมสยาม) เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 *ทั้งนี้ในแตละหลักสูตรอาจมีการศึกษาดูงาน นอกสถานที่ Museum Academy 2016
  • 4. วัตถุประสงค 1) เพื่อเชื่อมคนทํางานพิพิธภัณฑ โดยมี สพร. เปนแกนกลางในการสงมอบองคความรู เพื่อสราง ภาคีการเรียนรูรวมกันจากภาคสวนตางๆ ทั้งภาควิชาการ ภาคปฏิบัติ และชุมชนเพื่อสรางความแข็งแกรง ใหกับวงวิชาพิพิธภัณฑศึกษา 2) เพื่อเพิ่มพูนความรูพื้นฐานดานพิพิธภัณฑศึกษาแกบุคลากรของสพร. และบุคลากรดาน พิพิธภัณฑทั้งในเรื่องแนวคิดทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติการ 3) เพื่อเพิ่มชองทางงานบริการทางวิชาการในการบมเพาะแนวคิดการจัดการพิพิธภัณฑแนวใหม และขยายผลตนแบบการเรียนรูสูสังคม ผลที่คาดวาจะไดรับ 1) บุคลากรดานพิพิธภัณฑไดรับความรู ความเขาใจเกี่ยวกับกลไกของงานพิพิธภัณฑอยางกวางขวาง มากขึ้น 2) สามารถสรางองคความรู แนวคิด จินตนาการที่ไดจากการเรียนรู และจากการแลกเปลี่ยน ประสบการณ โดยนําความรูที่ไดจากการบูรณาการจากศาสตรที่หลากหลายไปพัฒนา หรือปรับใชให สอดคลองกับงานของตนเพื่อสรางประโยชนและสรางสรรคการเรียนรูสูสังคม โดยมีพิพิธภัณฑเปนขุมพลัง แหงการเรียนรู 3) สรางความรวมมือทางวิชาการระหวางสพร. และนักวิชาการดานพิพิธภัณฑ ผูรับผิดชอบโครงการ ฝายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ขอมูลเพิ่มเติม 02 225 2777 ตอ 407, 419, 420 อีเมล <chonchanok@ndmi.or.th> Museum Academy 2016