SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
Clinical practice guidelines for
diagnosis and management of thalassema syndromes
พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2557
จำ�นวนพิมพ์ 2,500 เล่ม
ISBN : xxxxxxxxxxxxxxxxxx
สงวนลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
บรรณาธิการ : ศาสตราจารย์นายแพทย์สุทัศน์ ฟู่เจริญ
			 ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงวรวรรณ ตันไพจิตร
			 ศาสตราจารย์พันเอกนายแพทย์กิตติ ต่อจรัส
			 รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์วิปร วิประกษิต
			 แพทย์หญิงอรุโณทัย มีแก้วกุญชร
จัดพิมพ์โดย : สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
พิมพ์ที่ : บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำ�กัด
	 4 ถนนสิรินธร 7 บางบำ�หรุ บางพลัด กรุงเทพฯ 10700
	 โทร. 0 2881 9890 โทรสาร 0 2881 9892
Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassemia syndromes
iii
สารจากประธานมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย
	 ธาลัสซีเมียเป็นโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมที่เป็นปัญหาสาธารณสุขส�ำคัญอย่างหนึ่ง
ของประเทศไทย ในช่วงระยะเวลา20ปีที่ผ่านมาได้มีการรณรงค์ร่วมกันของหลายหน่วยงาน
องค์กรภายในประเทศอาทิกระทรวงสาธารณสุขมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทยฯ
สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทยด้วยความร่วมมือของอาจารย์นักวิชาการจากมหาวิทยาลัย
ทั่วประเทศ ร่วมมือกันในการควบคุมและป้องกันโรคธาลัสซีเมีย ซึ่งประกอบไปด้วย
หลักการส�ำคัญ2ประการคือการให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจนถึง
หายขาดจากโรค และการพยายามลดการเกิดใหม่ของผู้ป่วยธาลัสซีเมียที่มีอาการรุนแรง
	 การให้การรักษาผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั้น ต้องการคู่มือข้อแนะน�ำที่แพทย์
ทั่วไปสามารถน�ำไปปฏิบัติได้ ภายหลังจากการจัดท�ำคู่มือฉบับที่หนึ่ง เมื่อปีพ.ศ. 2549
ได้มีการพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการตรวจรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมียอย่างมาก อาทิ มีการ
ใช้เครื่องมืออัตโนมัติ (HPLC และ CE) ในการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย การใช้เครื่องตรวจ
ร่างกายโดยการสร้างภาพเหมือนจริง (MRI) เพื่อตรวจหาปริมาณเหล็กในเนื้อเยื่อ และ
การพัฒนายาขับเหล็กชนิดใหม่ที่สามารถใช้รับประทานแทนการฉีด โดยเฉพาะยา
GPO-L-ONE ขององค์การเภสัชกรรม
	 คณะผู้จัดท�ำหนังสือคู่มือฉบับที่สองนี้ ใช้เวลาร่วมสองปีในการรวบรวมองค์ความรู้
ต่างๆที่ทันสมัยที่สุดซึ่งหวังว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการช่วยให้แพทย์ทั่วไปมีความ
มั่นใจในการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมีย
	 ในท้ายที่สุดคณะผู้จัดท�ำหนังสือคู่มือเล่มนี้ขอขอบคุณสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
มหาราชินี (โรงพยาบาลเด็ก) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มูลนิธิโรคโลหิตจาง
ธาลัสซีเมีย แห่งประเทศไทยฯ สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย คณาจารย์และผู้ร่วมงาน
ทุกท่าน ที่ร่วมให้การสนับสนุนในการจัดท�ำหนังสือคู่มือฉบับนี้จนส�ำเร็จด้วยดี
	 ศ.เกียรติคุณ พญ. คุณหญิงสุดสาคร ตู้จินดา
	 ประธานมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย
	 ในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
iv
สารจากอธิบดีกรมการแพทย์
	 โรคธาลัสซีเมียเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรม และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบ
อุบัติการณ์สูง มีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นทุกปี ผู้เป็นพาหะของโรคพบร้อยละ 30-40 ของ
ประชากรไทย (19-25 ล้านคน) และร้อยละ 1 ของประชากร (647,859 คน) ป่วยเป็นโรค
การตั้งครรภ์ 5 ใน 100 คน เป็นการตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นโรค โดยครึ่งหนึ่งจะ
เป็นโรคชนิดรุนแรงและต้องเข้ารับการรักษาตลอดอายุขัยซึ่งปัจจุบันความรู้และเทคโนโลยี
มีความก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส�ำหรับด้านการดูแลรักษาเนื่องจากผู้ป่วยธาลัสซีเมีย
ในประเทศไทยมีอาการรุนแรงหลายระดับ กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย์ ได้รับ
ความร่วมมือของคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย
ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ราชวิทยาลับอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย ได้ร่วมกันจัดท�ำแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรค
โลหิตจางธาลัสซีเมีย (Clincal Practice Guidelines : CPG) ขึ้นจนส�ำเร็จ ในปี พ.ศ. 2557 นี้
ซึ่งต้องขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ด้วย
	 คาดหวังว่าแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียเล่มนี้ คงเป็น
ประโยชน์ และน�ำไปใช้ได้ตามระดับความสามารถของสถานพยาบาล มีการส่งต่อผู้ป่วย
เพื่อรับการบริการตามที่แพทย์ลงความเห็น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม
ที่สุด ตามนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแห่งชาติในขณะเดียวกันจ�ำเป็นต้อง
มีความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนที่จะสนับสนุนให้ทั้งการดูแลรักษาและการควบคุมป้องกัน
โรคด�ำเนินไปด้วยดียิ่งขึ้น เพื่อสุขภาพของประชาชนไทยต่อไป
	 นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา
	 อธิบดีกรมการแพทย์
Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassemia syndromes
v
กิตติกรรมประกาศ
	 แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมียฉบับนี้ส�ำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์
ขององค์กรและหน่วยงานดังต่อไปนี้ กรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
กรมอนามัย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข มูลนิธิโรค
โลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ราชวิทยาลับอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย และ
ทุนอุดหนุนโครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติของมหาวิทยาลัยมหิดล (This study
wassupportedinpartbytheOfficeoftheHigherEducationCommission
andMahidolUniversityundertheNationalResearchUniversityInitiative,
Thailand Research Fund) ทุนสนับสนุนการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ภายใต้
โครงการ“ทุนนักวิจัยแกนน�ำ”ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(This work was supported by a Research Chair Grant from the National
Science and Technology Development Agency (NSTDA) and Mahidol
University)
	 คณะบรรณาธิการและคณะผู้จัดท�ำขอขอบคุณแพทย์ผู้ร่วมท�ำการประชาพิจารณ์
ที่ได้ให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่
ทุกขั้นตอน เพื่อให้แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียฉบับนี้
สมบูรณ์ที่สุด
					 คณะบรรณาธิการและคณะผู้จัดท�ำ
Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassemia syndromes
vii
สารบัญ
บทน�ำ	 1
แนวทางการวินิจฉัยโรคและพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย	 9	
	 โดยการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้เลือดและมาตรฐานของเลือดส�ำหรับผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย	 19
การให้ยาขับธาตุเหล็ก (Iron chelation) ในผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย	 25
การรักษาภาวะธาตุเหล็กเกินด้วยยาขับเหล็กในผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย	 33
	 ชนิดไม่พึ่งพาเลือด
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นก�ำเนิดเม็ดโลหิต	 35
การดูแลรักษาอาการแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย	 43
แนวทางการรักษาด้วยการตัดม้าม	 61
แนวทางการรักษาผู้ป่วย B thaiassemia ด้วยยากระตุ้นการสร้างฮีโมโกลบินเอ๊ฟ	 63
การดูแลทั่วไปและโภชนาการส�ำหรับผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย	 65
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้ป่วยและครอบครัว	 73
การวางแผนป้องกันการเกิดโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียและการให้ค�ำปรึกษา	 79
	 ทางพันธุศาสตร์
การจัดระบบให้บริการผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย	 81
ภาคผนวก	 85
Cpg thalassemia 2014-cover 1

More Related Content

Similar to Cpg thalassemia 2014-cover 1

แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guidelineUtai Sukviwatsirikul
 
Dyslipidemia clinical practice guideline 2016
Dyslipidemia clinical practice guideline 2016Dyslipidemia clinical practice guideline 2016
Dyslipidemia clinical practice guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guidelineUtai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557
แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557
แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่าย
คู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่ายคู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่าย
คู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่ายChuchai Sornchumni
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Cpg thalassemia 2014-cover 1 (20)

Dm thai guideline
Dm thai guidelineDm thai guideline
Dm thai guideline
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ 2559
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
 
Dyslipidemia clinical practice guideline 2016
Dyslipidemia clinical practice guideline 2016Dyslipidemia clinical practice guideline 2016
Dyslipidemia clinical practice guideline 2016
 
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
2016 rcpt dyslipidemia clinical practice guideline
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557
แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557
แนวทางการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 2557
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
คู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่าย
คู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่ายคู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่าย
คู่มือ59 เล่ม1 เหมาจ่าย
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 

More from Phatchara Chanosot (17)

2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
¢ñé¹µí¹¡òã·óâ¤ã§§ò¹¤íá¾ôçàµíãì
¢ñé¹µí¹¡òã·óâ¤ã§§ò¹¤íá¾ôçàµíãì¢ñé¹µí¹¡òã·óâ¤ã§§ò¹¤íá¾ôçàµíãì
¢ñé¹µí¹¡òã·óâ¤ã§§ò¹¤íá¾ôçàµíãì
 
2
22
2
 
...1
...1...1
...1
 
7
77
7
 
7
77
7
 
6
66
6
 
05
0505
05
 
4
44
4
 
3
33
3
 
...2
...2...2
...2
 
..1
..1..1
..1
 
...Com2550
...Com2550...Com2550
...Com2550
 
Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2
 
Thal trait
Thal traitThal trait
Thal trait
 
Blogger.com
Blogger.comBlogger.com
Blogger.com
 

Cpg thalassemia 2014-cover 1

  • 1.
  • 2. แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassema syndromes พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2557 จำ�นวนพิมพ์ 2,500 เล่ม ISBN : xxxxxxxxxxxxxxxxxx สงวนลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 บรรณาธิการ : ศาสตราจารย์นายแพทย์สุทัศน์ ฟู่เจริญ ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงวรวรรณ ตันไพจิตร ศาสตราจารย์พันเอกนายแพทย์กิตติ ต่อจรัส รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์วิปร วิประกษิต แพทย์หญิงอรุโณทัย มีแก้วกุญชร จัดพิมพ์โดย : สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี พิมพ์ที่ : บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำ�กัด 4 ถนนสิรินธร 7 บางบำ�หรุ บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 0 2881 9890 โทรสาร 0 2881 9892
  • 3. Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassemia syndromes iii สารจากประธานมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย ธาลัสซีเมียเป็นโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมที่เป็นปัญหาสาธารณสุขส�ำคัญอย่างหนึ่ง ของประเทศไทย ในช่วงระยะเวลา20ปีที่ผ่านมาได้มีการรณรงค์ร่วมกันของหลายหน่วยงาน องค์กรภายในประเทศอาทิกระทรวงสาธารณสุขมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทยฯ สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทยด้วยความร่วมมือของอาจารย์นักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ทั่วประเทศ ร่วมมือกันในการควบคุมและป้องกันโรคธาลัสซีเมีย ซึ่งประกอบไปด้วย หลักการส�ำคัญ2ประการคือการให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจนถึง หายขาดจากโรค และการพยายามลดการเกิดใหม่ของผู้ป่วยธาลัสซีเมียที่มีอาการรุนแรง การให้การรักษาผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั้น ต้องการคู่มือข้อแนะน�ำที่แพทย์ ทั่วไปสามารถน�ำไปปฏิบัติได้ ภายหลังจากการจัดท�ำคู่มือฉบับที่หนึ่ง เมื่อปีพ.ศ. 2549 ได้มีการพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการตรวจรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมียอย่างมาก อาทิ มีการ ใช้เครื่องมืออัตโนมัติ (HPLC และ CE) ในการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย การใช้เครื่องตรวจ ร่างกายโดยการสร้างภาพเหมือนจริง (MRI) เพื่อตรวจหาปริมาณเหล็กในเนื้อเยื่อ และ การพัฒนายาขับเหล็กชนิดใหม่ที่สามารถใช้รับประทานแทนการฉีด โดยเฉพาะยา GPO-L-ONE ขององค์การเภสัชกรรม คณะผู้จัดท�ำหนังสือคู่มือฉบับที่สองนี้ ใช้เวลาร่วมสองปีในการรวบรวมองค์ความรู้ ต่างๆที่ทันสมัยที่สุดซึ่งหวังว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการช่วยให้แพทย์ทั่วไปมีความ มั่นใจในการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมีย ในท้ายที่สุดคณะผู้จัดท�ำหนังสือคู่มือเล่มนี้ขอขอบคุณสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี (โรงพยาบาลเด็ก) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มูลนิธิโรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมีย แห่งประเทศไทยฯ สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย คณาจารย์และผู้ร่วมงาน ทุกท่าน ที่ร่วมให้การสนับสนุนในการจัดท�ำหนังสือคู่มือฉบับนี้จนส�ำเร็จด้วยดี ศ.เกียรติคุณ พญ. คุณหญิงสุดสาคร ตู้จินดา ประธานมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
  • 4. แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย iv สารจากอธิบดีกรมการแพทย์ โรคธาลัสซีเมียเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรม และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบ อุบัติการณ์สูง มีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นทุกปี ผู้เป็นพาหะของโรคพบร้อยละ 30-40 ของ ประชากรไทย (19-25 ล้านคน) และร้อยละ 1 ของประชากร (647,859 คน) ป่วยเป็นโรค การตั้งครรภ์ 5 ใน 100 คน เป็นการตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นโรค โดยครึ่งหนึ่งจะ เป็นโรคชนิดรุนแรงและต้องเข้ารับการรักษาตลอดอายุขัยซึ่งปัจจุบันความรู้และเทคโนโลยี มีความก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส�ำหรับด้านการดูแลรักษาเนื่องจากผู้ป่วยธาลัสซีเมีย ในประเทศไทยมีอาการรุนแรงหลายระดับ กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย์ ได้รับ ความร่วมมือของคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากมูลนิธิโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ราชวิทยาลับอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย ได้ร่วมกันจัดท�ำแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรค โลหิตจางธาลัสซีเมีย (Clincal Practice Guidelines : CPG) ขึ้นจนส�ำเร็จ ในปี พ.ศ. 2557 นี้ ซึ่งต้องขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ด้วย คาดหวังว่าแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียเล่มนี้ คงเป็น ประโยชน์ และน�ำไปใช้ได้ตามระดับความสามารถของสถานพยาบาล มีการส่งต่อผู้ป่วย เพื่อรับการบริการตามที่แพทย์ลงความเห็น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม ที่สุด ตามนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแห่งชาติในขณะเดียวกันจ�ำเป็นต้อง มีความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนที่จะสนับสนุนให้ทั้งการดูแลรักษาและการควบคุมป้องกัน โรคด�ำเนินไปด้วยดียิ่งขึ้น เพื่อสุขภาพของประชาชนไทยต่อไป นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมการแพทย์
  • 5. Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassemia syndromes v กิตติกรรมประกาศ แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมียฉบับนี้ส�ำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ ขององค์กรและหน่วยงานดังต่อไปนี้ กรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมอนามัย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข มูลนิธิโรค โลหิตจางธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ราชวิทยาลับอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย และ ทุนอุดหนุนโครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติของมหาวิทยาลัยมหิดล (This study wassupportedinpartbytheOfficeoftheHigherEducationCommission andMahidolUniversityundertheNationalResearchUniversityInitiative, Thailand Research Fund) ทุนสนับสนุนการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ภายใต้ โครงการ“ทุนนักวิจัยแกนน�ำ”ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (This work was supported by a Research Chair Grant from the National Science and Technology Development Agency (NSTDA) and Mahidol University) คณะบรรณาธิการและคณะผู้จัดท�ำขอขอบคุณแพทย์ผู้ร่วมท�ำการประชาพิจารณ์ ที่ได้ให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ ทุกขั้นตอน เพื่อให้แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียฉบับนี้ สมบูรณ์ที่สุด คณะบรรณาธิการและคณะผู้จัดท�ำ
  • 6.
  • 7. Clinical practice guidelines for diagnosis and management of thalassemia syndromes vii สารบัญ บทน�ำ 1 แนวทางการวินิจฉัยโรคและพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย 9 โดยการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การให้เลือดและมาตรฐานของเลือดส�ำหรับผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย 19 การให้ยาขับธาตุเหล็ก (Iron chelation) ในผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย 25 การรักษาภาวะธาตุเหล็กเกินด้วยยาขับเหล็กในผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย 33 ชนิดไม่พึ่งพาเลือด การปลูกถ่ายเซลล์ต้นก�ำเนิดเม็ดโลหิต 35 การดูแลรักษาอาการแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย 43 แนวทางการรักษาด้วยการตัดม้าม 61 แนวทางการรักษาผู้ป่วย B thaiassemia ด้วยยากระตุ้นการสร้างฮีโมโกลบินเอ๊ฟ 63 การดูแลทั่วไปและโภชนาการส�ำหรับผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย 65 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้ป่วยและครอบครัว 73 การวางแผนป้องกันการเกิดโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียและการให้ค�ำปรึกษา 79 ทางพันธุศาสตร์ การจัดระบบให้บริการผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย 81 ภาคผนวก 85