SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
เทคโนโลยีสารสนเทศ
โลกยุคปัจจุบันนี้กำลังก้ำวหมุนไปด้วยพลังแห่งสำรสนเทศ (Information is Power) ระบบสำรสนเทศ เป็น
กำรปฏิบัติงำนเกี่ยวกับเอกสำรจำนวนมำก กำรทำงำนในรูปแบบกำรทำด้วยมือ (Manual) จะต้องใช้เวลำในกำร
ประมวลผลนำน และขำดควำมน่ำเชื่อถือ ต่อมำจึงมีกำรพัฒนำระบบสำรสนเทศด้วยกำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้ ส่งผลให้
ทำงำนได้รวดเร็ว และสำรสนเทศที่ได้มีควำมถูกต้องมำกขึ้น
ความหมาย
เทคโนโลยี (Technology) คือ กำรนำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำพัฒนำเป็นองค์ควำมรู้ใหม่ เพื่อนำมำ
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อีกได้เทคโนโลยีที่นำมำใช้ในกำรจัดกำรสนเทศส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสื่อสำรและโทรคมนำคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ กำรประยุกต์ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์มำใช้ในกำรจัดกำร
สำรสนเทศ
ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่ได้จำกกำรเก็บรวบรวม ไม่ว่ำจะเกี่ยวกับ คน สัตว์สิ่งของ หรือ เหตุกำรณ์ ข้อมูล
อำจจะอยู่ในรูปของ ตัวอักษร ข้อควำม ตัวเลข รูปภำพ และเสียง
สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่ำนกำรประมวลผลเพื่อนำไปใช้ในกำรตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศ (Information System) คือระบบที่อำศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ำมำจัดกำรกับข้อมูล
เพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยที่ต้องกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ระบบสารสนเทศที่ดี ประกอบด้วย
1. เชื่อถือได้ (Reliable)
2. เข้ำใจง่ำย (Simple)
3. ทันต่อเวลำ (Timely)
4. คุ้มรำคำ (Economical)
5. ตรวจสอบได้ (Verifiable)
6. ยืดหยุ่น (Flexible)
7. สอดคล้องกับควำมต้องกำร (Relevant)
8. สะดวกในกำรเข้ำถึง (Accessible)
9. ปลอดภัย (Secure)
กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วย
1. กำรนำเข้ำข้อมูล (Input) คือกำรนำข้อมูล (Data) เข้ำสู่ระบบ เพื่อนำไปประมวลผล
2. กำรประมวลผลข้อมูล (Process) คือกระบวนกำรในกำรประมวลผลข้อมูล (Data) ให้เป็นสำรสนเทศ
(Information) เช่น กำรคำนวณ กำรเปรียบเทียบ กำรเรียงลำดับ หรือ กำรจัดรูปแบบ
3. กำรแสดงผล (Output) คือกำรนำสำรสนเทศที่ได้จำกกำรประมวลผลในรูปแบบต่ำง ๆ
2
4. กำรจัดเก็บข้อมูล (Storage) คือ กำรเก็บข้อมูลหรือสำรสนเทศไว้ในหน่วยควำมจำของระบบ
สำรสนเทศ ข้อมูลที่นำเข้ำไปในระบบจะถูกจัดเก็บไว้ในหน่วยควำมจำเพื่อจะได้นำไปประมวลผล ส่วนสำรสนเทศที่
ได้จำกกำรประมวลผลข้อมูลก็จะจัดเก็บไว้เพื่อนำไปใช้ได้อีกต่อไป
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในงานต่าง ๆ
กำรที่มีกำรพัฒนำเทคโนโลยีสำรสนเทศอย่ำงไม่หยุดยั้ง ทำให้เทคโนโลยีสำรสนเทศเข้ำมำมีบทบทและมี
ควำมสำคัญต่อชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่ำงมำก เช่น
ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ธุรกิจที่เกี่ยวกับ กำรเงิน กำรธนำคำร ที่ใช้กันอย่ำงหลำกหลำย เช่น ATM (Automatic
Teller Machine) ตลำดหลักทรัพย์เป็นต้น
ด้านสังคม เทคโนโลยีสำรสนเทศช่วยให้สังคมเกิดกำรเรียนรู้ที่สร้ำงสรรค์ และอยู่ร่วมกันอย่ำงมีควำมสุข
เช่น กำรช่วยเหลือผู้ด้อยโอกำสทำงสังคม ให้มีโอกำสใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศอย่ำงเท่ำเทียมกัน มีกำรมอบเครื่อง
คอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียนในชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยำบำล ผู้ต้องขัง รวมถึงกำรนำระบบเทคโนโลยี
สำรสนเทศมำช่วยให้คนตำบอดอ่ำนหนังสือได้เช่น หนังสือเสียงระบบ DAISY (Digital Accessible Information
System) จะเห็นได้ว่ำเทคโนโลยีสำรสนเทศมีส่วนช่วยลดช่องว่ำงระหว่ำงกลุ่มคนในสังคมได้เป็นอย่ำงดี
ด้านการศึกษา มีกำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำใช้ในด้ำนกำรศึกษำ เช่น กำรเรียนกำรสอนทำงไกล กำร
เรียนผ่ำนเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต (E-Learning) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI :
Computer Assisted Instruction) เป็นต้น
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีกำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำใช้เพื่อพัฒนำงำนด้ำนกำรแพทย์และ
สำธำรณสุขหลำยอย่ำง เช่น โครงกำรแพทย์ทำงไกล (Telemedicine) ซึ่งสนับสนุนและในกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลกำร
รักษำผู้ป่วย
ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ GIS (Geographic Information System) เพื่อกำรวิเครำะห์
สภำพพื้นที่ภูมิศำสตร์ที่แตกต่ำงกัน กำรประยุกต์ใช้งำนทำงด้ำนธรณีวิทยำ กำรพยำกรณ์อำกำศ กำรควบคุมสิ่งแวดล้อม
ให้ก้ำวหน้ำไปในทิศทำงที่ถูกต้องเหมำะสม
นอกจำกนี้ยังมีกำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศไปใช้ในงำนด้ำนอื่น ๆ อีกมำกมำย เช่น กำรทหำร ตำรวจ กำรเกษตร ธุรกิจ
กำรบิน เป็นต้น
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบสำรสนเทศสำมำรถจำแนกตำมลักษณะกำรดำเนินงำนได้ดังนี้
1. ระบบประมวลผลรำยกำรประจำวัน (TPS : Transaction Processing System) เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับ
กำรประมวลผลข้อมูลทำงธุรกิจที่เกิดขึ้นเป็นประจำ และปฏิบัติงำนซ้ำ ๆ กัน เช่น รำยกำรฝำกถอนเงิน รำยกำรคำสั่งซื้อ
จำกลูกค้ำ กำรบันทึกรำยกำรยืม-คืนวัสดุประจำวัน กำรบันทึกรำยกำรยอดขำยประจำวัน เป็นต้น สำรสนเทศที่ได้จะถูก
นำไปจัดทำเป็นรำยงำนตำมควำมต้องกำรหรือกำรประมวลผลขั้นสูงต่อไป มักพบเห็นกำรใช้ระบบ TPS ในระดับของ
กำรจัดกำรขั้นปฏิบัติกำร (Operational Management)
2. ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำร (MIS : Management Information System) เป็นระบบสำรสนเทศที่
เป็นแหล่งประมวลผลของระบบประมวลผลรำยกำรประจำวัน หรือ TPS เพื่อใช้สำหรับกำรจัดทำระบบสำรสนเทศใน
3
ระดับสูงให้กับผู้บริหำรในหน่วยงำนต่ำง ๆ จนถึงผู้บริหำรสูงสุดขององค์กร เกี่ยวข้องกับกำรนำไปใช้วำงแผนและ
ควบคุมงำนขององค์กรแทบทุกระดับชั้น MIS จะสำมำรถคำนวณและเปรียบเทียบกำรประมวลผลต่ำง ๆ รวมถึงกำร
ออกรำยงำนได้ซึ่งจะถูกต้องมำกน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับ TPS
3. ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ (DSS : Decision Support System) เป็นระบบสำรสนเทศที่นำมำใช้
สำหรับกำรช่วยตัดสินใจในระดับของกำรจัดกำรขั้นกลำง (Middle Management) และขั้นสูง (Top Management) ซึ่งจะ
ช่วยให้ผู้บริหำรในขั้นดังกล่ำวสำมำรถตัดสินใจได้ง่ำยมำกยิ่งขึ้น โดยเฉพำะในเรื่องขงกำรแข่งขันทำงดำนธุรกิจที่
รุนแรง ควำมได้เปรียบในเรื่องกำรตัดสินใจดังกล่ำวจะสนองตอบอย่ำงทันท่วงที มีควำมยืดหยุ่น มีกำรวิเครำะห์หรือ
พยำกรณ์ค่ำทำงสิติ เพื่อช่วยให้กำรตัดสินใจง่ำยขึ้น และปรับใช้ได้ในหลำย ๆ สถำนกำรณ์
4. ระบบเพื่อผู้บริหำร (EIS : Executive Information System) คือ ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจรูปแบบ
หนึ่ง นำมำใช้สำหรับผู้บริหำรระดับสูงโดยเฉพำะ มักใช้สำหรับ ตรวจสอบ ควบคุม หรือดูทิศทำง แนวโน้มขององค์กร
ในภำพรวม ส่วนใหญ่จะนำเสนอสำรสนเทศในรูปแบบรำยงำน ตำรำง กรำฟ เพื่อสรุปสำรสนเทศให้ผู้บริหำรเข้ำใจได้
ง่ำยและประหยัดเวลำ
5. ระบบผู้เชี่ยวชำญ (ES : Expert System) คือ ระบบสำรสนเทศที่อำศัยฐำนควำมรู้มำประยุกต์ใช้ในกำร
วินิจฉัยหรือสั่งกำร มีกำรจัดเก็บควำมรู้และประสบกำรณ์ของผู้เชี่ยวชำญรวบรวมไว้เมื่อผู้ใช้งำนต้องกำรข้อมูลเพื่อ
ตัดสินใจ ฐำนควำมรู้ดังกล่ำวจะถูกนำมำหำข้อสรุป และช่วยในกำรตัดสินใจได้ทำให้ลดปัญหำกำรขำดแคลนบุคลำกร
ผู้เชี่ยวชำญลงได้กำรนะระบบผู้เชี่ยวชำญไปประยุกต์ใช้ เช่น กำรรักษำโรคของแพทย์กำรแนะนำกำรผลิตสินค้ำแก่
โรงงำนอุตสำหกรรม และกำรอนุมัติบัตรเครดิต
6. ระบบสำนักงำนอัตโนมัติ (OAS : Office Automation System) คือ ระบบที่นำมำใช้ในสำนักงำนเพื่อ
เอื้อประโยชน์ต่อกำรทำงำนให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น เทคโนโลยีที่นำมำใช้จะอำศัยอุปกรณ์สำนักงำนทั่วไป เช่น
เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ำยเอกสำร โทรสำร หรือเทคโนโลยีเครือข่ำยขั้นสูง เช่น กำรสื่อสำรผ่ำน
ดำวเทียม ไฟเบอร์ออปติก หรือกำรประชุมทำงไกล เพื่อให้รวดเร็วทันต่อควำมต้องกำร ลดค่ำใช้จ่ำยและแรงงำนที่ไม่
จำเป็นออกไป
7. ปัญญำประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คือ กำรพัฒนำระบบคอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเหมือน
มนุษย์โดยเฉพำะควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ และควำมสำมำรถทำงประสำทสัมผัส ซึ่งเลียนแบบกำรเรียนรู้และกำร
ตัดสินใจของมนุษย์ปัญญำประดิษฐ์มีหลำยสำขำวิชำ เช่น กำรประมวลผลภำษำธรรมชำติ ศำสตร์ด้ำนหุ่นยนต์ ระบบ
กำรเรียนรู้ เครือข่ำยเส้นประสำท และระบบผู้เชี่ยวชำญ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
1. ฮำร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
3. บุคลำกร (Peopleware)
4. ข้อมูล (Data)
5. ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน (Process)
4
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่ใช้งำนในระบบสำรสนเทศ เช่น อุปกรณ์
สำนักงำน เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่ำง ๆ ฮำร์ดแวร์ที่สำคัญที่สุดในระบบสำรสนเทศ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคำสั่งที่ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ผลลัพธ์ตำม
ต้องกำร ซอฟต์แวร์จะถูกเขียนขึ้นด้วยภำษำต่ำง ๆ กำรเลือกใช้ซอฟต์แวร์ให้เหมำะสมกับงำนจะช่วยให้กำรใช้
เทคโนโลยีเกิดประสิทธิภำพสูงสุด
บุคลากร (Peopleware) คือ บุคคลที่ปฏิบัติงำนในด้ำนคอมพิวเตอร์ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสำรสนเทศ
ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมได้ อำจจะเกี่ยวกับ คน สัตว์สิ่งของ หรือเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ
ข้อมูลนับเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสำรสนเทศ เพรำะกำรนำข้อมูลไปประมวลผลจะได้สำรสนเทศ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process) คือ ขั้นตอนกำรทำงำนเพื่อให้ได้สำรสนเทศตำมที่ต้องกำร กระบวนกำร
ทำงำนของระบบสำรสนเทศแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 กำรวำงแผนระบบ (System Planning) เพื่อกำรตรวจสอบระบบงำนเบื้องต้น (Initial
Investigation) เช่น
- กำรรับรู้ปัญหำที่เกิดขึ้นของระบบงำนเดิม
- กำรหำสำเหตุของปัญหำที่เกิดจำกระบบงำนเดิม
- กำรทำกำรศึกษำควำมเป็นไปได้ในแง่มุมต่ำง ๆ เช่น ต้นทุนและทรัพยำกร
- กำรรวบรวมควำมต้องกำรจำกผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น กำรรวบรวมเอกสำร กำรสัมภำษณ์ กำรสังเกต
และกำรออกแบบสอบถำม
ดังนั้นจึงต้องมีกำรสำรวจเบื้องต้น (Preliminary Investigation) เพื่อศึกษำสิ่งต่อไปนี้
- กำรกำหนดปัญหำและควำมต้องกำร (Determination of Problems and Requirements)
- กำรกำหนดวัตถุประสงค์ (Specification of Objectives) เป็นกำรกำหนดให้แน่ชัดว่ำจะแก้ไข
ปัญหำอะไรบ้ำงจำกปัญหำทั้งหมด
- กำรศึกษำควำมเป็นไปได้ (Feasibility Study) พิจำรณำจำก ควำมเป็นไปได้ทำงเทคนิค (Technical
Feasibility) ควำมเป็นไปได้ในกำรปฏิบัติงำน (Operational Feasibility) และ ควำมเป็นไปได้เชิงเศรษฐศำสตร์
(Economical Feasibility)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เป็นขั้นตอนกำรวิเครำะห์ระบบงำนปัจจุบันหรือ
ระบบงำนเดิม ซึ่งอำจเป็นระบบงำนที่ใช้คอมพิวเตอร์อยู่หรือไม่ก็ได้เพื่อให้ทรำบถึงรำยละเอียดของระบบงำนที่ใช้อยู่
ข้อดี ข้อเสีย ทรัพยำกร และควำมเหมำะสมของระบบงำนในแต่ละส่วน เพื่อเตรียมกำรปรับเปลี่ยนให้เป็นระบบ
สำรสนเทศใหม่ สิ่งที่ต้องวิเครำะห์ระบบ ได้แก่
1. วิเครำะห์ปัญหำหลักและปัญหำรองที่เกิดขึ้นในระบบ (Redefine the Problem)
2. ทำควำมเข้ำใจระบบงำนเดิม (Understand Existing System)
3. กำหนดควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และข้อจำกัดในกำรใช้ระบบงำนใหม่ (User Requirements
and Constrains)
4. เสนอทำงเลือกในกำรออกแบบระบบ โดยกำรสร้ำงแบบจำลองเชิงตรรกะ (Logical Model)
5
ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล โดยส่วนใหญ่มักวิเครำะห์ออกมำในรูปแบบของแผนภำพกำรไหลของข้อมูล
(DFD : Data Flow Diagram) ซึ่งแสดงกำรไหลของข้อมูลทั้งระบบ และช่วยในกำรสื่อสำรระหว่ำงนักวิเครำะห์ระบบ
(System Analyst) กับผู้ใช้ระบบ (User)
ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบระบบ (System Design) เป็นกำรนำผลลัพธ์ท่ได้จำกกำรวิเครำะห์ระบบมำ
พัฒนำเป็นรูปแบบำงกำยภำพ (Physical Model) โดยเริ่มจำกกำรออกแบบงำนทำงด้ำนฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ทั้งใน
ส่วนนำข้อมูลเข้ำ (Input) ส่วนประมวลผล (Process) ส่วนแสดงผลลัพธ์ (Output) ส่วนจัดเก็บข้อมูล (Storage) กำร
ออกแบบจำลองข้อมูล กำรออกแบบรำยงำน และกำรออกแบบหน้ำจอในกำรติดต่อกับผู้ใช้ระบบ ซึ่งจะต้องมุ่งเน้นกำร
วิเครำะห์ว่ำช่วยแก้ปัญหำอะไร (What?) และกำรออกแบบช่วยแก้ปัญหำอย่ำงไร (How?)
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาระบบ (System Development) ประกอบด้วย กำรเขียนโปรแกรมเพื่อสร้ำง
ระบบงำน กำรทดสอบโปรแกรมหน่วยย่อย (Unit Test) กำรทดสอบระบบรวม (System Integration Test) กำรแก้ไข
ข้อผิดพลำดที่พบ (Bug) ตลอดจนกำรจัดทำเอกสำร (Document) ทั้งในส่วนของเอกสำรโปรแกรม เอกสำรระบบ และ
คู่มือกำรฝึกอบรมสำหรับผู้ปฏิบัติงำน ข้อควรคำนึงถึงในกำรพัฒนำระบบ คือ กำรเลือกภำษำคอมพิวเตอร์ที่เหมำะสม
และพัฒนำต่อได้ง่ำย
ขั้นตอนที่ 5 การติดตั้งระบบ (System Implementation) เป็นขั้นตอนกำรส่งมอบระบบเพื่อนำไปใช้จริง
โดยจะรวมถึงกำรจัดเตรียมแฟ้มข้อมูลหรือฐำนข้อมูลของระบบ กำรอบรมผู้ที่เกี่ยวข้อง กำรปรับเปลี่ยนระบบงำนเดิม
มำใช้ระบบงำนใหม่ ซึ่งจะต้องคำนึงถึงสภำพแวดล้อมของพื้นที่ที่จะติดตั้ง อุปกรณ์ที่ใช้ และผู้เชี่ยวชำญหรือทีมงำน
ด้ำนเทคนิค (Technical Support) ที่เกี่ยวข้อง จำกนั้นจึงติดตั้งโปรแกรมให้ครบถ้วน
ขั้นตอนที่ 6 การดูแลรักษาระบบ (System Maintenance) เป็นขั้นตอนสุดท้ำยในวงจรพัฒนำระบบ ซึ่ง
เป็นขั้นตอนกำรดูแลแก้ไขปัญหำระบบงำนใหม่ ถ้ำเกิดปัญหำจำกโปรแกรม นักเขียนโปรแกรม (Programmer) จะต้อง
แก้ไข หรือผู้ใช้อำจต้องกำรวิธีกำรทำงำนใหม่ ๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้ กำรดูแลรักษำระบบจะเป็นขั้นตอนในส่วนที่จะเกิด
ตำมมำภำยหลังที่ได้มีกำรติดตั้งและใช้งำนระบบแล้ว
ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
1. ควำมหมำยของข้อมูล สำรสนเทศ และระบบสำรสนเทศ
2. ชนิดของข้อมูล
3. โครงสร้ำงของข้อมูล
4. กำรแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
5. ภำษำคอมพิวเตอร์
ข้อมูล (Data) คือข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมได้ข้อเท็จจริงนี้อำจเกี่ยวข้องกับวัตถุ เหตุกำรณ์ คน สัตว์สิ่งของ
และ อื่น ๆ ข้อมูลอำจจะเป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ซึ่งมีควำมหมำยหรือไม่มีก็ได้
ชนิดของข้อมูล มีอยู่ 2 ชนิด คือ
1. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ตัวเลขที่สำมำรถนำไปใช้ในกำรคำนวณได้
6
2. ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) ได้แก่ ตัวอักษร เครื่องหมำย สัญลักษณ์ หรือตัวเลขซึ่งไม่
สำมำรถใช้ในกำรคำนวณได้
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้ำงข้อมูลคอมพิวเตอร์สำมำรถจัดเรียงเป็นลำดับชั้นจำกขนำดเล็กไปขนำดใหญ่ได้ดังนี้
โครงสร้างข้อมูล ความหมาย
BIT ข้อมูลที่มีขนำดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สำมำรถ
เข้ำใจและนำไปใช้งำนได้ได้แก่ เลข 0 และ 1 เท่ำนั้น
ตัวอักขระ (Character)
หรือ Byte
อักขระ ซึ่งอำจเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ สัญลักษณ์ หรือ
เครื่องหมำยต่ำง ๆ 1 Byte ประกอบด้วย 8 BIT คือ อักขระ 1 ตัว
เขตข้อมูล (Field) หน่วยของข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมำแทนควำมหมำยใด
ควำมหมำยหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยอักขระตั้งแต่
หนึ่งตัวขึ้นไป
ระเบียนข้อมูล
(Record)
กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีควำมเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูล
ประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่หนึ่งเขตข้อมูลขึ้นไป
แฟ้มข้อมูล (File) กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย
ระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป
ฐำนข้อมูล (Database) กำรเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลหลำย ๆ แฟ้ม ที่เกี่ยวข้องกัน มำ
รวมเข้ำด้วยกัน
การแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยควำมจำของคอมพิวเตอร์ จะอยู่ในลักษณะของรหัสแทนข้อมูล (Data
Representation) คือ เลขฐำนสอง ได้แก่ 0 และ 1 ซึ่งได้แก่ รหัส ASCII (American Standard Code International
Interchange) และ EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)
ข้อมูลที่ส่งเข้ำไปเก็บไว้ในหน่วยควำมจำของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น อำจเป็นตัวอักษร ตัวเลข
สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมำยใด ๆ แต่คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลเหล่ำนี้เข้ำไปในลักษณะของรหัสซึ่งเป็นตัวเลขทั้งสิ้น
อักขระ ASCII EBCDIC
A 01000001 11000001
B 01000010 1100010
Z 01011010 11101001
คอมพิวเตอร์จะเข้ำใจเฉพำะเลขฐำนสอง จึงต้องมีกำรแปลงข้อมูลที่อำจเป็น ตัวอักษร ตัวเลข หรือ
เครื่องหมำยใด ๆ ก็ตำม ให้เป็นเลขฐำนสองก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะสำมำรถประมวลผลข้อมูลนั้นได้
7
เลขฐำนสองแต่ละตัวเรียกว่ำ บิต (BIT : Binary Digit) เมื่อนำเลขฐำนสอง 8 ตัวมำเรียงกัน จะใช้แทน
อักขระ 1 ตัว ฉะนั้นจะแทนอักขระได้ทั้งหมด 256 ตัว
หน่วยวัดความจาในระบบคอมพิวเตอร์
8 BIT = 1 Byte
1,024 Byte = 1 Kilo Byte
1,024 Kilo Byte = 1 Mega Byte
1,024 Mega Byte = 1 Giga Byte
1,024 Giga Byte = 1 Terra Byte
เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลแล้ว จะส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลำง ข้อมูลที่ผ่ำนกำร
ประมวลผลแล้ว เรียกว่ำ สารสนเทศ
ภาษาในระบบคอมพิวเตอร์
กำรทำงำนของระบบคอมพิวเตอร์นั้น นอกจำกจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว จะต้องมีชุดคำสั่งหรือที่
เรียกว่ำ “โปรแกรม” ซึ่งเป็น Software ที่ใช้ในกำรสั่งงำนเครื่องให้ทำงำนตำมต้องกำร ชุดคำสั่งนี้สร้ำงขึ้นมำจำกภำษำ
ในระบบคอมพิวเตอร์ภำษำใดภำษำหนึ่ง เรียกว่ำ “Source Code” ยังไม่สำมำรถสั่งงำนเครื่องได้ ต้องแปลให้เป็น
เลขฐำนสองก่อนจึงจะสั่งงำนเครื่องได้ เรียกว่ำ “Object Code”
ภาษาในระบบคอมพิวเตอร์ มี 3 ภาษา ได้แก่
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) ได้แก่เลขฐำนสอง คือ 0 และ 1 ซึ่งเป็นภำษำที่ใช้สั่งงำนเครื่องได้
เป็นภำษำเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้ำใจ
2. ภาษาระดับต่า (Low – Level Language) เป็นภำษำสัญลักษณ์ มีเพียงภำษำเดียว คือ Assembly ต้องมี
โปรแกรมตัวแปลภำษำ คือ Assembler ทำหน้ำที่แปลภำษำระดับต่ำให้เป็นภำษำเครื่องก่อน จึงจะสั่งงำนเครื่องได้
3. ภาษาระดับสูง (High – Level Language) เป็นภำษำที่ใกล้เคียงภำษำมนุษย์มีหลำยภำษำซึ่งใช้งำน
แตกต่ำงกันไป เช่น ภำษำ C, Pascal, BASIC, COBAL, FORTRAN เป็นต้น ต้องมีโปรแกรมตัวแปลภำษำให้เป็น
ภำษำเครื่องก่อน จึงจะสั่งงำนเครื่องได้
โปรแกรมตัวแปลภาษาระดับสูง ได้แก่
1. Interpreter ทำหน้ำที่แปลชุดคำสั่งทีละคำสั่ง และแปลทุกครั้งที่จะใช้งำน ใช้ในกำรแปลภำษำ BASIC
2. Compiler ทำหน้ำที่แปลชุดคำสั่งโดยแปลทีเดียวทุกคำสั่ง แล้วสำมำรถนำไปใช้สั่งงำนเครื่องได้เลย ไม่
ต้องแปลอีก เมื่อแปลแล้วเรียกว่ำ “Object Code” ผู้ใช้จะไม่สำมำรถแก้ไขคำสั่งได้
------------------------------------------

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารzmikos_
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศAnn Koklang
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for BusinessChairat Jussapalo
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลNongpla Narak
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sakorn patinthu
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sakorn patinthu
 

What's hot (10)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for Business
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
1
11
1
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1sawitri555
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpchutikan
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ โลกยุคปัจจุบันนี้กำลังก้ำวหมุนไปด้วยพลังแห่งสำรสนเทศ (Information is Power) ระบบสำรสนเทศ เป็น กำรปฏิบัติงำนเกี่ยวกับเอกสำรจำนวนมำก กำรทำงำนในรูปแบบกำรทำด้วยมือ (Manual) จะต้องใช้เวลำในกำร ประมวลผลนำน และขำดควำมน่ำเชื่อถือ ต่อมำจึงมีกำรพัฒนำระบบสำรสนเทศด้วยกำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้ ส่งผลให้ ทำงำนได้รวดเร็ว และสำรสนเทศที่ได้มีควำมถูกต้องมำกขึ้น ความหมาย เทคโนโลยี (Technology) คือ กำรนำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำพัฒนำเป็นองค์ควำมรู้ใหม่ เพื่อนำมำ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อีกได้เทคโนโลยีที่นำมำใช้ในกำรจัดกำรสนเทศส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสำรและโทรคมนำคม เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ กำรประยุกต์ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์มำใช้ในกำรจัดกำร สำรสนเทศ ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่ได้จำกกำรเก็บรวบรวม ไม่ว่ำจะเกี่ยวกับ คน สัตว์สิ่งของ หรือ เหตุกำรณ์ ข้อมูล อำจจะอยู่ในรูปของ ตัวอักษร ข้อควำม ตัวเลข รูปภำพ และเสียง สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่ำนกำรประมวลผลเพื่อนำไปใช้ในกำรตัดสินใจ ระบบสารสนเทศ (Information System) คือระบบที่อำศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ำมำจัดกำรกับข้อมูล เพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยที่ต้องกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ ระบบสารสนเทศที่ดี ประกอบด้วย 1. เชื่อถือได้ (Reliable) 2. เข้ำใจง่ำย (Simple) 3. ทันต่อเวลำ (Timely) 4. คุ้มรำคำ (Economical) 5. ตรวจสอบได้ (Verifiable) 6. ยืดหยุ่น (Flexible) 7. สอดคล้องกับควำมต้องกำร (Relevant) 8. สะดวกในกำรเข้ำถึง (Accessible) 9. ปลอดภัย (Secure) กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วย 1. กำรนำเข้ำข้อมูล (Input) คือกำรนำข้อมูล (Data) เข้ำสู่ระบบ เพื่อนำไปประมวลผล 2. กำรประมวลผลข้อมูล (Process) คือกระบวนกำรในกำรประมวลผลข้อมูล (Data) ให้เป็นสำรสนเทศ (Information) เช่น กำรคำนวณ กำรเปรียบเทียบ กำรเรียงลำดับ หรือ กำรจัดรูปแบบ 3. กำรแสดงผล (Output) คือกำรนำสำรสนเทศที่ได้จำกกำรประมวลผลในรูปแบบต่ำง ๆ
  • 2. 2 4. กำรจัดเก็บข้อมูล (Storage) คือ กำรเก็บข้อมูลหรือสำรสนเทศไว้ในหน่วยควำมจำของระบบ สำรสนเทศ ข้อมูลที่นำเข้ำไปในระบบจะถูกจัดเก็บไว้ในหน่วยควำมจำเพื่อจะได้นำไปประมวลผล ส่วนสำรสนเทศที่ ได้จำกกำรประมวลผลข้อมูลก็จะจัดเก็บไว้เพื่อนำไปใช้ได้อีกต่อไป การนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในงานต่าง ๆ กำรที่มีกำรพัฒนำเทคโนโลยีสำรสนเทศอย่ำงไม่หยุดยั้ง ทำให้เทคโนโลยีสำรสนเทศเข้ำมำมีบทบทและมี ควำมสำคัญต่อชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่ำงมำก เช่น ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ธุรกิจที่เกี่ยวกับ กำรเงิน กำรธนำคำร ที่ใช้กันอย่ำงหลำกหลำย เช่น ATM (Automatic Teller Machine) ตลำดหลักทรัพย์เป็นต้น ด้านสังคม เทคโนโลยีสำรสนเทศช่วยให้สังคมเกิดกำรเรียนรู้ที่สร้ำงสรรค์ และอยู่ร่วมกันอย่ำงมีควำมสุข เช่น กำรช่วยเหลือผู้ด้อยโอกำสทำงสังคม ให้มีโอกำสใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศอย่ำงเท่ำเทียมกัน มีกำรมอบเครื่อง คอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียนในชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยำบำล ผู้ต้องขัง รวมถึงกำรนำระบบเทคโนโลยี สำรสนเทศมำช่วยให้คนตำบอดอ่ำนหนังสือได้เช่น หนังสือเสียงระบบ DAISY (Digital Accessible Information System) จะเห็นได้ว่ำเทคโนโลยีสำรสนเทศมีส่วนช่วยลดช่องว่ำงระหว่ำงกลุ่มคนในสังคมได้เป็นอย่ำงดี ด้านการศึกษา มีกำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำใช้ในด้ำนกำรศึกษำ เช่น กำรเรียนกำรสอนทำงไกล กำร เรียนผ่ำนเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต (E-Learning) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer Assisted Instruction) เป็นต้น ด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีกำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำใช้เพื่อพัฒนำงำนด้ำนกำรแพทย์และ สำธำรณสุขหลำยอย่ำง เช่น โครงกำรแพทย์ทำงไกล (Telemedicine) ซึ่งสนับสนุนและในกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลกำร รักษำผู้ป่วย ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ GIS (Geographic Information System) เพื่อกำรวิเครำะห์ สภำพพื้นที่ภูมิศำสตร์ที่แตกต่ำงกัน กำรประยุกต์ใช้งำนทำงด้ำนธรณีวิทยำ กำรพยำกรณ์อำกำศ กำรควบคุมสิ่งแวดล้อม ให้ก้ำวหน้ำไปในทิศทำงที่ถูกต้องเหมำะสม นอกจำกนี้ยังมีกำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศไปใช้ในงำนด้ำนอื่น ๆ อีกมำกมำย เช่น กำรทหำร ตำรวจ กำรเกษตร ธุรกิจ กำรบิน เป็นต้น ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสำรสนเทศสำมำรถจำแนกตำมลักษณะกำรดำเนินงำนได้ดังนี้ 1. ระบบประมวลผลรำยกำรประจำวัน (TPS : Transaction Processing System) เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับ กำรประมวลผลข้อมูลทำงธุรกิจที่เกิดขึ้นเป็นประจำ และปฏิบัติงำนซ้ำ ๆ กัน เช่น รำยกำรฝำกถอนเงิน รำยกำรคำสั่งซื้อ จำกลูกค้ำ กำรบันทึกรำยกำรยืม-คืนวัสดุประจำวัน กำรบันทึกรำยกำรยอดขำยประจำวัน เป็นต้น สำรสนเทศที่ได้จะถูก นำไปจัดทำเป็นรำยงำนตำมควำมต้องกำรหรือกำรประมวลผลขั้นสูงต่อไป มักพบเห็นกำรใช้ระบบ TPS ในระดับของ กำรจัดกำรขั้นปฏิบัติกำร (Operational Management) 2. ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำร (MIS : Management Information System) เป็นระบบสำรสนเทศที่ เป็นแหล่งประมวลผลของระบบประมวลผลรำยกำรประจำวัน หรือ TPS เพื่อใช้สำหรับกำรจัดทำระบบสำรสนเทศใน
  • 3. 3 ระดับสูงให้กับผู้บริหำรในหน่วยงำนต่ำง ๆ จนถึงผู้บริหำรสูงสุดขององค์กร เกี่ยวข้องกับกำรนำไปใช้วำงแผนและ ควบคุมงำนขององค์กรแทบทุกระดับชั้น MIS จะสำมำรถคำนวณและเปรียบเทียบกำรประมวลผลต่ำง ๆ รวมถึงกำร ออกรำยงำนได้ซึ่งจะถูกต้องมำกน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับ TPS 3. ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ (DSS : Decision Support System) เป็นระบบสำรสนเทศที่นำมำใช้ สำหรับกำรช่วยตัดสินใจในระดับของกำรจัดกำรขั้นกลำง (Middle Management) และขั้นสูง (Top Management) ซึ่งจะ ช่วยให้ผู้บริหำรในขั้นดังกล่ำวสำมำรถตัดสินใจได้ง่ำยมำกยิ่งขึ้น โดยเฉพำะในเรื่องขงกำรแข่งขันทำงดำนธุรกิจที่ รุนแรง ควำมได้เปรียบในเรื่องกำรตัดสินใจดังกล่ำวจะสนองตอบอย่ำงทันท่วงที มีควำมยืดหยุ่น มีกำรวิเครำะห์หรือ พยำกรณ์ค่ำทำงสิติ เพื่อช่วยให้กำรตัดสินใจง่ำยขึ้น และปรับใช้ได้ในหลำย ๆ สถำนกำรณ์ 4. ระบบเพื่อผู้บริหำร (EIS : Executive Information System) คือ ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจรูปแบบ หนึ่ง นำมำใช้สำหรับผู้บริหำรระดับสูงโดยเฉพำะ มักใช้สำหรับ ตรวจสอบ ควบคุม หรือดูทิศทำง แนวโน้มขององค์กร ในภำพรวม ส่วนใหญ่จะนำเสนอสำรสนเทศในรูปแบบรำยงำน ตำรำง กรำฟ เพื่อสรุปสำรสนเทศให้ผู้บริหำรเข้ำใจได้ ง่ำยและประหยัดเวลำ 5. ระบบผู้เชี่ยวชำญ (ES : Expert System) คือ ระบบสำรสนเทศที่อำศัยฐำนควำมรู้มำประยุกต์ใช้ในกำร วินิจฉัยหรือสั่งกำร มีกำรจัดเก็บควำมรู้และประสบกำรณ์ของผู้เชี่ยวชำญรวบรวมไว้เมื่อผู้ใช้งำนต้องกำรข้อมูลเพื่อ ตัดสินใจ ฐำนควำมรู้ดังกล่ำวจะถูกนำมำหำข้อสรุป และช่วยในกำรตัดสินใจได้ทำให้ลดปัญหำกำรขำดแคลนบุคลำกร ผู้เชี่ยวชำญลงได้กำรนะระบบผู้เชี่ยวชำญไปประยุกต์ใช้ เช่น กำรรักษำโรคของแพทย์กำรแนะนำกำรผลิตสินค้ำแก่ โรงงำนอุตสำหกรรม และกำรอนุมัติบัตรเครดิต 6. ระบบสำนักงำนอัตโนมัติ (OAS : Office Automation System) คือ ระบบที่นำมำใช้ในสำนักงำนเพื่อ เอื้อประโยชน์ต่อกำรทำงำนให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น เทคโนโลยีที่นำมำใช้จะอำศัยอุปกรณ์สำนักงำนทั่วไป เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ำยเอกสำร โทรสำร หรือเทคโนโลยีเครือข่ำยขั้นสูง เช่น กำรสื่อสำรผ่ำน ดำวเทียม ไฟเบอร์ออปติก หรือกำรประชุมทำงไกล เพื่อให้รวดเร็วทันต่อควำมต้องกำร ลดค่ำใช้จ่ำยและแรงงำนที่ไม่ จำเป็นออกไป 7. ปัญญำประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คือ กำรพัฒนำระบบคอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเหมือน มนุษย์โดยเฉพำะควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ และควำมสำมำรถทำงประสำทสัมผัส ซึ่งเลียนแบบกำรเรียนรู้และกำร ตัดสินใจของมนุษย์ปัญญำประดิษฐ์มีหลำยสำขำวิชำ เช่น กำรประมวลผลภำษำธรรมชำติ ศำสตร์ด้ำนหุ่นยนต์ ระบบ กำรเรียนรู้ เครือข่ำยเส้นประสำท และระบบผู้เชี่ยวชำญ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1. ฮำร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. บุคลำกร (Peopleware) 4. ข้อมูล (Data) 5. ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน (Process)
  • 4. 4 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่ใช้งำนในระบบสำรสนเทศ เช่น อุปกรณ์ สำนักงำน เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่ำง ๆ ฮำร์ดแวร์ที่สำคัญที่สุดในระบบสำรสนเทศ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคำสั่งที่ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ผลลัพธ์ตำม ต้องกำร ซอฟต์แวร์จะถูกเขียนขึ้นด้วยภำษำต่ำง ๆ กำรเลือกใช้ซอฟต์แวร์ให้เหมำะสมกับงำนจะช่วยให้กำรใช้ เทคโนโลยีเกิดประสิทธิภำพสูงสุด บุคลากร (Peopleware) คือ บุคคลที่ปฏิบัติงำนในด้ำนคอมพิวเตอร์ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสำรสนเทศ ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมได้ อำจจะเกี่ยวกับ คน สัตว์สิ่งของ หรือเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ข้อมูลนับเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสำรสนเทศ เพรำะกำรนำข้อมูลไปประมวลผลจะได้สำรสนเทศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process) คือ ขั้นตอนกำรทำงำนเพื่อให้ได้สำรสนเทศตำมที่ต้องกำร กระบวนกำร ทำงำนของระบบสำรสนเทศแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 กำรวำงแผนระบบ (System Planning) เพื่อกำรตรวจสอบระบบงำนเบื้องต้น (Initial Investigation) เช่น - กำรรับรู้ปัญหำที่เกิดขึ้นของระบบงำนเดิม - กำรหำสำเหตุของปัญหำที่เกิดจำกระบบงำนเดิม - กำรทำกำรศึกษำควำมเป็นไปได้ในแง่มุมต่ำง ๆ เช่น ต้นทุนและทรัพยำกร - กำรรวบรวมควำมต้องกำรจำกผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น กำรรวบรวมเอกสำร กำรสัมภำษณ์ กำรสังเกต และกำรออกแบบสอบถำม ดังนั้นจึงต้องมีกำรสำรวจเบื้องต้น (Preliminary Investigation) เพื่อศึกษำสิ่งต่อไปนี้ - กำรกำหนดปัญหำและควำมต้องกำร (Determination of Problems and Requirements) - กำรกำหนดวัตถุประสงค์ (Specification of Objectives) เป็นกำรกำหนดให้แน่ชัดว่ำจะแก้ไข ปัญหำอะไรบ้ำงจำกปัญหำทั้งหมด - กำรศึกษำควำมเป็นไปได้ (Feasibility Study) พิจำรณำจำก ควำมเป็นไปได้ทำงเทคนิค (Technical Feasibility) ควำมเป็นไปได้ในกำรปฏิบัติงำน (Operational Feasibility) และ ควำมเป็นไปได้เชิงเศรษฐศำสตร์ (Economical Feasibility) ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เป็นขั้นตอนกำรวิเครำะห์ระบบงำนปัจจุบันหรือ ระบบงำนเดิม ซึ่งอำจเป็นระบบงำนที่ใช้คอมพิวเตอร์อยู่หรือไม่ก็ได้เพื่อให้ทรำบถึงรำยละเอียดของระบบงำนที่ใช้อยู่ ข้อดี ข้อเสีย ทรัพยำกร และควำมเหมำะสมของระบบงำนในแต่ละส่วน เพื่อเตรียมกำรปรับเปลี่ยนให้เป็นระบบ สำรสนเทศใหม่ สิ่งที่ต้องวิเครำะห์ระบบ ได้แก่ 1. วิเครำะห์ปัญหำหลักและปัญหำรองที่เกิดขึ้นในระบบ (Redefine the Problem) 2. ทำควำมเข้ำใจระบบงำนเดิม (Understand Existing System) 3. กำหนดควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และข้อจำกัดในกำรใช้ระบบงำนใหม่ (User Requirements and Constrains) 4. เสนอทำงเลือกในกำรออกแบบระบบ โดยกำรสร้ำงแบบจำลองเชิงตรรกะ (Logical Model)
  • 5. 5 ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล โดยส่วนใหญ่มักวิเครำะห์ออกมำในรูปแบบของแผนภำพกำรไหลของข้อมูล (DFD : Data Flow Diagram) ซึ่งแสดงกำรไหลของข้อมูลทั้งระบบ และช่วยในกำรสื่อสำรระหว่ำงนักวิเครำะห์ระบบ (System Analyst) กับผู้ใช้ระบบ (User) ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบระบบ (System Design) เป็นกำรนำผลลัพธ์ท่ได้จำกกำรวิเครำะห์ระบบมำ พัฒนำเป็นรูปแบบำงกำยภำพ (Physical Model) โดยเริ่มจำกกำรออกแบบงำนทำงด้ำนฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ทั้งใน ส่วนนำข้อมูลเข้ำ (Input) ส่วนประมวลผล (Process) ส่วนแสดงผลลัพธ์ (Output) ส่วนจัดเก็บข้อมูล (Storage) กำร ออกแบบจำลองข้อมูล กำรออกแบบรำยงำน และกำรออกแบบหน้ำจอในกำรติดต่อกับผู้ใช้ระบบ ซึ่งจะต้องมุ่งเน้นกำร วิเครำะห์ว่ำช่วยแก้ปัญหำอะไร (What?) และกำรออกแบบช่วยแก้ปัญหำอย่ำงไร (How?) ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาระบบ (System Development) ประกอบด้วย กำรเขียนโปรแกรมเพื่อสร้ำง ระบบงำน กำรทดสอบโปรแกรมหน่วยย่อย (Unit Test) กำรทดสอบระบบรวม (System Integration Test) กำรแก้ไข ข้อผิดพลำดที่พบ (Bug) ตลอดจนกำรจัดทำเอกสำร (Document) ทั้งในส่วนของเอกสำรโปรแกรม เอกสำรระบบ และ คู่มือกำรฝึกอบรมสำหรับผู้ปฏิบัติงำน ข้อควรคำนึงถึงในกำรพัฒนำระบบ คือ กำรเลือกภำษำคอมพิวเตอร์ที่เหมำะสม และพัฒนำต่อได้ง่ำย ขั้นตอนที่ 5 การติดตั้งระบบ (System Implementation) เป็นขั้นตอนกำรส่งมอบระบบเพื่อนำไปใช้จริง โดยจะรวมถึงกำรจัดเตรียมแฟ้มข้อมูลหรือฐำนข้อมูลของระบบ กำรอบรมผู้ที่เกี่ยวข้อง กำรปรับเปลี่ยนระบบงำนเดิม มำใช้ระบบงำนใหม่ ซึ่งจะต้องคำนึงถึงสภำพแวดล้อมของพื้นที่ที่จะติดตั้ง อุปกรณ์ที่ใช้ และผู้เชี่ยวชำญหรือทีมงำน ด้ำนเทคนิค (Technical Support) ที่เกี่ยวข้อง จำกนั้นจึงติดตั้งโปรแกรมให้ครบถ้วน ขั้นตอนที่ 6 การดูแลรักษาระบบ (System Maintenance) เป็นขั้นตอนสุดท้ำยในวงจรพัฒนำระบบ ซึ่ง เป็นขั้นตอนกำรดูแลแก้ไขปัญหำระบบงำนใหม่ ถ้ำเกิดปัญหำจำกโปรแกรม นักเขียนโปรแกรม (Programmer) จะต้อง แก้ไข หรือผู้ใช้อำจต้องกำรวิธีกำรทำงำนใหม่ ๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้ กำรดูแลรักษำระบบจะเป็นขั้นตอนในส่วนที่จะเกิด ตำมมำภำยหลังที่ได้มีกำรติดตั้งและใช้งำนระบบแล้ว ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ 1. ควำมหมำยของข้อมูล สำรสนเทศ และระบบสำรสนเทศ 2. ชนิดของข้อมูล 3. โครงสร้ำงของข้อมูล 4. กำรแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ 5. ภำษำคอมพิวเตอร์ ข้อมูล (Data) คือข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมได้ข้อเท็จจริงนี้อำจเกี่ยวข้องกับวัตถุ เหตุกำรณ์ คน สัตว์สิ่งของ และ อื่น ๆ ข้อมูลอำจจะเป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ซึ่งมีควำมหมำยหรือไม่มีก็ได้ ชนิดของข้อมูล มีอยู่ 2 ชนิด คือ 1. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ตัวเลขที่สำมำรถนำไปใช้ในกำรคำนวณได้
  • 6. 6 2. ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) ได้แก่ ตัวอักษร เครื่องหมำย สัญลักษณ์ หรือตัวเลขซึ่งไม่ สำมำรถใช้ในกำรคำนวณได้ โครงสร้างข้อมูล โครงสร้ำงข้อมูลคอมพิวเตอร์สำมำรถจัดเรียงเป็นลำดับชั้นจำกขนำดเล็กไปขนำดใหญ่ได้ดังนี้ โครงสร้างข้อมูล ความหมาย BIT ข้อมูลที่มีขนำดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สำมำรถ เข้ำใจและนำไปใช้งำนได้ได้แก่ เลข 0 และ 1 เท่ำนั้น ตัวอักขระ (Character) หรือ Byte อักขระ ซึ่งอำจเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมำยต่ำง ๆ 1 Byte ประกอบด้วย 8 BIT คือ อักขระ 1 ตัว เขตข้อมูล (Field) หน่วยของข้อมูลหน่วยหนึ่งที่กำหนดขึ้นมำแทนควำมหมำยใด ควำมหมำยหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขตประกอบด้วยอักขระตั้งแต่ หนึ่งตัวขึ้นไป ระเบียนข้อมูล (Record) กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีควำมเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูล ประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่หนึ่งเขตข้อมูลขึ้นไป แฟ้มข้อมูล (File) กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย ระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป ฐำนข้อมูล (Database) กำรเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลหลำย ๆ แฟ้ม ที่เกี่ยวข้องกัน มำ รวมเข้ำด้วยกัน การแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยควำมจำของคอมพิวเตอร์ จะอยู่ในลักษณะของรหัสแทนข้อมูล (Data Representation) คือ เลขฐำนสอง ได้แก่ 0 และ 1 ซึ่งได้แก่ รหัส ASCII (American Standard Code International Interchange) และ EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) ข้อมูลที่ส่งเข้ำไปเก็บไว้ในหน่วยควำมจำของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น อำจเป็นตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมำยใด ๆ แต่คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลเหล่ำนี้เข้ำไปในลักษณะของรหัสซึ่งเป็นตัวเลขทั้งสิ้น อักขระ ASCII EBCDIC A 01000001 11000001 B 01000010 1100010 Z 01011010 11101001 คอมพิวเตอร์จะเข้ำใจเฉพำะเลขฐำนสอง จึงต้องมีกำรแปลงข้อมูลที่อำจเป็น ตัวอักษร ตัวเลข หรือ เครื่องหมำยใด ๆ ก็ตำม ให้เป็นเลขฐำนสองก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะสำมำรถประมวลผลข้อมูลนั้นได้
  • 7. 7 เลขฐำนสองแต่ละตัวเรียกว่ำ บิต (BIT : Binary Digit) เมื่อนำเลขฐำนสอง 8 ตัวมำเรียงกัน จะใช้แทน อักขระ 1 ตัว ฉะนั้นจะแทนอักขระได้ทั้งหมด 256 ตัว หน่วยวัดความจาในระบบคอมพิวเตอร์ 8 BIT = 1 Byte 1,024 Byte = 1 Kilo Byte 1,024 Kilo Byte = 1 Mega Byte 1,024 Mega Byte = 1 Giga Byte 1,024 Giga Byte = 1 Terra Byte เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลแล้ว จะส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลำง ข้อมูลที่ผ่ำนกำร ประมวลผลแล้ว เรียกว่ำ สารสนเทศ ภาษาในระบบคอมพิวเตอร์ กำรทำงำนของระบบคอมพิวเตอร์นั้น นอกจำกจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว จะต้องมีชุดคำสั่งหรือที่ เรียกว่ำ “โปรแกรม” ซึ่งเป็น Software ที่ใช้ในกำรสั่งงำนเครื่องให้ทำงำนตำมต้องกำร ชุดคำสั่งนี้สร้ำงขึ้นมำจำกภำษำ ในระบบคอมพิวเตอร์ภำษำใดภำษำหนึ่ง เรียกว่ำ “Source Code” ยังไม่สำมำรถสั่งงำนเครื่องได้ ต้องแปลให้เป็น เลขฐำนสองก่อนจึงจะสั่งงำนเครื่องได้ เรียกว่ำ “Object Code” ภาษาในระบบคอมพิวเตอร์ มี 3 ภาษา ได้แก่ 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) ได้แก่เลขฐำนสอง คือ 0 และ 1 ซึ่งเป็นภำษำที่ใช้สั่งงำนเครื่องได้ เป็นภำษำเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้ำใจ 2. ภาษาระดับต่า (Low – Level Language) เป็นภำษำสัญลักษณ์ มีเพียงภำษำเดียว คือ Assembly ต้องมี โปรแกรมตัวแปลภำษำ คือ Assembler ทำหน้ำที่แปลภำษำระดับต่ำให้เป็นภำษำเครื่องก่อน จึงจะสั่งงำนเครื่องได้ 3. ภาษาระดับสูง (High – Level Language) เป็นภำษำที่ใกล้เคียงภำษำมนุษย์มีหลำยภำษำซึ่งใช้งำน แตกต่ำงกันไป เช่น ภำษำ C, Pascal, BASIC, COBAL, FORTRAN เป็นต้น ต้องมีโปรแกรมตัวแปลภำษำให้เป็น ภำษำเครื่องก่อน จึงจะสั่งงำนเครื่องได้ โปรแกรมตัวแปลภาษาระดับสูง ได้แก่ 1. Interpreter ทำหน้ำที่แปลชุดคำสั่งทีละคำสั่ง และแปลทุกครั้งที่จะใช้งำน ใช้ในกำรแปลภำษำ BASIC 2. Compiler ทำหน้ำที่แปลชุดคำสั่งโดยแปลทีเดียวทุกคำสั่ง แล้วสำมำรถนำไปใช้สั่งงำนเครื่องได้เลย ไม่ ต้องแปลอีก เมื่อแปลแล้วเรียกว่ำ “Object Code” ผู้ใช้จะไม่สำมำรถแก้ไขคำสั่งได้ ------------------------------------------