SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
กลุ่มที่ 1 ห้อง 144 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เสนอ
อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิกกลุ่มที่ 1 ห้อง144
• น.ส. กุลนันท์ พรพรรณรัตน์ เลขที่ 2
• น.ส. ณิชกานต์ ดีประเสริฐ เลขที่ 8
• น.ส. นภัสกร นาควิจิตร เลขที่ 11
• น.ส. รัสรินทร์ เจริญไกรธนากานต์ เลขที่ 19
โรคอัลไซเมอร์
ประวัติความเป็นมาของโรคอัลไซเมอร์
• โรคอัลไซเมอร์ เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด ถูกค้นพบในปี พ.ศ.
2449 (ค.ศ. 1906) โรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายแพทย์
ชาวเยอรมันชื่อ อโลอิส อัลซ์ไฮเมอร์ (Alois Alzheimer)
• ผู้ป่วยหญิง ชื่อ ฟรัน เอากุสเต (Fran Auguste) ได้เข้ารับการรักษาตัว
ในสถานพยาบาลโรคจิต ณ เมืองฟรังฟูร์ต-อัมไมน์ อาการป่วยของเธอ เริ่มต้น
ด้วยอาการรู้สึกอิจฉา สามีต่อมา มีการหลงลืม จาทาง บุคคล และสถานที่ไม่ได้ ฟัง
อะไรไม่เข้าใจ และพูดลาบาก หลังจากนั้น มีอาการทางจิตเวช และหลงผิด จนต้อง
รับตัวไว้รักษาในสถานพยาบาลโรคจิต โดยนอนป่วยอยู่นาน ในที่สุดก็เสียชีวิต
ประวัติความเป็นมาของโรคอัลไซเมอร์
• ผลการตรวจศพ พบว่า สมองฝ่อลีบทั่วทั้งสมอง มีเซลล์สมองลดน้อยลง
มาก พร้อมกับมีใยประสาทพันกันยุ่งในเซลล์สมอง นอกจากนี้ ยังมีเนื้อสมอง
ตายเป็นกลุ่มๆ โดยรวมกันเป็นแผ่นๆ กระจายอยู่ทั่วทั้งสมอง พยาธิสภาพ
• จนถึงปัจจุบันโรคนี้จัดเป็นโรคความเสื่อมที่ไม่สามารถรักษาให้หายและจัดเป็น
อาการป่วยระยะสุดท้าย โดยทั่วไปสามารถวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ได้ในผู้ป่วย
อายุมากกว่า 65 ปี
ในปัจจุบันก็ยังมีการพบโรคอัลไซเมอร์ชนิดหนึ่ง คือ โรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็ว (early-onset
Alzheimer's) ซึ่งเกิดในคนอายุน้อย
นายแพทย์อโลอิส อัลซ์ไฮเมอร์
สาเหตุสาคัญของโรคอัลไซเมอร์
การเปลี่ยนแปลงของสมองผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ :
• พบกลุ่มแผ่น (Plaque) ที่เกิดจากการรวมตัวของโปรตีน
ที่ผิดปกติและถูกล้อม รอบด้วยเซลล์ประสาทที่เสื่อม
(Dystrophic neuritis) เรียกกลุ่มแผ่นนี้ว่า
Amyloid plaques หรือ Neuritic plaques
• พบเส้นใยฝอย (Fibril) ของโปรตีนที่มาพันรวมตัวกัน
ผิดปกติ เรียกว่า Neurofibrillary tangles (NFT)
สาเหตุสาคัญของโรคอัลไซเมอร์
• การลดลงของสาร Acetylcholine
เป็นสารสื่อประสาทที่ช่วยในเรื่องความจาและการเรียนรู้ หากสารนี้ลดลง
ความสามารถในการจาก็จะลดลงด้วย
• พันธุกรรม
หากมีสมาชิกในครอบครัวป็นโรคอัลไซเมอร์ก็อาจทาให้เพิ่มโอกาสเป็นโรคนี้ได้เช่นเดียวกัน
• วัย
ความเสี่ยงที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์ ก็จะมีมากขึ้นตามอายุที่มากขึ้น
• สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรม
พบว่าผู้ที่เป็นเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน หลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูงจะเป็นโรคอัลไซเมอร์
มากกว่าคนทั่วไป นอกจากนั้นยังมีปัจจัยเรื่องอาหาร การออกกาลังกาย การเข้าสังคม
ลักษณะอาการของโรค
1. ขี้หลงขี้ลืมหรือความจาเสื่อม (Memory loss)
อาการของโรคสมองเสื่อม Alzeimer มีข้อแตกต่างจากการขี้ลืมที่พบในผู้สูงอายุ
คือ การขี้ลืมปกติมักจะลืมรายละเอียดของการพูดจา ลืมว่าจะทาอะไรบ้าง อาจจะลืม
ชื่อคน แต่เมื่อมีคนกระตุ้นก็จะจาได้ แต่สาหรับผู้ที่เป็นสมองเสื่อมจะจาเหตุการณ์ที่
เพิ่งเกิดไม่ได้ แม้กระทั่งคาพูดของคู่สนทนา ทาให้ต้องย้าถามบ่อยๆระหว่างสนทนา
ลักษณะอาการของโรค
2. อารมณ์แปรปรวนหงุดหงิดง่าย
ผู้ที่ป่วยเป็นโรคสมองเสื่อมจะมีอารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดโดยที่ไม่มีเหตุผล
ผู้ป่วยบางท่านอาจจะหงุดหงิดกับบางสถานที่บางเหตุการณ์ การที่ผู้ป่วยหงุดหงิดอาจจะ
เนื่องจากความกลัว สับสน อ่อนล้า หรือการปรับตัวของผู้ป่วยเนื่องจากไม่สามารถสื่อสารได้
อย่างคนปกติ
ลักษณะอาการของโรค
3. การตัดสินใจไม่ถูกต้อง
ผู้ป่วยอาจมีปัญหาเรื่องการตัดสินใจไม่เหมาะสมตัวอย่าง เช่น การแต่งกายซึ่งไม่เหมาะกับ
โอกาสหรือสภาพอากาศ เช่น บางคนแต่งชุดนอนไปทางาน การกระทาที่ไม่คานึงถึงความปลอดภัย
การให้เงินทั้งปริมาณและคนที่ไม่ควรให้ หรือไม่ยอมชาระเงิน หรือการทอนเงินเป็นต้น
4. ทักษะในชีวิตประจาวันบกพร่อง
กิจวัตรประจาวันที่เคยได้ เช่น
การหุงข้าวด้วยหม้อไฟฟ้า การใช้ไมโครเวฟ
การใช้เครื่องดูดฝุ่น การติดกระดุมเสื้อ การ
ใช้มีด การใช้ช้อน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้ผู้ป่วย
เคยใช้เป็นร้อยๆครั้ง หากมีปัญหาเรื่องสมองเสื่อม
ทักษะเหล่านี้จะเสื่อมจนผู้ป่วยไม่สามารถใช้ได้
ลักษณะอาการของโรค
5. สับสนเรื่องเวลาและสถานที่
มักจะเป็นอาการที่สาคัญสาหรับผู้ที่เป็นสมองเสื่อม นอกจากนั้นยังสับสน
เรื่องเวลา ฤดูกาลอีกด้วย ตัวอย่างเช่นสามีที่ป่วยเป็นโรคที่สับสนเรื่องเวลาว่าภรรยา
หายไปตั้งหลายชั่วโมง ทั้งที่ความจริงอาจจะเพียงไม่กี่นาทีเท่านั้น
6. มีปัญหาในการสื่อสาร
ผู้ที่ป่วยด้วยโรคหรือภาวะสมองเสื่อมมักจะมีปัญหาเรื่องการ
สนทนา อาจจะหยุดการสนทนากลางคันเนื่องจากไม่รู้จะสนทนาต่ออย่างไร หรือ
อาจจะใช้คาไม่ถูกต้อง หรือใช้คาเรียกสิ่งของไม่ถูกต้อง หรือพูดคาซ้าๆ หรืออาจจะตั้ง
คาถามซ้าๆ จนในที่สุดจะใช้ท่าทางแทนคาพูดและพูดน้อยลง
ลักษณะอาการของโรค
7. เดินเรื่อยเปื่อย
ร้อยละ60ของผู้ป่วยสมองเสื่อมจะเดินเรื่อยเปื่อยโดยไม่มีจุดมุ่งหมาย จึงทาให้
ผู้ป่วยส่วนหนึ่งหลงทางเนื่องจากจาบ้านตัวเองไม่ได้ จาถนนหนทางไม่ได้ จาคนไม่ได้
บางครั้งอาจจะเกิดจากผู้ป่วยต้องการไปซื้อของนอกบ้านที่ร้านสะดวกซื้อแต่ไม่สามารถหาทาง
กลับบ้านได้
8. พูดหรือทาพฤติกรรมที่ซ้าๆ
ผู้ที่ป่วยด้วยสมองเสื่อมมักจะพูดบางคา หรือประโยค คาถาม หรือกิจกรรมซ้าๆ
ซึ่งเป็นอาการที่สาคัญของโรคนี้ ภาวะพูด หรือพฤติกรรมซ้าซ้าอาจจะถูกกระตุ้นด้วย
ความเครียด วิตกกังวล ความกลัว หรือความเบื่อ
ลักษณะอาการของโรค
9. มีปัญหาเรื่องการมองเห็น
ผู้ที่ป่วยด้วยโรคนี้มักจะมีปัญหาเรื่องการอ่านหนังสือ การกะระยะทาง การแยะสี
เมื่อมองกระจกผู้ป่วยอาจจะสงสัยว่ามีคนอยู่ในห้องแทนที่จะคิดว่านั่นคือภาพตัวเองใน
กระจก
ผู้ที่ป่วยด้วยโรคนี้มักจะโดดเดี่ยว แยกตัวจากสังคม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ไม่
สนใจงานอดิเรก หรือกีฬา เนื่องจากเขาเหล่านั้นได้สูญเสียทักษะที่สาคัญไป ดังนั้นเขาจึง
แยกตัวจากสังคม
ลักษณะอาการของโรค
11. ลืมกิจวัตรประจาวัน
ผู้ที่ป่วยด้วยโรคนี้จะลืมแปรงฟัน ลืมอาบน้า ลืมเปลี่ยนเสื้อผ้า ไม่หวีผม
ลืมรับประทานอาหาร บางท่านก็ลืมว่าได้รับประทานอาหารแล้วก็มี บอกไม่ได้ว่า
อาหารร้อนเกินไป หรือเผ็ดเกินไป บางท่านก็ลืมเคี้ยวอาหาร บางท่านต้องใช้มือหยิบ
อาหารแทนการใช้ช้อน
12. มีปัญหาเรื่องการนอนหลับ
เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถแยกแยะเวลา ประกอบกับมีปัญหาเรื่องอารมณ์จึง
ทาให้ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการนอนหลับ ซึ่งจะรบกวนผู้ดูแลในเวลากลางคืน
ค่อนข้างมาก
แนวทางการป้องกันโรค
1. ควรงดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ทุกชนิด
2. ควรระวังเรื่องการใช้ยา ควรให้แพทย์เป็นผู้สั่งยาทุกครั้งและควรนายาที่รับประทาน
เป็นประจาไปให้แพทย์ดูด้วยเพื่อหลีกเลี่ยงการสั่งยาซ้าซ้อน
3. ควรระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุที่ส่งผลกระทบกระเทือนศีรษะ
แนวทางการป้องกันโรค
4. เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุควรหมั่นไปตรวจสุขภาพเป็นประจาทุกปี
5. ตรวจเช็คความดันเลือดสม่าเสมอตามที่แพทย์นัด หากพบว่าเป็นความดันโลหิตสูงก็
ต้องปฏิบัติตนตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด เพราะมีผลกระทบต่อภาวะสมองเสื่อม
6. ควรออกกาลังกายเป็นประจา ผู้สูงอายุไม่ควรหักโหมจนเกินไป เพราะอาจทาให้เกิด
โทษได้
แนวทางการป้องกันโรค
7. ควรหากิจกรรมที่ทาให้ผ่อนคลายความตึงเครียด เช่น อ่านหนังสือ ฟัง เพลง ดู
โทรทัศน์
8. เมื่อสังเกตว่าตนเองเริ่มมีอาการหลงๆ ลืมๆ มากผิดปกติ หรือมีอาการ บ่งชี้
อื่นๆ ที่น่าสงสัยก็ควรรีบไปพบประสาทแพทย์ หรือแพทย์เวช ศาสตร์ผู้สูงอายุ
ทันที
แนวทางการรักษาโรค
การรักษาทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับการใช้ยา
ระยะที่หนึ่ง
การดูแลผู้ป่วยระยะนี้เริ่มตั้งแต่การให้เวลาผู้ป่วยในการตอบคาถามหรือการตอบสนอง
กับสิ่งรอบข้าง เนื่องจากผู้ป่วยจะเชื่องช้าลงจากการทางานของสมองที่เสียไป ควรจะ
ช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลโดยบอกขั้นตอนทีละลาดับช้าๆ เพื่อให้ผู้ป่วยทาตาม
ได้และควรจัดให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเป็นช่วงๆซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยอารมณ์ดีขึ้น
แนวทางการรักษาโรค
การรักษาทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับการใช้ยา
ระยะที่สอง
การดูแลผู้ป่วยในระยะนี้ ควรดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดมากขึ้น โดยจัดกิจวัตรประจาวัน
ให้กับผู้ป่วยเพื่อจะได้ปรับตัวง่ายขึ้น
 ทบทวนในสิ่งที่ผู้ป่วยพูดและเน้นสรุปในสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการจะสื่อ
เพื่อช่วยให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
 สังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วยโดยเทียบกับพฤติกรรมเดิมเพื่อให้ทราบ
ความสามารถที่ลดลงในด้านต่างๆ
แนวทางการรักษาโรค
การรักษาทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับการใช้ยา
ระยะที่สาม
การดูแลผู้ป่วยระยะนี้จะต้องคานึงถึงความปลอดภัยเป็นสาคัญญาติต้องคอยดูและ
ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้ป่วยที่ถดถอยลง
แนวทางการรักษาโรค
การรักษาทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับการใช้ยา
ระยะที่สี่
การดูแลผู้ป่วยจาเป็นต้องดูแลใกล้ชิดตลอดเวลา เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถดูแล
ตนเองได้เลย
 เตรียมอาหารที่บดหยาบและไม่เหลวจนเกินไปจะช่วยให้ผู้ป่วย
รับประทานได้ง่ายขึ้น
 พยายามพาผู้ป่วยเข้าห้องน้าให้ถี่ขึ้นเพื่อลดการถ่ายเรี่ยราดรวมทั้งดูแลเรื่องความ
สะอาดของร่างกายเพื่อป้องกันการติดเชื้อทางผิวหนังด้วย
แนวทางการรักษาโรค
การรักษาด้วยยา
• การรักษาทั่วไป การให้ยารักษาตามอาการอื่นที่ผู้ป่วยมี เช่น การใช้ยา
ควบคุมจิตใจให้สงบ ควบคุมพฤติกรรมที่ก้าวร้าว เช่น ให้ยานอนหลับ
• การรักษาด้วยยาเฉพาะของโรคอัลไซเมอร์ การใช้ยารักษาโรคอัลไซเมอร์มีการ
ถกเถียงกันมาก เช่น ผลที่จะได้มีมากน้อยแค่ไหน การเกิดผลข้างเคียงที่ค่อนข้าง
รุนแรงในผู้ป่วยบางราย ราคายาที่ค่อนข้างแพง เป็นต้น
แนวทางการรักษาโรค
การรักษาด้วยยา
• เนื่องจากผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์มีการขาดสาร Acetylcholine ในสมอง ดังนั้นจึงมีการ
ใช้ยาบางอย่างเพื่อเพิ่มสาร Acetylcholine
• เช่น Aricept (Donepezil), Exelon (Rivastigmine) , Reminyl ( Galantamine)
เป็นยาที่มีผลข้างเคียงน้อยและช่วยลดอาการสมองเสื่อมได้ดีพอสมควรในผู้ป่วยที่มีอาการใน
ระยะที่ 1 และ 2 (คือมีอาการน้อยถึงปานกลาง)
ยาอีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถลดสารอมีรอยด์ (Amyloid plague) ในสมองได้บ้าง ได้แก่
Ebixa (Me-mantine)
วิดีโอประกอบเพื่อความเข้าใจ
บทสรุป
โรคอัลไซเมอร์ถูกค้นพบมานานกว่า100ปีแล้ว โดยเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษา
ให้หายขาดได้ สาเหตุยังไม่สามารถระบุได้แน่ชัด แต่มีผลจากวัย สิ่งแวดล้อมและ
พฤติกรรม โดยมีอาการหลักๆ เช่น ขี้หลงขี้ลืม สื่อสารไม่ได้ ลืมแม้กระทั่งกิจวัตรที่
คุ้นเคย แนวทางในการรักษามีทั้งแบบใช้ยาและไม่ใช้ยา
แหล่งข้อมูล
• http://haamor.com/th/เนื้อเยื่อเส้นใย/
• http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/alzheime
r/alzheimers_cause.html#.WUoudDQ_zCR
• http://guru.sanook.com/6226/
• http://haamor.com/th/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5
%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A
D%E0%B8%A3%E0%B9%8C/

More Related Content

What's hot

เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (6)

เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
Malaria
MalariaMalaria
Malaria
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 

Similar to N sdis 144_60_1

โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็งsantti2055
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3supphawan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553Utai Sukviwatsirikul
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินนำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินwootslide
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 

Similar to N sdis 144_60_1 (20)

โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
Hyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapyHyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapy
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
N sdis 144_60_6
N sdis 144_60_6N sdis 144_60_6
N sdis 144_60_6
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
N sdis 143_60_7
N sdis 143_60_7N sdis 143_60_7
N sdis 143_60_7
 
N sdis 143_60_8
N sdis 143_60_8N sdis 143_60_8
N sdis 143_60_8
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินนำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

N sdis 144_60_1