SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ใบความรู้ ที 14
                                           เรือง การแทรกรู ปภาพ




                          รู ้จกกับชนิดของภาพกราฟิ กบนเว็บ
                               ั                                                   ตัวอย่างภาพ

ไฟล์ สกุล JPG (Joint Photographer's Experts Group)

           เป็ นไฟล์หนึงทีนิยมใช้บน Internet มีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก
                                                                       ํ
(สนับสนุนถึง 24 bit color) ไฟล์ชนิดนี:
         ั
มักจะใช้กบภาพถ่ายทีนํามาสแกน และต้องการนําไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ความ
คมชัดและความละเอียดของภาพสูง

    •    จุดเด่น
         สนับสนุนสี ได้ถึง 24 bit
         สามารถกําหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามทีต้องการ
         มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Progressive
         มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจํานวนมาก
                     ั
         เรี ยกดูได้กบ Graphics Browser ทุกตัว
         ตั:งค่าการบีบไฟล์ได้ (compress files)
    •    จุดด้อย
         ทําให้พ:ืนของรู ปโปร่ งใสไม่ได้

ไฟล์ สกุล GIF (Graphics Interlace File)

                                                                  ่
      พัฒนาโดยบริ ษท CompuServe จัดเป็ นไฟล์ภาพสําหรับการเผยแพร่ ผานอินเทอร์เน็ต
                   ั
ตั:งแต่ยคแรก
        ุ

    •    จุดเด่น สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า คอมพิวเตอร์
                       ่
         ทุกระบบ ไม่วาจะใช้ Windows, Unix ก็สามารถเรี ยกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี:ได้
         - มีขนาดไฟล์ตา จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ ทําให้สามารถส่งไฟล์ภาพได้
                         ํ
         รวดเร็ ว
         - สามารถทําพื:นของภาพให้เป็ นพื:นแบบโปร่ งใสได้ (Transparent)
         - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace
- มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจํานวนมาก
                       ั
         - เรี ยกดูได้กบ Graphics Browser ทุกตัว
         - ความสามารถด้านการนําเสนอแบบภาพเคลือนไหว (GIF Animation)
    •    จุดด้อย ไฟล์ชนิดนี:ก็มีจุดด้อยในเรื องของการแสดงสี ซึงแสดงได้เพียง 256 สี ทํา
         ให้ การนําเสนอภาพถ่าย หรื อภาพทีต้องการความคมชัดหรื อภาพสดใส จะต้อง
         อาศัยฟอร์แมตอืน

ไฟล์ สกุล PNG (Portable Network Graphics)

     ไฟล์สกุลล่าสุดทีนําจุดเด่นของไฟล์ GIF และ JPEG มาพัฒนาร่ วมกัน ทําให้ภาพใน
สกุลนี:แสดงผลสี ได้มากกว่า 256 สี และยังสามารถทําพื:นภาพให้โปร่ งใสได้ จึงเป็ นไฟล์
ภาพทีได้รับความนิยมมากในปั จจุบนด้วยอีกสกุลหนึง คุณสมบัติของภาพคือ
                                  ั

    1. สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า ระบบคอมพิวเตอร์ทุก
                 ่
       ระบบ ไม่วาจะใช้
    2. Windows, Unix ก็สามารถเรี ยกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี:ได้
    3. ขนาดไฟล์เล็ก ด้วยเทคนิคการบีบอัดคงสัญญาณ LZW
    4. สามารถทําภาพโปร่ งใสจากสี พ:น 256 ระดับ
                                   ื
    5. แสดงภาพแบบสอดประสานเช่นเดียวกับ GIF โดยมีความคมชัดทีดีกว่า
    6. มีคุณสมบัติ Gamma ทําให้ภาพสามารถปรับตัวเองได้ตามจอภาพ และปรับระดับ
       ความสว่างทีแท้จริ งตามทีควรจะเป็ น

    •    จุดเด่น
         สนับสนุนสี ได้ถึงตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรื อ 64 bit)
         สามารถกําหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามทีต้องการ
         มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด (Interlace)
         สามารถทําพื:นโปร่ งใสได้
    •    จุดด้อย
         หากกําหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่
         ขนาดของไฟล์จะมีขนาดตํา
         ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่ นเก่า สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4
                                                 ่ ั
         ความละเอียดของภาพและจํานวนสี ข: ึนอยูกบ Video Card
         โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีนอย     ้
เป็ นการนําเอารูปภาพมาแสดงบนเว็บเพจ โดยใช้ คาสัง IMG (Image) กําหนดในคําสัง <BODY> ก่อนทีจะเรี ยกรูปภาพ
                                            ํ
ควรนําไฟล์รูปภาพมาเก็บไว้ ใน โฟลเดอร์ เดียวกับข้ อมูล เพือความสะดวกในการเรี ยกรูปภาพ ไม่ต้องระบุโฟลเดอร์ ของ
รูปภาพว่าอยูทีไหน หากระบุผิดทําให้ รูปภาพไม่ขึ .นบนเว็บเพจ หรื อรูปภาพเป็ นรูป เครื องหมายกากบาท (X )
           ่

           รู ปแบบ

                   <IMG SRC = "DRIVE:PATH ชือไฟล์รูปภาพ.สกุล">

           เช่ น

                   <IMG SRC = "ANII15.GIF">

           ถ้ารู ปภาพอยูในโฟลเดอร์เดียวกับไฟล์ HTML ไม่ตองระบุไดรฟ์ และโฟลเดอร์ทีรู ปภาพอยู่ ให้ระบุชือไฟล์
                        ่                               ้
รู ปภาพกับสกุลเท่านั:น

                            ตัวอย่ าง การแทรกภาพชือ girl1.gif ซึงอยูในโฟล์เดอร์ เดียวกัน
                                                                   ่



                          <html>
                          <body>
                                                     ่
                          <center><h3>การแทรกภาพทีอยูในโฟล์เดอร์เดียวกัน </h3>
                          <img src= "girl1.gif">
                          </center>
                          </body>
                          </html>
ผลจากตัวอย่ าง

                        การแทรกภาพทีอยู่ในโฟล์ เดอร์ เดียวกัน




                        ตัวอย่ าง การแทรกภาพชือ girl2.gif ซึงอยูในโฟล์เดอร์ ยอยชือ pic6
                                                               ่             ่


                        <html>
                        <body>
                        <center><h3>การแทรกภาพทีอยูในโฟล์เดอร์ </h3>
                                                  ่
                        <img src= "pic6/girl1.gif">
                        </center>
                        </body>
                        </html>

                                                  ผลจากตัวอย่ าง

                                         การแทรกภาพทีอยู่ในโฟล์ เดอร์




                  จากตัวอย่างจะเห็นได้ วาถ้ ารูปภาพอยูในโฟล์เดอร์ จะต้ องระบุชือโฟล์เดอร์ ด้ วย เช่น รูปภาพอยูในโฟล์
                                        ่             ่                                                      ่
เดอร์ pic6 เราจึงแทรกภาพด้ วยคําสัง
<img src= "pic6/girl1.gif">
เป็ น การกําหนดขนาดของรู ปภาพ การจัดตําแหน่งรู ปภาพกับข้อความและการแสดงข้อความ
คําอธิบายของรู ปภาพหากรู ปภาพ นั:นไม่ชดเจน
                                         ั
                     ซึงหัวข้อที เราจะควรทราบเกียวกับการตกแต่งภาพ มีดงนี:
                                                                     ั
          1. การกําหนดขนาดของรู ปภาพ

         2. การจัดตําแหน่งของข้อความกับรู ปภาพ

         3. การกําหนดเส้นขอบรู ปภาพ

         4. การปรับระยะห่างรู ปภาพกับข้อความ

1. การกําหนดขนาดของรู ปภาพ

          เป็ นการกําหนดความกว้าง (WIDTH) และความสูง (HEIGHT) ของรู ปภาพในคําสัง <IMG> การกําหนดขนาด
                                      ํ
ด้านใดด้านหนึงของรู ปภาพ ด้านทีไม่ได้กาหนดจะเพิมขึ:นหรื อลดลงเป็ นสัดส่วนของด้านทีกําหนด มีหน่วยเป็ นเปอร์เช็นต์
หรื อพิกเซลก็ได้ หากกําหนดรู ปภาพมีขนาดใหญ่เกินไป ทําให้รูปภาพมีความระเอียดตําและดูไม่ชดเจนได้
                                                                                       ั

        รู ปแบบ

                 <IMG SRC = "ชือรู ปภาพ" WIDTH = "ความกว้าง" HEIGHT = " ความสูง">

         เช่ น

            <IMG SRC = "ANII15.GIF" WIDTH = "35%" HEIGHT = "180%"> กรณี ระบุเป็ นเปอร์เซนต์
                  <IMG SRC = "ANII15.GIF" WIDTH = "350" HEIGHT = "400">      กรณี ระบุเป็ นพิกเซล
ํ
                            การแทรกภาพโดยไม่กาหนด Width และ Height จะได้ภาพเท่ากับต้นฉบับ




                                    การแทรกภาพโดยกําหนด Width และ Height

  2. การจัดตําแหน่ งของข้ อความกับรู ปภาพ

          เมือกําหนดขนาดของรู ปภาพแล้วต้องงการวาง ตําแหน่งรู ปภาพกับข้อความว่าต้องการให้รูปภาพอยู่ ณ ตําแหน่ง
ไหนของข้อความ หากไม่กาหนดขอบด้านล่าง ของรู ปภาพกับข้อความว่าต้องการให้รูปภาพอยู่ ณ ตําแหน่งไหนของ
                       ํ
                  ํ                             ่
ข้อความ หากไม่กาหนดขอบด้านล่างของรู ปภาพจะอยูระดับเดียวกับบรรทัดแรกของข้อความ ในการกําหนดตําแหน่งของ
                                   ํ
รู ปภาพใช้คาสัง ALIGN ปกติทีไม่ได้กาหนดจะเป็ น BOTTOM
           ํ

         รู ปแบบ

                 <IMG ALIGN = " ตําแหน่งทีต้องการ">

         เช่ น

                 <IMG ALIGN = " TOP">
ตารางแสดงตําแหน่ งของรู ปภาพ

                 คําสัง                                       ความหมาย
               BOTTOM                                       ่
                                     ขอบด้านล่างรู ปภาพอยูบรรทัดแรก
                 TOP                                      ่
                                     ขอบด้านบนรู ปภาพอยูบรรทัดแรก
                RIGHT                          ่ ้
                                     รู ปภาพอยูดานซ้ายมือของข้อความ
                 LEFT                           ่ ้
                                     รู ปภาพอยูดานขวามือของข้อความ
               MIDDLE                รู ปภาพอยูกึงกลางของข้อความ ณ ตําแหน่ง <IMG>
                                                 ่

ตัวอย่ าง

                  ํ
            กรณี กาหนด ALIGN เป็ น TOP                             ผลลัพธ◌์


   <html>
   <body>
   <img src= "601.gif" align="top">                                   ภาพ gif เป็ นภาพนิยม
   ภาพ gif เป็ นภาพนิยมนํามาใช้ในการแสดง            นํามาใช้ในการแสดงบนเว็บเพจ เพราะเป็ น
   บนเว็บเพจ เพราะเป็ นภาพทีมีความละเอียด           ภาพทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาดเล็ก และ
   256 สี มีขนาดเล็ก และ เป็ นภาพทีสามารถ           เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหว
   แสดงผลเคลือนไหวต่อเนืองกันได้                    ต่อเนืองกันได้
   </body>
   </html>




                  ํ
            กรณี กาหนด ALIGN เป็ น LEFT                            ผลลัพธ◌์
   <html>                                                             ภาพ gif เป็ นภาพนิยม
   <body>                                                            นํามาใช้ในการแสดง
   <img src= "601.gif" align="left">
                                                                     บนเว็บเพจ เพราะเป็ น
   ภาพ gif เป็ นภาพนิ ยมนํามาใช้ในการแสดงบนเว็บ
   เพจ เพราะเป็ นภาพทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาด
                                                                     ภาพทีมีความละเอียด
   เล็ก และ เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหว                          256 สี มีขนาดเล็ก และ
   ต่อเนื องกันได้                                  เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหว
   </body>                                          ต่อเนืองกันได้
   </html>
3. การกําหนดเส้นขอบรู ปภาพ

                                                                                   ํ
      รู ปภาพทีแสดงบนเบราเซอร์จะไม่มีเส้นขอบ ล้อมรู ปภาพ หากต้องการให้มีเส้นขอบให้กาหนดด้วยคําสัง
BORDER มีหน่วยเป็ นพิกเซล

        รู ปแบบ

                 <IMG BORDER ="ขนาดของเส้นขอบ">

        เช่ น

                 <IMG BORDER = "2">

     ตัวอย่ าง

                                        คําสัง                       ผลลัพธ์
                      <html>
                      <body>
                      <img src="601.gif" border=3>
                      </body>
                      </html>




 4. การปรับระยะห่างรู ปภาพกับข้อความ

       การกําหนดระยะห่างของรู ปภาพกับข้อความในเว็บ เพจ สามารถปรับได้ท: งแนวตั:งและแนวนอน โดยการใช้คาสัง
                                                                       ั                           ํ
VSPACE กําหนดระยะห่างแนวตั:งด้านบน ด้านล่างของรู ปภาพ และคําสัง HSPACE กําหนดระยะห่างแนวนอนด้านซ้าย
ด้ายขวาของรู ปภาพ มีหน่วยเป็ นพิกเซล

       รู ปแบบ

               <IMG VSPACE = "ระยะห่างแนวตั:ง" HSPACE = "ระยะห่างแนวนอน">

       เช่ น
<IMG VSPACE = "10" HSPACE = "15"> เป็ นการกําหนดให้ขอความอยูห่างจากรู ปภาพในแนวนอน
                                                                           ้ ่
(ด้านซ้าย - ขวา) 15 พิกเซล และอยูห่างจากภาพแนวตั:ง (ด้านบน - ล่าง) 10 พิกเซล
                                 ่

       ตัวอย่ าง

                         คําสัง                                                             ผลลัพธ์
  <html>                                                                                  ภาพ gif เป็ นภาพนิยมนํามาใช้ใน
  <body>                                                                                  การแสดงบนเว็บเพจ เพราะเป็ นภาพ
  <img src= "601.gif" align="left" hspace="15"                                            ทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาดเล็ก
  vspace="10" >                                                                           และ เป็ นภาพทีสามารถแสดงผล
  ภาพ gif เป็ นภาพนิยมนํามาใช้ในการแสดงบนเว็บเพจ                                          เคลือนไหวต่อเนืองกันได้
  เพราะเป็ นภาพทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาดเล็ก และ
  เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหวต่อเนืองกันได้
  </body>
  </html>

                         ข้อความจะอยูห่างจากภาพในแนวนอน (ด้านซ้าย - ขวา) 15 พิกเซล
                                     ่



        การกําหนดรู ปภาพในตาราง ใช้คาสัง <IMG SRC> เหมือนกับการแทรกรู ปภาพในข้อความ โดยกําหนดไว้ใน
                                    ํ
<TD>

        ตัวอย่ าง


                           <html>
                            <head>
                                <title>การแทรกรู ปภาพในตาราง</title>
                            </head>
                            <body>
                            <table border=1>
                              <tr> <td> <img src="dog.gif"> </td >
                                    <td> สุ นขเป็ นสัตว์เลี:ยงแสนรู้ สามารถนํามาฝึ กหัดได้ </td>
                                             ั
                              </tr>
                             </table>
                             </body>
                             </html>
ผลลัพธ์ ทได้ จากตัวอย่ าง
                     ี




                                                               สุนขเป็ นสัตว์เลี:ยงแสนรู ้
                                                                  ั
                                                               สามารถนํามาฝึ กหัดได้




         การกําหนดพื:นหลังของเว็บเพ จเป็ นรู ปภาพ ด้วยคําสัง BACKGROUND ถูกกําหนดไว้ในคําสัง BODY หาก
กําหนดรู ปภาพพื:นหลังในตาราง จะกําหนดไว้ ในคําสัง TABLE

         1. การกําหนดพืนหลังทัJงเว็บเพจ
                       J

                ในการกําหนดรู ปภาพเป็ นพื:นหลัง ทั:งเว็บเพจ โดยทีรู ปทีนํามาเป็ นพื:นหลังเป็ นประเภท Gif หรื อ Jpeg
รู ปภาพทีใช้เป็ นพื:นหลังมีขนาดเล็กหรื อใหญ่
บนเบราเซอร์จะนํารู ปภาพมาเรี ยงต่อกันจนเต็มหน้าจอ

         รู ปแบบ

                 <BODY BACKGROUND = " ชือไฟล์รูปภาพ.สกุล">

         เช่ น

                 <BODY BACKGROUND = "g1.jpg">

         ตัวอย่ าง

                  <html>
                  <head>
                     <title>การกําหนดรูปภาพเป็ นพื .นหลัง</title>
                  </head>
                  <body background="g1.jpg">
                       <center> <h4> Hello
                                                                                 Hello HTML
                 HTML</h4></center>
                   </body>
                   </html>
2. การกําหนดพืนหลังในตาราง
              J

           ในตารางการกําหนดพื:นหลังเป็ นรู ปภาพทั:งตาราง จะกําหนดด้วยคําสัง BACKGROUND ในคําสัง TABLE

  รู ปแบบ

      <TABLE BACKGROUND ="ชือไฟล์รูปภาพ.สกุล">

   เช่ น

           <TABLE BACKGROUND = "g1.jpg">

   ตัวอย่ าง



                        <html>
                        <head>
                            <title>การกําหนดรู ปภาพเป็ นพื .นหลังตาราง</title>
                        </head>
                        <body>
                        <table background="g1.html" border=1 >
                             <tr> <td> ลําดับที</td > <td>

                       รายการ   </td></tr>

                             <tr> <td> 1      </td > <td> ซื .ออาหาร
                       </td></tr>
                         </table>
                         </body>
                         </html>




                                    ลําดับ     รายการ

                                    1          ซื .ออาหาร

More Related Content

Viewers also liked

แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนMayuree Janpakwaen
 

Viewers also liked (19)

Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 
Lernning 10.2
Lernning 10.2Lernning 10.2
Lernning 10.2
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 10.1
Lernning 10.1Lernning 10.1
Lernning 10.1
 
Lernning 11
Lernning 11Lernning 11
Lernning 11
 
Lernning 12
Lernning 12Lernning 12
Lernning 12
 
Prostes
ProstesProstes
Prostes
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Lernning 15
Lernning 15Lernning 15
Lernning 15
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Lernning 07
Lernning 07Lernning 07
Lernning 07
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 13
Lernning 13Lernning 13
Lernning 13
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 

Similar to Lernning 14

Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Webidea Petchtharat
 
การใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพการใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพKrunoph
 
การใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพการใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพKrunoph
 
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์Chuleegron Pintira
 
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์Chuleegron Pintira
 
ทบทวน Html 1
ทบทวน Html 1ทบทวน Html 1
ทบทวน Html 1School
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 

Similar to Lernning 14 (20)

คู่มือFlashcs3
คู่มือFlashcs3คู่มือFlashcs3
คู่มือFlashcs3
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
 
Image editing-with-photoscape
Image editing-with-photoscapeImage editing-with-photoscape
Image editing-with-photoscape
 
การใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพการใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพ
 
การใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพการใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพ
 
Joomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-managerJoomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-manager
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
 
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
การสร้างหัวข้อเว็บไซต์
 
ทบทวน Html 1
ทบทวน Html 1ทบทวน Html 1
ทบทวน Html 1
 
Fast web design
Fast web designFast web design
Fast web design
 
Test
TestTest
Test
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 
ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 

More from Mayuree Janpakwaen (14)

Job 15
Job 15Job 15
Job 15
 
Job 14
Job 14Job 14
Job 14
 
Job 13
Job 13Job 13
Job 13
 
Job 08
Job 08Job 08
Job 08
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
Job 07
Job 07Job 07
Job 07
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 4
Job 4Job 4
Job 4
 
Job 03
Job 03Job 03
Job 03
 
Job 12
Job 12Job 12
Job 12
 
Job 11
Job 11Job 11
Job 11
 
Job10.2
Job10.2Job10.2
Job10.2
 
Job10.1
Job10.1Job10.1
Job10.1
 

Lernning 14

  • 1. ใบความรู้ ที 14 เรือง การแทรกรู ปภาพ รู ้จกกับชนิดของภาพกราฟิ กบนเว็บ ั ตัวอย่างภาพ ไฟล์ สกุล JPG (Joint Photographer's Experts Group) เป็ นไฟล์หนึงทีนิยมใช้บน Internet มีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก ํ (สนับสนุนถึง 24 bit color) ไฟล์ชนิดนี: ั มักจะใช้กบภาพถ่ายทีนํามาสแกน และต้องการนําไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ความ คมชัดและความละเอียดของภาพสูง • จุดเด่น สนับสนุนสี ได้ถึง 24 bit สามารถกําหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามทีต้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Progressive มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจํานวนมาก ั เรี ยกดูได้กบ Graphics Browser ทุกตัว ตั:งค่าการบีบไฟล์ได้ (compress files) • จุดด้อย ทําให้พ:ืนของรู ปโปร่ งใสไม่ได้ ไฟล์ สกุล GIF (Graphics Interlace File) ่ พัฒนาโดยบริ ษท CompuServe จัดเป็ นไฟล์ภาพสําหรับการเผยแพร่ ผานอินเทอร์เน็ต ั ตั:งแต่ยคแรก ุ • จุดเด่น สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า คอมพิวเตอร์ ่ ทุกระบบ ไม่วาจะใช้ Windows, Unix ก็สามารถเรี ยกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี:ได้ - มีขนาดไฟล์ตา จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ ทําให้สามารถส่งไฟล์ภาพได้ ํ รวดเร็ ว - สามารถทําพื:นของภาพให้เป็ นพื:นแบบโปร่ งใสได้ (Transparent) - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace
  • 2. - มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจํานวนมาก ั - เรี ยกดูได้กบ Graphics Browser ทุกตัว - ความสามารถด้านการนําเสนอแบบภาพเคลือนไหว (GIF Animation) • จุดด้อย ไฟล์ชนิดนี:ก็มีจุดด้อยในเรื องของการแสดงสี ซึงแสดงได้เพียง 256 สี ทํา ให้ การนําเสนอภาพถ่าย หรื อภาพทีต้องการความคมชัดหรื อภาพสดใส จะต้อง อาศัยฟอร์แมตอืน ไฟล์ สกุล PNG (Portable Network Graphics) ไฟล์สกุลล่าสุดทีนําจุดเด่นของไฟล์ GIF และ JPEG มาพัฒนาร่ วมกัน ทําให้ภาพใน สกุลนี:แสดงผลสี ได้มากกว่า 256 สี และยังสามารถทําพื:นภาพให้โปร่ งใสได้ จึงเป็ นไฟล์ ภาพทีได้รับความนิยมมากในปั จจุบนด้วยอีกสกุลหนึง คุณสมบัติของภาพคือ ั 1. สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า ระบบคอมพิวเตอร์ทุก ่ ระบบ ไม่วาจะใช้ 2. Windows, Unix ก็สามารถเรี ยกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี:ได้ 3. ขนาดไฟล์เล็ก ด้วยเทคนิคการบีบอัดคงสัญญาณ LZW 4. สามารถทําภาพโปร่ งใสจากสี พ:น 256 ระดับ ื 5. แสดงภาพแบบสอดประสานเช่นเดียวกับ GIF โดยมีความคมชัดทีดีกว่า 6. มีคุณสมบัติ Gamma ทําให้ภาพสามารถปรับตัวเองได้ตามจอภาพ และปรับระดับ ความสว่างทีแท้จริ งตามทีควรจะเป็ น • จุดเด่น สนับสนุนสี ได้ถึงตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรื อ 64 bit) สามารถกําหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามทีต้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด (Interlace) สามารถทําพื:นโปร่ งใสได้ • จุดด้อย หากกําหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ ขนาดของไฟล์จะมีขนาดตํา ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่ นเก่า สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4 ่ ั ความละเอียดของภาพและจํานวนสี ข: ึนอยูกบ Video Card โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีนอย ้
  • 3. เป็ นการนําเอารูปภาพมาแสดงบนเว็บเพจ โดยใช้ คาสัง IMG (Image) กําหนดในคําสัง <BODY> ก่อนทีจะเรี ยกรูปภาพ ํ ควรนําไฟล์รูปภาพมาเก็บไว้ ใน โฟลเดอร์ เดียวกับข้ อมูล เพือความสะดวกในการเรี ยกรูปภาพ ไม่ต้องระบุโฟลเดอร์ ของ รูปภาพว่าอยูทีไหน หากระบุผิดทําให้ รูปภาพไม่ขึ .นบนเว็บเพจ หรื อรูปภาพเป็ นรูป เครื องหมายกากบาท (X ) ่ รู ปแบบ <IMG SRC = "DRIVE:PATH ชือไฟล์รูปภาพ.สกุล"> เช่ น <IMG SRC = "ANII15.GIF"> ถ้ารู ปภาพอยูในโฟลเดอร์เดียวกับไฟล์ HTML ไม่ตองระบุไดรฟ์ และโฟลเดอร์ทีรู ปภาพอยู่ ให้ระบุชือไฟล์ ่ ้ รู ปภาพกับสกุลเท่านั:น ตัวอย่ าง การแทรกภาพชือ girl1.gif ซึงอยูในโฟล์เดอร์ เดียวกัน ่ <html> <body> ่ <center><h3>การแทรกภาพทีอยูในโฟล์เดอร์เดียวกัน </h3> <img src= "girl1.gif"> </center> </body> </html>
  • 4. ผลจากตัวอย่ าง การแทรกภาพทีอยู่ในโฟล์ เดอร์ เดียวกัน ตัวอย่ าง การแทรกภาพชือ girl2.gif ซึงอยูในโฟล์เดอร์ ยอยชือ pic6 ่ ่ <html> <body> <center><h3>การแทรกภาพทีอยูในโฟล์เดอร์ </h3> ่ <img src= "pic6/girl1.gif"> </center> </body> </html> ผลจากตัวอย่ าง การแทรกภาพทีอยู่ในโฟล์ เดอร์ จากตัวอย่างจะเห็นได้ วาถ้ ารูปภาพอยูในโฟล์เดอร์ จะต้ องระบุชือโฟล์เดอร์ ด้ วย เช่น รูปภาพอยูในโฟล์ ่ ่ ่ เดอร์ pic6 เราจึงแทรกภาพด้ วยคําสัง <img src= "pic6/girl1.gif">
  • 5. เป็ น การกําหนดขนาดของรู ปภาพ การจัดตําแหน่งรู ปภาพกับข้อความและการแสดงข้อความ คําอธิบายของรู ปภาพหากรู ปภาพ นั:นไม่ชดเจน ั ซึงหัวข้อที เราจะควรทราบเกียวกับการตกแต่งภาพ มีดงนี: ั 1. การกําหนดขนาดของรู ปภาพ 2. การจัดตําแหน่งของข้อความกับรู ปภาพ 3. การกําหนดเส้นขอบรู ปภาพ 4. การปรับระยะห่างรู ปภาพกับข้อความ 1. การกําหนดขนาดของรู ปภาพ เป็ นการกําหนดความกว้าง (WIDTH) และความสูง (HEIGHT) ของรู ปภาพในคําสัง <IMG> การกําหนดขนาด ํ ด้านใดด้านหนึงของรู ปภาพ ด้านทีไม่ได้กาหนดจะเพิมขึ:นหรื อลดลงเป็ นสัดส่วนของด้านทีกําหนด มีหน่วยเป็ นเปอร์เช็นต์ หรื อพิกเซลก็ได้ หากกําหนดรู ปภาพมีขนาดใหญ่เกินไป ทําให้รูปภาพมีความระเอียดตําและดูไม่ชดเจนได้ ั รู ปแบบ <IMG SRC = "ชือรู ปภาพ" WIDTH = "ความกว้าง" HEIGHT = " ความสูง"> เช่ น <IMG SRC = "ANII15.GIF" WIDTH = "35%" HEIGHT = "180%"> กรณี ระบุเป็ นเปอร์เซนต์ <IMG SRC = "ANII15.GIF" WIDTH = "350" HEIGHT = "400"> กรณี ระบุเป็ นพิกเซล
  • 6. การแทรกภาพโดยไม่กาหนด Width และ Height จะได้ภาพเท่ากับต้นฉบับ การแทรกภาพโดยกําหนด Width และ Height 2. การจัดตําแหน่ งของข้ อความกับรู ปภาพ เมือกําหนดขนาดของรู ปภาพแล้วต้องงการวาง ตําแหน่งรู ปภาพกับข้อความว่าต้องการให้รูปภาพอยู่ ณ ตําแหน่ง ไหนของข้อความ หากไม่กาหนดขอบด้านล่าง ของรู ปภาพกับข้อความว่าต้องการให้รูปภาพอยู่ ณ ตําแหน่งไหนของ ํ ํ ่ ข้อความ หากไม่กาหนดขอบด้านล่างของรู ปภาพจะอยูระดับเดียวกับบรรทัดแรกของข้อความ ในการกําหนดตําแหน่งของ ํ รู ปภาพใช้คาสัง ALIGN ปกติทีไม่ได้กาหนดจะเป็ น BOTTOM ํ รู ปแบบ <IMG ALIGN = " ตําแหน่งทีต้องการ"> เช่ น <IMG ALIGN = " TOP">
  • 7. ตารางแสดงตําแหน่ งของรู ปภาพ คําสัง ความหมาย BOTTOM ่ ขอบด้านล่างรู ปภาพอยูบรรทัดแรก TOP ่ ขอบด้านบนรู ปภาพอยูบรรทัดแรก RIGHT ่ ้ รู ปภาพอยูดานซ้ายมือของข้อความ LEFT ่ ้ รู ปภาพอยูดานขวามือของข้อความ MIDDLE รู ปภาพอยูกึงกลางของข้อความ ณ ตําแหน่ง <IMG> ่ ตัวอย่ าง ํ กรณี กาหนด ALIGN เป็ น TOP ผลลัพธ◌์ <html> <body> <img src= "601.gif" align="top"> ภาพ gif เป็ นภาพนิยม ภาพ gif เป็ นภาพนิยมนํามาใช้ในการแสดง นํามาใช้ในการแสดงบนเว็บเพจ เพราะเป็ น บนเว็บเพจ เพราะเป็ นภาพทีมีความละเอียด ภาพทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาดเล็ก และ 256 สี มีขนาดเล็ก และ เป็ นภาพทีสามารถ เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหว แสดงผลเคลือนไหวต่อเนืองกันได้ ต่อเนืองกันได้ </body> </html> ํ กรณี กาหนด ALIGN เป็ น LEFT ผลลัพธ◌์ <html> ภาพ gif เป็ นภาพนิยม <body> นํามาใช้ในการแสดง <img src= "601.gif" align="left"> บนเว็บเพจ เพราะเป็ น ภาพ gif เป็ นภาพนิ ยมนํามาใช้ในการแสดงบนเว็บ เพจ เพราะเป็ นภาพทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาด ภาพทีมีความละเอียด เล็ก และ เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหว 256 สี มีขนาดเล็ก และ ต่อเนื องกันได้ เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหว </body> ต่อเนืองกันได้ </html>
  • 8. 3. การกําหนดเส้นขอบรู ปภาพ ํ รู ปภาพทีแสดงบนเบราเซอร์จะไม่มีเส้นขอบ ล้อมรู ปภาพ หากต้องการให้มีเส้นขอบให้กาหนดด้วยคําสัง BORDER มีหน่วยเป็ นพิกเซล รู ปแบบ <IMG BORDER ="ขนาดของเส้นขอบ"> เช่ น <IMG BORDER = "2"> ตัวอย่ าง คําสัง ผลลัพธ์ <html> <body> <img src="601.gif" border=3> </body> </html> 4. การปรับระยะห่างรู ปภาพกับข้อความ การกําหนดระยะห่างของรู ปภาพกับข้อความในเว็บ เพจ สามารถปรับได้ท: งแนวตั:งและแนวนอน โดยการใช้คาสัง ั ํ VSPACE กําหนดระยะห่างแนวตั:งด้านบน ด้านล่างของรู ปภาพ และคําสัง HSPACE กําหนดระยะห่างแนวนอนด้านซ้าย ด้ายขวาของรู ปภาพ มีหน่วยเป็ นพิกเซล รู ปแบบ <IMG VSPACE = "ระยะห่างแนวตั:ง" HSPACE = "ระยะห่างแนวนอน"> เช่ น
  • 9. <IMG VSPACE = "10" HSPACE = "15"> เป็ นการกําหนดให้ขอความอยูห่างจากรู ปภาพในแนวนอน ้ ่ (ด้านซ้าย - ขวา) 15 พิกเซล และอยูห่างจากภาพแนวตั:ง (ด้านบน - ล่าง) 10 พิกเซล ่ ตัวอย่ าง คําสัง ผลลัพธ์ <html> ภาพ gif เป็ นภาพนิยมนํามาใช้ใน <body> การแสดงบนเว็บเพจ เพราะเป็ นภาพ <img src= "601.gif" align="left" hspace="15" ทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาดเล็ก vspace="10" > และ เป็ นภาพทีสามารถแสดงผล ภาพ gif เป็ นภาพนิยมนํามาใช้ในการแสดงบนเว็บเพจ เคลือนไหวต่อเนืองกันได้ เพราะเป็ นภาพทีมีความละเอียด 256 สี มีขนาดเล็ก และ เป็ นภาพทีสามารถแสดงผลเคลือนไหวต่อเนืองกันได้ </body> </html> ข้อความจะอยูห่างจากภาพในแนวนอน (ด้านซ้าย - ขวา) 15 พิกเซล ่ การกําหนดรู ปภาพในตาราง ใช้คาสัง <IMG SRC> เหมือนกับการแทรกรู ปภาพในข้อความ โดยกําหนดไว้ใน ํ <TD> ตัวอย่ าง <html> <head> <title>การแทรกรู ปภาพในตาราง</title> </head> <body> <table border=1> <tr> <td> <img src="dog.gif"> </td > <td> สุ นขเป็ นสัตว์เลี:ยงแสนรู้ สามารถนํามาฝึ กหัดได้ </td> ั </tr> </table> </body> </html>
  • 10. ผลลัพธ์ ทได้ จากตัวอย่ าง ี สุนขเป็ นสัตว์เลี:ยงแสนรู ้ ั สามารถนํามาฝึ กหัดได้ การกําหนดพื:นหลังของเว็บเพ จเป็ นรู ปภาพ ด้วยคําสัง BACKGROUND ถูกกําหนดไว้ในคําสัง BODY หาก กําหนดรู ปภาพพื:นหลังในตาราง จะกําหนดไว้ ในคําสัง TABLE 1. การกําหนดพืนหลังทัJงเว็บเพจ J ในการกําหนดรู ปภาพเป็ นพื:นหลัง ทั:งเว็บเพจ โดยทีรู ปทีนํามาเป็ นพื:นหลังเป็ นประเภท Gif หรื อ Jpeg รู ปภาพทีใช้เป็ นพื:นหลังมีขนาดเล็กหรื อใหญ่ บนเบราเซอร์จะนํารู ปภาพมาเรี ยงต่อกันจนเต็มหน้าจอ รู ปแบบ <BODY BACKGROUND = " ชือไฟล์รูปภาพ.สกุล"> เช่ น <BODY BACKGROUND = "g1.jpg"> ตัวอย่ าง <html> <head> <title>การกําหนดรูปภาพเป็ นพื .นหลัง</title> </head> <body background="g1.jpg"> <center> <h4> Hello Hello HTML HTML</h4></center> </body> </html>
  • 11. 2. การกําหนดพืนหลังในตาราง J ในตารางการกําหนดพื:นหลังเป็ นรู ปภาพทั:งตาราง จะกําหนดด้วยคําสัง BACKGROUND ในคําสัง TABLE รู ปแบบ <TABLE BACKGROUND ="ชือไฟล์รูปภาพ.สกุล"> เช่ น <TABLE BACKGROUND = "g1.jpg"> ตัวอย่ าง <html> <head> <title>การกําหนดรู ปภาพเป็ นพื .นหลังตาราง</title> </head> <body> <table background="g1.html" border=1 > <tr> <td> ลําดับที</td > <td> รายการ </td></tr> <tr> <td> 1 </td > <td> ซื .ออาหาร </td></tr> </table> </body> </html> ลําดับ รายการ 1 ซื .ออาหาร