SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบความรู้ ที 7
                                    เรือง ระบบเครือข่ ายท้ องถิน(LAN)

ระบบเครือข่ ายท้ องถิน (LAN)
          ระบบเครื อข่ายแบบ LAN หรื อระบบเครื อข่ายเฉพาะบริ เวณ โดยปกติแล้วจะเป็ นระบบเครื อข่าย
ส่ วนตัว (Private Network) นันคือองค์กรที/ตองการใช้งานเครื อข่าย ทําการสร้าง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที/
                              /            ้
เชื/อมต่อกันเป็ นระบบเครื อข่ายในระยะใกล้ ๆ ซึ/ งจะช่วยให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรและธุ รกิจต่างๆ มากมาย
เช่น
     - สามารถแบ่งเบาการประมวลผลไปยังเครื/ องต่างๆ เฉลี/ยกันไป
     - สามารถแบ่งกันใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื/ องพิมพ์ ซี ดีรอมไดร์ ฟ เครื/ องคอมพิวเตอร์ ที/มี
ประสิ ทธิ ภาพสู ง เป็ นต้น
     - สามารถแบ่งกันใช้งานซอฟต์แวร์ และข้อมูลหรื อสารสนเทศต่างๆ รวมทัEงทําให้สามารถจัดเก็บข้อมูล
เหล่านัEนไว้เพียงที/เดียว
     - สามารถวางแผนหรื อทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ แม้จะไม่ได้อยูใกล้กนก็ตาม
                                                                   ่      ั
     - สามารถใช้ในการติดต่อกัน เช่น ส่ งจดหมายทางอิเลคทรอนิคส์ หรื อการส่ งเสี ยงหรื อภาพทาง
อิเลคทรอนิคส์ เป็ นต้น
     - ช่วยลดค่าใช้จ่ายโดยรวมขององค์กร

ชนิดการเชื อมต่ อของเครื อข่ าย LAN
           การเชื/อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายเฉพาะบริ เวณ (LAN) นัEน จุดประสงค์หลักอย่าง
หนึ/งก็คือการแบ่งกันใช้ทรัพยากรที/มีอยู่ โดยทรัพยากรเหล่านัEนอาจเป็ นหน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
                                                                                                      ่ ั
ความเร็ วสู ง ฮาร์ ดดิสก์ เครื/ องพิมพ์ หรื อแม้แต่อุปกรณ์สื/อสารต่างๆ ซึ/ งอุปกรณ์เหล่านีEจะเชื/อมอยูกบ
คอมพิวเตอร์ เครื/ องใดเครื/ องหนึ/ง
วิธีการเชื/อมต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื/อจัดสรรการใช้งานทรัพยากรในระบบเครื อข่ายสามารถจําแนกได้
เป็ น 3 รู ปแบบ คือ

        1. เครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer
        2. เครื อข่ายแบบ Server-based
        3. เครื อข่ายแบบ Client/Server
ตาราง เปรี ยบเทียบการเชื/อมต่อแบบ Server based เทียบกับ Peer-to-Peer
     เครือข่ าย                      ข้ อดี                                           ข้ อเสีย
                                                           - เสี ยค่าใช้จ่ายสูงสําหรับเครื/ อง Server โดยเฉพาะอย่าง
                 - มีประสิ ทธิภาพสูงกว่าโดยเฉพาะอย่างยิง /
                                                           ยิงหากเป็ นแบบ Dedicated Server ซึ/งไม่สามารถ
                                                             /
                 ถ้าเป็ นแบบ Dedicated Server
                                                           นําไปใช้งานอย่างอื/นได้
     Server- - การดูแลระบบสามารถทําได้ง่ายกว่า
                                                                                                       ่ ั
                                                           - ไม่สามารถใช้งานทรัพยากรที/เชื/อมอยูกบ Workstation
     Based -เร็ ว
                                                           ได้
                         ั
                 -ใช้กบเครื อข่ายขนาดใหญ่ได้
                                                           - ถ้า Server เสี ยระบบจะหยุดหมด
                 -ระบบรักษาความปลอดภัยดี
                                                           -ติดตัEงยากกว่า
                                                     ่ ั
                 - สามารถใช้งานทรัพยากรซึ/งเชื/อมอยูกบ - การดูแลระบบทําได้ยาก เนื/องจากทรัพยากรกระจัด
                 เครื/ องใดๆ ในเครื อข่าย                  กระจายกันไปในเครื/ องต่างๆ
                 - ประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของ Server - มีประสิ ทธิภาพที/ต/ากว่าแบบ Server based มาก
                                                                                  ํ
     Peer-to-
                 - สามารถกระจายโปรแกรมประยุกต์ไป - เครื/ องทุกเครื/ องต้องมีหน่วยความจําและประสิทธิภาพ
     Peer
                 ไว้ยงเครื/ องต่างๆ เพื/อลดการจราจรใน สูงกว่าเครื/ อง workstaion ในแบบ Server-based
                       ั
                 เครื อข่ายได้                             -ความเร็ วไม่สูงเท่าแบบ Server-based
                 -ติดตัEงง่าย ใช้งานง่าย                   -ระบบความปลอดภัยไม่ค่อยดี

เครือข่ ายแบบ Peer-to-Peer




                                                  เครื อข่ายแบบนีEจะเก็บไฟล์และการเชื/อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ
ไว้ที/เครื/ องคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์ ส่วนกลางที/ทาหน้าที/นE ี เรี ยกได้วาต่างคนต่าง
                               ้                                               ํ                 ่
เก็บ ต่างคนต่างใช้ แต่ผใช้ในเครื อข่ายสามารถเรี ยกใช้ไฟล์จากคอมพิวเตอร์ เครื/ องอื/นได้ ถ้าคอมพิวเตอร์
                          ู้
เครื/ องนัEนทําการแชร์ ไฟล์เหล่านัEนไว้ เครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นีEเหมาะสําหรับองค์กรขนาดเล็กที/มี
                                                                                             ุ่
คอมพิวเตอร์ เชื/ อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื/ อง เนื/องจากติดตัEงง่าย ราคาไม่แพง และการดูแลไม่ยงยากนัก แต่ถา ้
คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายมีมากกว่า 10 เครื/ องขึEนไปควรจะใช้เครื อข่ายแบบอื/นดีกว่า
ทรัพยากร
            ทรัพยากรของเครื อข่าย เช่น เครื/ องพิมพ์ หรื อแฟกซ์โมเด็ม ปกติจะเชื/อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เครื/ อง
ใดเครื/ องหนึ/งในเครื อข่าย สําหรับเครื/ องที/ไม่มีทรัพยากรเหล่านีEก็สามารถเข้าใช้ทรัพยากรเหล่านีEผาน ่
เครื อข่ายได้
โปรแกรมใช้ งาน
            โดยปกติโปรแกรมใช้งานทัวไป เช่น เวิร์ดโปรเซสเซอร์ หรื อสเปรดชี ต ที/ใช้ในเครื อข่ายแบบ Peer-
                                            /
to-Peer จะติดตัEงในคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละเครื/ องเลย
                                                ้
สมรรถนะ
            เมื/อคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายถูกร้องขอข้อมูล หรื อเรี ยกใช้ทรัพยากร สมรรถนะในการทํางานของ
คอมพิวเตอร์ ก็จะลดตํ/าลง เช่น ถ้ามีเครื/ องพิมพ์เชื/อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เครื/ องใดเครื/ องนัEนก็จะทํางานช้า ลง
ทันทีที/มีผใช้คนอื/นในเครื อข่ายส่ งเอกสารมาพิมพ์ที/เครื/ องพิมพ์ตวนีE
              ู้                                                        ั
การติดตั5ง
            เมื/อติดตัEงและเซตอัปฮาร์ ดแวร์ ของเครื อข่ายเสร็ จแล้ว ต่อไปก็ตองติดตัEงระบบปฏิบติการเครื อข่าย
                                                                                  ้               ั
และโปรแกรมใช้งานลงเครื/ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื/ องด้วย หลังจากนัEนก็ตองเซตอัปการเชื/อมต่อคอมพิวเตอร์
                                                                                    ้
แต่ละเครื/ องให้มองเห็นเครื อข่ายและทรัพยากรในเครื อข่าย
การบริ หารระบบ
            การบริ หารเครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นีEไม่ซบซ้อนมากนัก ดังนัEนจึงไม่จาเป็ นจะต้องมีการตัEง
                                                               ั                           ํ
ตําแหน่งผูบริ หารเครื อข่ายโดยเฉพาะ เพียงแต่ให้ผใช้ในเครื อข่ายศึกษาวิธีการบริ หารระบบในเครื/ องของ
                 ้                                         ู้
                                       ่
ตนเองก็ เพียงพอแล้ว เรี ยกได้วาต่างคนต่างช่วยกันดูแล
ระบบรักษาความปลอดภัย
            ลักษณะการเก็บไฟล์ในเครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นีEจะใช้หลักการต่างคนต่างเก็บในเครื/ อง
คอมพิวเตอร์ ของตนเอง จุดนีEเองทําให้ผใช้คนอื/นสามารถเข้าไปดูไฟล์ขอมูลในเครื/ องต่าง ๆ ในเครื อข่ายได้
                                                  ู้                            ้
ไม่ยากนัก ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในเครื อข่ายแบบนีEจึงค่อนข้างหละหลวมกว่าระบบรักษา
ความปลอดภัยที/เก็บไว้ที/เซิ ร์ฟเวอร์
ค่ าใช้ จ่าย
            ในกรณี ที/เครื/ องที/เชื/อมต่อมีนอยเครื/ องค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าเครื อข่ายรู ปแบบอื/น ๆ
                                              ้
คุณสมบัติข5 ันสู ง
            เครื อข่ายแบบนีEจะเน้นในเรื/ องของการแลกเปลี/ยนข้อมูล และการใช้ทรัพยากรร่ วมกันในเครื อข่าย
เท่านัEน คุณสมบัติขE นสู งอื/น ๆ เช่น การควบคุมระยะไกล หรื อระบบรับส่ งอีเมล์ จะไม่มีให้ใช้ในเครื อข่ายนีE
                         ั
การขยายระบบ
       เครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer เหมาะสําหรับการเชื/ อมต่อคอมพิวเตอร์ จานวนน้อยๆ ซึ/ งไม่เหมาะใน
                                                                        ํ
การขยายระบบเพิ/มเติม ถ้าองค์กรต้องการขยายระบบเพิ/มเติมควรจะสร้างเป็ นเครื อข่ายแบบอื/น

เครือข่ ายแบบ Server-Based

                                                     ่
      ระบบเครื อข่ายแบบนีE จะมีคอมพิวเตอร์ หลักอยูหนึ/งเครื/ อง เรี ยกว่า เซิ ร์ฟเวอร์ (server) หรื อ เครื/ องแม่
                                                                           ั
ข่าย ทําหน้าที/เก็บข้อมูล โปรแกรม และแชร์ ไฟล์หรื อโปรแกรมนัEนให้กบเครื/ องลูกข่าย อีกทัEงยังทําหน้าที/
ประมวลผล และส่ งผลลัพธ์ที/ได้ไปให้เครื/ องลูกข่าย ซึ/ งเป็ นเสมือนเครื/ องให้บริ การเครื/ องคอมพิวเตอร์ อื/นใน
เครื อข่ายที/ร้องขอ เข้ามา รวมทัEงเป็ นยังผูจดการดูแลการจราจรในระบบเครื อข่ายทัEงหมด
                                            ้ั

     เครื/ องคอมพิวเตอร์ อื/นๆ ในเครื อข่าย จะสามารถเข้าใช้งานไฟล์ต่าง ๆ ในเซิ ร์ฟเวอร์ ได้ แต่ไม่สามารถเข้า
ใช้งานไฟล์ในเครื/ องอื/นๆ ได้ นันคือการติดต่อกันระหว่างเครื/ องต่างๆ จะต้องผ่านเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ เครื/ อง
                                  /
ผูใช้จะทําการประมวลผลในงานของตนเท่านัEน ไม่มีหน้าที/ในการให้บริ การกับเครื/ องอื/นๆ ในระบบ
  ้

      เซิ ร์ฟเวอร์ จะต้องมีหน่วยความจําสํารอง (harddisk) ขนาดใหญ่เพื/อเก็บข้อมูลทัEงหมด และควรเป็ นเครื/ อง
ที/มีสมรรถนะสู ง ชนิดของเซิ ร์ฟเวอร์ มีได้ 2 รู ปแบบคือ

          (1) Dedicated server หมาย ถึง เซิ ร์ฟเวอร์ ที/ทาหน้าที/บริ การอย่างเดียวเท่านัEน ไม่สามารถนําไปใช้ใน
                                                         ํ
งานทัวๆ ไปได้ ข้อดีคือทําให้ระบบมีเสถียรภาพและมีประสิ ทธิภาพสู ง ข้อเสี ยคือไม่สามารถใช้งานเครื/ อง
        /
เซิ ร์ฟเวอร์ ซึ/ งมีราคาค่อนข้างสู งได้

        (2) Non-dedicated server หมาย ถึง เซิ ร์ฟเวอร์ ที/สามารถใช้งานได้ตามปกติเหมือนเครื/ องลูกข่าย ซึ/ งมี
ข้อเสี ยที/สาคัญคือประสิ ทธิ ภาพของเครื อข่ายจะลดลง ทําให้วธีนE ีไม่เป็ นที/นิยมในการใช้งาน
            ํ                                                 ิ

เครือข่ ายแบบ Client/Server

                                                 เป็ นรู ปแบบหนึ/งของเครื อข่ายแบบ server-based โดยจะมี
                                           คอมพิวเตอร์ หลักเครื/ องหนึ/งเป็ น เซิ ร์ฟเวอร์ ซึ/ งจะไม่ได้ทาหน้าที/
                                                                                                         ํ
                                           ประมวลผลทัEงหมดให้เครื/ องลูกข่าย หรื อไคลเอนต์ (client)
                                           เซิ ร์ฟเวอร์ ทาหน้าที/เสมือนเป็ นที/เก็บข้อมูลระยะไกล (remote disk)
                                                          ํ
                                                                            ั
                                           และประมวลผลบางอย่างให้กบไคลเอนต์เท่านัEน เช่น ประมวลผล
                                           คําสั/งในการดึงข้อมูลจากเซิ ร์ฟเวอร์ ฐานข้อมูล (database server)
                                           เป็ นต้น
ประสิ ทธิภาพ
                                                                                  ั
          เครื อข่ายแบบ Client/Server นัEน เซิ ร์ฟเวอร์ จะต้องทํางานบริ การให้กบเครื/ องไคลเอนต์ที/ร้องขอเข้า
มา ซึ/ งนับว่าเป็ นงานประมวลผลที/หนักพอสมควร ดังนัEนเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ ก็ควรจะเป็ นเครื/ องคอมพิวเตอร์ ที/
ทรงพลัง เพียงพอในการรองรับงานหนัก ๆ แบบนีEในเครื อข่าย
บริการ
                                    ่
          อาจจะมีเซิ ร์ฟเวอร์ อยูหลายตัวในการทํางานเฉพาะด้าน เช่น ไฟล์เซอร์ เวอร์ ทาหน้าที/ในการจัดเก็บ
                                                                                            ํ
และบริ หารไฟล์ทE งหมดที/อยูในเครื อข่าย พริ นต์เซิ ร์ฟเวอร์ ทําหน้าที/เกี/ยวกับการควบคุมการพิมพ์ทE งหมดใน
                       ั          ่                                                                      ั
เครื อข่าย ดาต้าเบสเซอร์ เวอร์ จดเก็บและบริ หารฐานข้อมูลขององค์กร เป็ นต้น
                                      ั
โปรแกรม
          องค์กรที/ใช้เครื อข่ายแบบนีE มักมีการเก็บโปรแกรมไว้บนเซิ ร์ฟเวอร์ เพื/อให้ผใช้สามารถเข้าไป
                                                                                         ู้
เรี ยกใช้ได้ทนที เช่น เซิ ร์ฟเวอร์ เก็บโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ไว้ เมื/อผูใช้ตองการใช้โปรแกรมนีEก็สามารถ
                ั                                                             ้ ้
รันโปรแกรมนีEจากเซิ ร์ฟเวอร์ ได้
ขนาด
          เครื อข่ายแบบ Client/Server สามารถรองรับเครื อข่ายตัEงแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ แต่ที/
เหมาะสมจะเป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่
การบริ หารระบบ
          จะต้องมีเจ้าหน้าที/ในการบริ หารระบบโดยเฉพาะ ซึ/ งทําหน้าที/จดการเกี/ยวกับงานพืEนฐานประจําวัน
                                                                            ั
เช่น การสํารองข้อมูล การตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัย และการดูแลระบบให้ทางานได้อย่าง            ํ
สมํ/าเสมอ
ระบบรักษาความปลอดภัย
          เครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ ส่วนใหญ่จะเปิ ดให้ทางานตลอดเวลา และต้องมีการป้ องกันไม่ให้ใครเข้ามา
                                                  ํ
ปรับเปลี/ยนระบบภายในเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ เพื/อเป็ นการป้ องกันรักษาข้อมูล บริ ษทส่ วนใหญ่จึงมักจะเก็บ
                                                                                    ั
เซิ ร์ฟเวอร์ ไว้ในห้องที/แยกต่างหากและมีการปิ ด ล็อคไว้เป็ นอย่างดี
การขยายระบบ
                                                ่
          เครื อข่ายแบบ Client/Server ยืดหยุนต่อการเพิ/มเติมขยายระบบ การเพิ/มเครื/ องไคลเอนต์ในเครื อข่าย
ไม่จาเป็ นต้องใช้เครื/ องสเป็ กสู ง ราคาแพง โดยเครื/ องที/มีสมรรถนะสู งนัEนเอาไว้ใช้เป็ นเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์
      ํ
การดูแลซ่ อมแซม
          ปั ญหาที/เกิดขึEนในเครื อข่ายแบบนีEหาพบได้ไม่ยาก เช่น ถ้าเครื/ องไคลเอนต์หลาย ๆ เครื/ องทํางาน
ไม่ได้ ปั ญหาก็มกจะมาจากที/เครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ และถ้าเครื/ องไคลเอนต์เครื/ องใดมีปัญหาผูบริ หารระบบก็เพียง
                    ั                                                                           ้
แก้ไขที/เครื/ อง นีE ซึ/ งจะไม่กระทบต่อเครื/ องไคลเอนต์เครื/ องอื/น

More Related Content

Viewers also liked

แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนMayuree Janpakwaen
 

Viewers also liked (19)

Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 
Lernning 12
Lernning 12Lernning 12
Lernning 12
 
Lernning 11
Lernning 11Lernning 11
Lernning 11
 
Lernning 15
Lernning 15Lernning 15
Lernning 15
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Lernning 10.2
Lernning 10.2Lernning 10.2
Lernning 10.2
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Lernning 14
Lernning 14Lernning 14
Lernning 14
 
Lernning 13
Lernning 13Lernning 13
Lernning 13
 
Lernning 10.1
Lernning 10.1Lernning 10.1
Lernning 10.1
 
Prostes
ProstesProstes
Prostes
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 

Similar to Lernning 07

Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายpakaporn22
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายpakaporn22
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมThanatporn Boonta
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายThanatporn Boonta
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์kruumawan
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์Jitpisute Sunta
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 

Similar to Lernning 07 (20)

Mission4.1
Mission4.1Mission4.1
Mission4.1
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Mission4.1
Mission4.1Mission4.1
Mission4.1
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
 
Chapter5.1
Chapter5.1Chapter5.1
Chapter5.1
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
4.1
4.14.1
4.1
 
4.1
4.14.1
4.1
 

More from Mayuree Janpakwaen (14)

Job 15
Job 15Job 15
Job 15
 
Job 14
Job 14Job 14
Job 14
 
Job 13
Job 13Job 13
Job 13
 
Job 08
Job 08Job 08
Job 08
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
Job 07
Job 07Job 07
Job 07
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 4
Job 4Job 4
Job 4
 
Job 03
Job 03Job 03
Job 03
 
Job 12
Job 12Job 12
Job 12
 
Job 11
Job 11Job 11
Job 11
 
Job10.2
Job10.2Job10.2
Job10.2
 
Job10.1
Job10.1Job10.1
Job10.1
 

Lernning 07

  • 1. ใบความรู้ ที 7 เรือง ระบบเครือข่ ายท้ องถิน(LAN) ระบบเครือข่ ายท้ องถิน (LAN) ระบบเครื อข่ายแบบ LAN หรื อระบบเครื อข่ายเฉพาะบริ เวณ โดยปกติแล้วจะเป็ นระบบเครื อข่าย ส่ วนตัว (Private Network) นันคือองค์กรที/ตองการใช้งานเครื อข่าย ทําการสร้าง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที/ / ้ เชื/อมต่อกันเป็ นระบบเครื อข่ายในระยะใกล้ ๆ ซึ/ งจะช่วยให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรและธุ รกิจต่างๆ มากมาย เช่น - สามารถแบ่งเบาการประมวลผลไปยังเครื/ องต่างๆ เฉลี/ยกันไป - สามารถแบ่งกันใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื/ องพิมพ์ ซี ดีรอมไดร์ ฟ เครื/ องคอมพิวเตอร์ ที/มี ประสิ ทธิ ภาพสู ง เป็ นต้น - สามารถแบ่งกันใช้งานซอฟต์แวร์ และข้อมูลหรื อสารสนเทศต่างๆ รวมทัEงทําให้สามารถจัดเก็บข้อมูล เหล่านัEนไว้เพียงที/เดียว - สามารถวางแผนหรื อทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ แม้จะไม่ได้อยูใกล้กนก็ตาม ่ ั - สามารถใช้ในการติดต่อกัน เช่น ส่ งจดหมายทางอิเลคทรอนิคส์ หรื อการส่ งเสี ยงหรื อภาพทาง อิเลคทรอนิคส์ เป็ นต้น - ช่วยลดค่าใช้จ่ายโดยรวมขององค์กร ชนิดการเชื อมต่ อของเครื อข่ าย LAN การเชื/อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายเฉพาะบริ เวณ (LAN) นัEน จุดประสงค์หลักอย่าง หนึ/งก็คือการแบ่งกันใช้ทรัพยากรที/มีอยู่ โดยทรัพยากรเหล่านัEนอาจเป็ นหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ่ ั ความเร็ วสู ง ฮาร์ ดดิสก์ เครื/ องพิมพ์ หรื อแม้แต่อุปกรณ์สื/อสารต่างๆ ซึ/ งอุปกรณ์เหล่านีEจะเชื/อมอยูกบ คอมพิวเตอร์ เครื/ องใดเครื/ องหนึ/ง วิธีการเชื/อมต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื/อจัดสรรการใช้งานทรัพยากรในระบบเครื อข่ายสามารถจําแนกได้ เป็ น 3 รู ปแบบ คือ 1. เครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer 2. เครื อข่ายแบบ Server-based 3. เครื อข่ายแบบ Client/Server
  • 2. ตาราง เปรี ยบเทียบการเชื/อมต่อแบบ Server based เทียบกับ Peer-to-Peer เครือข่ าย ข้ อดี ข้ อเสีย - เสี ยค่าใช้จ่ายสูงสําหรับเครื/ อง Server โดยเฉพาะอย่าง - มีประสิ ทธิภาพสูงกว่าโดยเฉพาะอย่างยิง / ยิงหากเป็ นแบบ Dedicated Server ซึ/งไม่สามารถ / ถ้าเป็ นแบบ Dedicated Server นําไปใช้งานอย่างอื/นได้ Server- - การดูแลระบบสามารถทําได้ง่ายกว่า ่ ั - ไม่สามารถใช้งานทรัพยากรที/เชื/อมอยูกบ Workstation Based -เร็ ว ได้ ั -ใช้กบเครื อข่ายขนาดใหญ่ได้ - ถ้า Server เสี ยระบบจะหยุดหมด -ระบบรักษาความปลอดภัยดี -ติดตัEงยากกว่า ่ ั - สามารถใช้งานทรัพยากรซึ/งเชื/อมอยูกบ - การดูแลระบบทําได้ยาก เนื/องจากทรัพยากรกระจัด เครื/ องใดๆ ในเครื อข่าย กระจายกันไปในเครื/ องต่างๆ - ประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของ Server - มีประสิ ทธิภาพที/ต/ากว่าแบบ Server based มาก ํ Peer-to- - สามารถกระจายโปรแกรมประยุกต์ไป - เครื/ องทุกเครื/ องต้องมีหน่วยความจําและประสิทธิภาพ Peer ไว้ยงเครื/ องต่างๆ เพื/อลดการจราจรใน สูงกว่าเครื/ อง workstaion ในแบบ Server-based ั เครื อข่ายได้ -ความเร็ วไม่สูงเท่าแบบ Server-based -ติดตัEงง่าย ใช้งานง่าย -ระบบความปลอดภัยไม่ค่อยดี เครือข่ ายแบบ Peer-to-Peer เครื อข่ายแบบนีEจะเก็บไฟล์และการเชื/อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ที/เครื/ องคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์ ส่วนกลางที/ทาหน้าที/นE ี เรี ยกได้วาต่างคนต่าง ้ ํ ่ เก็บ ต่างคนต่างใช้ แต่ผใช้ในเครื อข่ายสามารถเรี ยกใช้ไฟล์จากคอมพิวเตอร์ เครื/ องอื/นได้ ถ้าคอมพิวเตอร์ ู้ เครื/ องนัEนทําการแชร์ ไฟล์เหล่านัEนไว้ เครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นีEเหมาะสําหรับองค์กรขนาดเล็กที/มี ุ่ คอมพิวเตอร์ เชื/ อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื/ อง เนื/องจากติดตัEงง่าย ราคาไม่แพง และการดูแลไม่ยงยากนัก แต่ถา ้ คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายมีมากกว่า 10 เครื/ องขึEนไปควรจะใช้เครื อข่ายแบบอื/นดีกว่า
  • 3. ทรัพยากร ทรัพยากรของเครื อข่าย เช่น เครื/ องพิมพ์ หรื อแฟกซ์โมเด็ม ปกติจะเชื/อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เครื/ อง ใดเครื/ องหนึ/งในเครื อข่าย สําหรับเครื/ องที/ไม่มีทรัพยากรเหล่านีEก็สามารถเข้าใช้ทรัพยากรเหล่านีEผาน ่ เครื อข่ายได้ โปรแกรมใช้ งาน โดยปกติโปรแกรมใช้งานทัวไป เช่น เวิร์ดโปรเซสเซอร์ หรื อสเปรดชี ต ที/ใช้ในเครื อข่ายแบบ Peer- / to-Peer จะติดตัEงในคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละเครื/ องเลย ้ สมรรถนะ เมื/อคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายถูกร้องขอข้อมูล หรื อเรี ยกใช้ทรัพยากร สมรรถนะในการทํางานของ คอมพิวเตอร์ ก็จะลดตํ/าลง เช่น ถ้ามีเครื/ องพิมพ์เชื/อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เครื/ องใดเครื/ องนัEนก็จะทํางานช้า ลง ทันทีที/มีผใช้คนอื/นในเครื อข่ายส่ งเอกสารมาพิมพ์ที/เครื/ องพิมพ์ตวนีE ู้ ั การติดตั5ง เมื/อติดตัEงและเซตอัปฮาร์ ดแวร์ ของเครื อข่ายเสร็ จแล้ว ต่อไปก็ตองติดตัEงระบบปฏิบติการเครื อข่าย ้ ั และโปรแกรมใช้งานลงเครื/ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื/ องด้วย หลังจากนัEนก็ตองเซตอัปการเชื/อมต่อคอมพิวเตอร์ ้ แต่ละเครื/ องให้มองเห็นเครื อข่ายและทรัพยากรในเครื อข่าย การบริ หารระบบ การบริ หารเครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นีEไม่ซบซ้อนมากนัก ดังนัEนจึงไม่จาเป็ นจะต้องมีการตัEง ั ํ ตําแหน่งผูบริ หารเครื อข่ายโดยเฉพาะ เพียงแต่ให้ผใช้ในเครื อข่ายศึกษาวิธีการบริ หารระบบในเครื/ องของ ้ ู้ ่ ตนเองก็ เพียงพอแล้ว เรี ยกได้วาต่างคนต่างช่วยกันดูแล ระบบรักษาความปลอดภัย ลักษณะการเก็บไฟล์ในเครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นีEจะใช้หลักการต่างคนต่างเก็บในเครื/ อง คอมพิวเตอร์ ของตนเอง จุดนีEเองทําให้ผใช้คนอื/นสามารถเข้าไปดูไฟล์ขอมูลในเครื/ องต่าง ๆ ในเครื อข่ายได้ ู้ ้ ไม่ยากนัก ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในเครื อข่ายแบบนีEจึงค่อนข้างหละหลวมกว่าระบบรักษา ความปลอดภัยที/เก็บไว้ที/เซิ ร์ฟเวอร์ ค่ าใช้ จ่าย ในกรณี ที/เครื/ องที/เชื/อมต่อมีนอยเครื/ องค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าเครื อข่ายรู ปแบบอื/น ๆ ้ คุณสมบัติข5 ันสู ง เครื อข่ายแบบนีEจะเน้นในเรื/ องของการแลกเปลี/ยนข้อมูล และการใช้ทรัพยากรร่ วมกันในเครื อข่าย เท่านัEน คุณสมบัติขE นสู งอื/น ๆ เช่น การควบคุมระยะไกล หรื อระบบรับส่ งอีเมล์ จะไม่มีให้ใช้ในเครื อข่ายนีE ั
  • 4. การขยายระบบ เครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer เหมาะสําหรับการเชื/ อมต่อคอมพิวเตอร์ จานวนน้อยๆ ซึ/ งไม่เหมาะใน ํ การขยายระบบเพิ/มเติม ถ้าองค์กรต้องการขยายระบบเพิ/มเติมควรจะสร้างเป็ นเครื อข่ายแบบอื/น เครือข่ ายแบบ Server-Based ่ ระบบเครื อข่ายแบบนีE จะมีคอมพิวเตอร์ หลักอยูหนึ/งเครื/ อง เรี ยกว่า เซิ ร์ฟเวอร์ (server) หรื อ เครื/ องแม่ ั ข่าย ทําหน้าที/เก็บข้อมูล โปรแกรม และแชร์ ไฟล์หรื อโปรแกรมนัEนให้กบเครื/ องลูกข่าย อีกทัEงยังทําหน้าที/ ประมวลผล และส่ งผลลัพธ์ที/ได้ไปให้เครื/ องลูกข่าย ซึ/ งเป็ นเสมือนเครื/ องให้บริ การเครื/ องคอมพิวเตอร์ อื/นใน เครื อข่ายที/ร้องขอ เข้ามา รวมทัEงเป็ นยังผูจดการดูแลการจราจรในระบบเครื อข่ายทัEงหมด ้ั เครื/ องคอมพิวเตอร์ อื/นๆ ในเครื อข่าย จะสามารถเข้าใช้งานไฟล์ต่าง ๆ ในเซิ ร์ฟเวอร์ ได้ แต่ไม่สามารถเข้า ใช้งานไฟล์ในเครื/ องอื/นๆ ได้ นันคือการติดต่อกันระหว่างเครื/ องต่างๆ จะต้องผ่านเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ เครื/ อง / ผูใช้จะทําการประมวลผลในงานของตนเท่านัEน ไม่มีหน้าที/ในการให้บริ การกับเครื/ องอื/นๆ ในระบบ ้ เซิ ร์ฟเวอร์ จะต้องมีหน่วยความจําสํารอง (harddisk) ขนาดใหญ่เพื/อเก็บข้อมูลทัEงหมด และควรเป็ นเครื/ อง ที/มีสมรรถนะสู ง ชนิดของเซิ ร์ฟเวอร์ มีได้ 2 รู ปแบบคือ (1) Dedicated server หมาย ถึง เซิ ร์ฟเวอร์ ที/ทาหน้าที/บริ การอย่างเดียวเท่านัEน ไม่สามารถนําไปใช้ใน ํ งานทัวๆ ไปได้ ข้อดีคือทําให้ระบบมีเสถียรภาพและมีประสิ ทธิภาพสู ง ข้อเสี ยคือไม่สามารถใช้งานเครื/ อง / เซิ ร์ฟเวอร์ ซึ/ งมีราคาค่อนข้างสู งได้ (2) Non-dedicated server หมาย ถึง เซิ ร์ฟเวอร์ ที/สามารถใช้งานได้ตามปกติเหมือนเครื/ องลูกข่าย ซึ/ งมี ข้อเสี ยที/สาคัญคือประสิ ทธิ ภาพของเครื อข่ายจะลดลง ทําให้วธีนE ีไม่เป็ นที/นิยมในการใช้งาน ํ ิ เครือข่ ายแบบ Client/Server เป็ นรู ปแบบหนึ/งของเครื อข่ายแบบ server-based โดยจะมี คอมพิวเตอร์ หลักเครื/ องหนึ/งเป็ น เซิ ร์ฟเวอร์ ซึ/ งจะไม่ได้ทาหน้าที/ ํ ประมวลผลทัEงหมดให้เครื/ องลูกข่าย หรื อไคลเอนต์ (client) เซิ ร์ฟเวอร์ ทาหน้าที/เสมือนเป็ นที/เก็บข้อมูลระยะไกล (remote disk) ํ ั และประมวลผลบางอย่างให้กบไคลเอนต์เท่านัEน เช่น ประมวลผล คําสั/งในการดึงข้อมูลจากเซิ ร์ฟเวอร์ ฐานข้อมูล (database server) เป็ นต้น
  • 5. ประสิ ทธิภาพ ั เครื อข่ายแบบ Client/Server นัEน เซิ ร์ฟเวอร์ จะต้องทํางานบริ การให้กบเครื/ องไคลเอนต์ที/ร้องขอเข้า มา ซึ/ งนับว่าเป็ นงานประมวลผลที/หนักพอสมควร ดังนัEนเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ ก็ควรจะเป็ นเครื/ องคอมพิวเตอร์ ที/ ทรงพลัง เพียงพอในการรองรับงานหนัก ๆ แบบนีEในเครื อข่าย บริการ ่ อาจจะมีเซิ ร์ฟเวอร์ อยูหลายตัวในการทํางานเฉพาะด้าน เช่น ไฟล์เซอร์ เวอร์ ทาหน้าที/ในการจัดเก็บ ํ และบริ หารไฟล์ทE งหมดที/อยูในเครื อข่าย พริ นต์เซิ ร์ฟเวอร์ ทําหน้าที/เกี/ยวกับการควบคุมการพิมพ์ทE งหมดใน ั ่ ั เครื อข่าย ดาต้าเบสเซอร์ เวอร์ จดเก็บและบริ หารฐานข้อมูลขององค์กร เป็ นต้น ั โปรแกรม องค์กรที/ใช้เครื อข่ายแบบนีE มักมีการเก็บโปรแกรมไว้บนเซิ ร์ฟเวอร์ เพื/อให้ผใช้สามารถเข้าไป ู้ เรี ยกใช้ได้ทนที เช่น เซิ ร์ฟเวอร์ เก็บโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ไว้ เมื/อผูใช้ตองการใช้โปรแกรมนีEก็สามารถ ั ้ ้ รันโปรแกรมนีEจากเซิ ร์ฟเวอร์ ได้ ขนาด เครื อข่ายแบบ Client/Server สามารถรองรับเครื อข่ายตัEงแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ แต่ที/ เหมาะสมจะเป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่ การบริ หารระบบ จะต้องมีเจ้าหน้าที/ในการบริ หารระบบโดยเฉพาะ ซึ/ งทําหน้าที/จดการเกี/ยวกับงานพืEนฐานประจําวัน ั เช่น การสํารองข้อมูล การตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัย และการดูแลระบบให้ทางานได้อย่าง ํ สมํ/าเสมอ ระบบรักษาความปลอดภัย เครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ ส่วนใหญ่จะเปิ ดให้ทางานตลอดเวลา และต้องมีการป้ องกันไม่ให้ใครเข้ามา ํ ปรับเปลี/ยนระบบภายในเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ เพื/อเป็ นการป้ องกันรักษาข้อมูล บริ ษทส่ วนใหญ่จึงมักจะเก็บ ั เซิ ร์ฟเวอร์ ไว้ในห้องที/แยกต่างหากและมีการปิ ด ล็อคไว้เป็ นอย่างดี การขยายระบบ ่ เครื อข่ายแบบ Client/Server ยืดหยุนต่อการเพิ/มเติมขยายระบบ การเพิ/มเครื/ องไคลเอนต์ในเครื อข่าย ไม่จาเป็ นต้องใช้เครื/ องสเป็ กสู ง ราคาแพง โดยเครื/ องที/มีสมรรถนะสู งนัEนเอาไว้ใช้เป็ นเครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ ํ การดูแลซ่ อมแซม ปั ญหาที/เกิดขึEนในเครื อข่ายแบบนีEหาพบได้ไม่ยาก เช่น ถ้าเครื/ องไคลเอนต์หลาย ๆ เครื/ องทํางาน ไม่ได้ ปั ญหาก็มกจะมาจากที/เครื/ องเซิ ร์ฟเวอร์ และถ้าเครื/ องไคลเอนต์เครื/ องใดมีปัญหาผูบริ หารระบบก็เพียง ั ้ แก้ไขที/เครื/ อง นีE ซึ/ งจะไม่กระทบต่อเครื/ องไคลเอนต์เครื/ องอื/น