SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ภาษา Java
Java เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนคาสั่งสั่งงานคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
พัฒนาขึ้นโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ จากัด
(SunMicrosystems Inc.) ในปี ค.ศ. 1991
เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ สาหรับอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิคส์ต่างๆ เช่น โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ โดยมีเป้าหมายการ
ทางานเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆได้อย่างกว้างขวาง และมี
ประสิทธิภาพ ใช้เวลาน้อย รวดเร็วในการพัฒนาโปรแกรม และสามารถ
เชื่อมต่อไปยังแพล็ตฟอร์ม (Platform) อื่นๆได้ง่าย
Java เป็นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งที่มีลักษณะสนับสนุน
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented
Programming) ที่ชัดเจน โปรแกรมต่าง ๆ ถูกสร้างภายในคลาส
(Class) โปรแกรมเหล่านั้นเรียกว่า Method หรือ Behavior
โดยปกติจะเรียกแต่ละ Class ว่า Object โดยแต่ละ Object มี
พฤติกรรมมากมาย โปรแกรมที่สมบูรณ์จะเกิดจากหลาย object หรือ
หลาย Class มารวมกัน โดยแต่ละ Class จะมี Method หรือ
Behavior แตกต่างกันไป
ข้อดีของภาษา Java
1. ภาษา Java เป็นภาษาโปรแกรมที่ง่ายในการเรียนรู้ ภาษา Java มี
คุณลักษณะต่างๆ ดังนี้ เช่น เชื่อมต่อข้ามแพล็ตฟอร์ม (Platforms)
ต่างๆ ได้สามารถเขียนโปรแกรมแบบ OOP (Object-
Oriented Programming) ได้ง่ายมาก โปรแกรมมีขนาดเล็ก
และมีวิธีการเขียนไม่ยุงยากซับซ้อน ดังนั้นโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา
Java จึงคอมไพล์ได้ง่ายตลอดจนตรวจสอบหาข้อผิดพลาดโปรแกรม
ได้ง่ายด้วย ภาษา java เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่ายมาก มีขนาดเล็ก
และยากที่จะเกิดข้อผิดพลาด เขียนคาสั่งได้ง่าย มีประสิทธิภาพในการ
ทางานและมีความยืดหยุ่นสูง
2. ภาษา Java เป็นการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ OOP การเขียนโปรแกรม
เชิงวัตถุ เป็นเทคนิคการเขียนโปรแกรมให้มีลักษณะเป็นโมดูล
(Module) แบ่งโปรแกรมเป็นส่วนๆ ตามสภาวะแวดล้อมการทางาน
ของโปรแกรมซึ่งเรียกว่า Method โดยทุก Method ก็คือ ระเบียบ
วิธี หรือการทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยจะถูกรวบรวมอยู่ในคลาส ซึ่ง
หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุจะมององค์ประกอบของโปรแกรมต่างๆ
เป็นคลาสหรือวัตถุ เรียกว่า Object ตัวอย่าง เช่น วัตถุที่มองเห็นได้เช่น
รถ สินค้า หรือ วัตถุที่ไม่สามารถมองเห็นได้เช่น เหตุการณ์ต่างๆ
ข้อมูลต่างๆของ Object จะถูกซ่อนไว้คลาสเรียกว่า Data
Encapsulation ซึ่งมีประโยชน์ในการแก้ไขข้อมูลหรือ
Method ใดๆ ที่อยู่ในคลาส โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานหรือ
เรียกใช้งานของ Object นั้น
นอกจากนั้น Java ยังมีคุณสมบัติการสืบทอด (Inheritance) เพื่อ
ส่งผ่านและถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของคลาสแม่ไปยังคลาสลูก ทาให้
เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น และมีโครงสร้างการทางานที่เข้าใจง่ายและมี
ความสัมพันธ์กัน
3. ภาษา Java เป็นอิสระต่อแพล็ตฟอร์ม (Java is Platform-
Independent)Java เป็นอิสระต่อแพล็ตฟอร์ม ทั้งระดับซอร์ซโค้ด
(Source Code) และไบนารีโค้ด (Binary Code) ช่วยให้สามารถ
เคลื่อนย้ายโปรแกรมจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังระบบคอมพิวเตอร์อื่น
ได้อย่างง่ายดาย เพราะว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาJava ได้รวบรวมคาสั่ง
ต่างๆไว้ในไลบรารีคลาสพื้นฐานต่างๆ เป็นJava Packages ช่วย
อานวยความสะดวกในการเขียน
คาสั่ง เมื่อย้ายโปรแกรมไปยังแพล็ตฟอร์มอื่น โดยไม่ต้องเขียนซอร์
ซโค้ด (Source Code) ขึ้นใหม่ทาให้ประหยัดเวลามาก เมื่อ
คอมไพล์ซอร์ซโค้ด จะได้ไฟล์ไบนารีโค้ด ที่เรียกว่า Bytecode การ
รันโปรแกรมของ Java จะทางานในลักษณะอินเทอร์พรีเตอร์
(Interpreter) ของไฟล์Bytecode ซึ่งสามารถรันบนแพล็ต
ฟอร์มใดๆ ก็ได้รวมทั้งระบบปฏิบัติการต่างๆ
โดยการแปลคาสั่งทีละคาสั่ง แพล็ตฟอร์มที่ Java ทางานได้จะต้อง
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Java Virtual Machine (JVM)
และ Java Application Programming Interface
(Java API) โดย Java Virtual Machine คือเครื่องมือที่
รวบรวมคาสั่งคอมไฟล์และรันโปรแกรม Java ส่วน Java API
เป็นกลุ่มของคลาส และอินเตอร์เฟส (Interface) ที่รวมอยู่ใน
ไลบรารีที่เรียกว่า Java Package เช่น java.awt, java.util
หรือ java.io เป็นต้น ลักษณะการทางานของ Java ที่เป็นอิสระต่อ
แพล็ตฟอร์มโดยการเขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียวแต่สามารถนาไปใช้
ทางานยังเครื่องอื่นๆ ได้นั้นเรียกว่า Write once, Run
anywhere
4. ภาษา Java มีระบบการทางานและมีระบบความปลอดภัยที่ดีJava
จะคาสั่งต่างๆที่เป็นส่วนประกอบของ Java API โดยมีการรวบรวม
เป็นคลาสต่างๆไว้มากมาย ช่วยอานวยความสะดวกในการเขียน
โปรแกรม นอกจากนั้นยังมี Garbage Collector โดยมีระบบ
จัดการหน่วยความจาเพื่อเก็บขยะของโปรแกรมและคืนหน่วยความจา
ให้กับระบบ โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java
มีระบบจัดการข้อผิดพลาดที่เกิดจากการทางานของโปรแกรมที่เรียกว่า
Exception Handling ด้วยทาให้สามารถตรวจสอบโปรแกรม
(Debug) โปรแกรมได้ง่ายขึ้น Java มีระบบความปลอดภัยที่ดี เช่น
โปรแกรม Java ที่ทางานบนเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ที่
เรียกว่า Java Applet นั้นจะทางานเฉพาะบนเครื่องแม่ข่าย (Server)
โดยไม่สามารถเข้าถึงเครื่องลูกข่าย (Client) ไปทาลายไฟล์ หรือไฟล์ระบบ
(System file) ได้ทาให้มีระบบความปลอดภัยที่ดี ป้องกันข้อมูลจาก
ไวรัส และโปรแกรมที่เขียนด้วย Java ไม่มีพฤติกรรมเป็นไวรัส ได้
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java จะต้องมีโปรแกรมที่
รวมคาสั่งต่างๆ ให้สามารถคอมไฟล์ และรันโปรแกรมได้ที่เรียกว่า Java Virtual
Machine ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเขียน และพัฒนาโปรแกรม Java
Virtual Machine จะอยู่ในโปรแกรมชุดพัฒนาจาวาที่เรียกว่า JDK (Java
Development Kit) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท Sun Microsystems ที่ใช้
บริการฟรีบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งประกอบด้วยคาสั่งต่างๆ และเครื่องมือที่ใช้ในการ
คอมไพล์และรันโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java โดยการดาวน์โหลด
(Download) โปรแกรมชุดพัฒนาจาวา JDK ได้ที่เว็บไซต์
www.java.sun.com ซึ่งจะมีโปรแกรม JDK เวอร์ชันใหม่ตลอดเวลา และ
เลือกระบบปฏิบัติการที่ต้องการใช้ หลังจากนั้นได้ทาการติดตั้ง และลงโปรแกรมให้
เรียบร้อย เครื่องมือ และคาสั่งที่ใช้ในการสร้างโปรแกรม Java จะถูกเก็บไว้ใน
โฟลเดอร์ของ Java ที่ชื่อ bin เช่น C:javabin เป็นต้น
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java
ประกอบด้วยขั้นตอนการทางานทั้งหมด
2 ขั้นตอน ดังนี้
1. ชนิดข้อมูลพื้นฐาน (Primitive Data Type) คือชนิดข้อมูลที่ใช้ในการ
เขียนโปรแกรมสาหรับเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ ได้แก่ จานวนเต็ม(Integer)
จานวนทศนิยม(Floating Point) ข้อมูลอักขระ(Character) และข้อมูล
ตรรกะ (Logical Data)
2. ชนิดข้อมูลแบบอ้างอิง (Reference Data Type) คือชนิดข้อมูลที่มีการ
อ้างอิงตาแหน่งในหน่วยความจา ได้แก่ข้อมูลของคลาส เช่น String และข้อมูล
แบบอาเรย์
ชนิดข้อมูลพื้นฐานในภาษา Java มีทั้งหมด 8 ชนิดข้อมูลโดยแบ่งออกเป็น 4
ประเภท ประกอบด้วย
1. ชนิดข้อมูลจานวนเต็ม(Integer) ได้แก่ long, int, short และ byte
2. ชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม(Floating Point) ได้แก่ double และ
float
3. ชนิดข้อมูลอักขระ(Character) ได้แก่ char
4. ชนิดข้อมูลตรรกะ (Logical Data) ได้แก่ boolean
ชนิดข้อมูลแต่ละประเภทจะมีขนาดและช่วงค่าของข้อมูลแตกต่างกัน และ
สามารถสรุปประเภทชนิดข้อมูล ขนาดและช่วงค่าของข้อมูล และค่าเริ่มต้น
เป็นชนิดข้อมูลที่ใช้เก็บข้อมูลตัวเลขจานวนเต็มในทางคณิตศาสตร์ ช่วงของ
ข้อมูลขึ้นอยู่ขนาดของตัวแปรที่ประกาศ ตัวอย่างเช่น ตัวแปร int จะมีขนาด 32 บิต
เก็บข้อมูลได้-2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 การกาหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปรชนิด
ข้อมูลจานวนเต็ม
2.1 ชนิดข้อมูลจานวนเต็ม(Integer)ชนิดข้อมูล
จานวนเต็มประกอบด้วย 4 ชนิดได้แก่ long, int,
short และ byte
1. เลขฐานสิบคือการเขียนค่าของข้อมูลจานวนเต็มทั่วไป เช่น 1200 150 -250 เป็นต้น
โดยการเขียนจะไม่มีเครื่องหมาย , (Comma) เช่น 25,000 จะต้องเขียนเป็น 25000
2. เลขฐานแปดคือการเขียนค่าของข้อมูลจานวนเต็มโดยใช้เลขฐานแปด โดยการ
ขึ้นต้นข้อมูลด้วยเลข 0 แล้วตามด้วยเลข 0 ถึง 7 ตัวอย่างเช่น 036 เป็นเลขฐานแปด มีค่า
เท่ากับ 30 ในเลขฐานสิบ
3. เลขฐานสิบหกคือการเขียนค่าของข้อมูลจานวนเต็มโดยใช้เลขฐานสิบหก โดยการ
ขึ้นต้นข้อมูลด้วยเลข 0x หรือ 0X แล้วตามด้วยเลข 0 ถึง 9 และ ตัวอักษร A ถึง F
ตัวอย่างเช่น 0XB2 เป็นเลขฐานแปด มีค่าเท่ากับ 178 ในเลขฐานสิบ
การประกาศตัวแปรใดๆ ให้เป็นข้อมูลจานวนเต็มต้องคานึงถึงขอบเขตของช่วง
ข้อมูลที่เก็บได้และต้องกาหนดค่าชนิดข้อมูลในเหมาะสมตรงกับชนิดข้อมูลที่ประกาศตัว
แปร
ตัวอย่างการประกาศตัวแปรและกาหนดค่าข้อมูลของตัวแปร ดังนี้
long x1 = 100000000000L;
เป็นการประกาศตัวแปรชนิด long ชื่อ x1 มีค่าข้อมูลเท่ากับแสนล้าน
(100,000,000,000) การประกาศตัวแปร long ต้องต่อท้ายข้อมูลด้วยตัวอักษร L หรือ l
เสมอ
int x2 = 1000000000;
เป็นการประกาศตัวแปรชนิด long ชื่อ x1 มีค่าข้อมูลเท่ากับพันล้าน
(1000,000,000)
short x31 = 32767;
เป็นการประกาศตัวแปรชนิด short ชื่อ x31 เก็บข้อมูลเป็นตัว
เลขฐานสิบมีค่าข้อมูลเท่ากับ 32,767
2.2 ชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม(Floating Point)
ชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม ประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลขทศนิยม เช่น 1200.578 การ
เขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java จะประกาศตัวแปรด้วยคาว่า float และ double
โดยชนิดข้อมูล float จะเก็บข้อมูล 32 บิตตามมาตรฐาน single precision คือ
มีส่วนละเอียดของตัวเลขจานวน 24 บิต และส่วนเลขยกกาลัง 8 บิต และชนิดข้อมูล
double จะเก็บข้อมูล 64 บิตตามมาตรฐาน double precision คือมีส่วน
ละเอียดของตัวเลขจานวน 53 บิต และส่วนเลขยกกาลัง 11 บิต รูปแบบการตัวเลข
ทศนิยมมี 2 แบบ ดังนี้
1. ตัวเลขทศนิยม เป็นการเขียนตัวเลขทศนิยมที่มีเครื่องหมายจุดทศนิยม
ตัวอย่างเช่น 3.14 เป็นต้น
2. ตัวเลขยกกาลังสิบ เป็นการเขียนตัวเลขทศนิยมอยู่ในรูปเลขยกกาลังสิบ
(Exponential Form) โดยใช้ตัวอักษร E หรือ e ระบุจานวนที่เป็นเลขยกกาลัง
เช่น 6.12E12 หรือ 125.03E-5 เป็นต้น
ตัวอย่างการประกาศชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม เช่น
float f1 = 1234.157f;
เป็นการประกาศตัวแปรชนิด float ชื่อ f1 เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยม
ขนาด 32 บิตและต้องใส่ตัวอักษร F หรือ f ต่อท้ายเพื่อระบุว่าเป็นชนิดข้อมูลแบบ float
double f2 = 2.18E6;
double f3 = 1234.157D;
เป็นการประกาศตัวแปรชนิด double ชื่อ f2, f3 เก็บข้อมูลเป็นเลข
ทศนิยมแบบ 64 บิต โดยใส่ตัวอักษร D หรือ d ต่อท้าย แต่โดยทั่วไปจะไม่นิยมใส่ตัวอักษร
ต่อท้ายเพราะการเขียนตัวเลขทศนิยมทั่วไปเป็นชนิดข้อมูลแบบ double อยู่แล้ว
ตัวอย่างข้อมูลจานวนทศนิยมที่ถูกต้อง ได้แก่
123. 456E3 12.5e2 617.0e2F -3.14F
512.0E-12
2.3 ชนิดข้อมูลอักขระ(Character)
ชนิดข้อมูลอักขระจะต้องประกาศตัวแปรด้วยคาว่า char คือการเก็บข้อมูลเป็น
ตัวอักษร หรืออักขระบนแป้นพิมพ์ได้เพียง 1 ตัวอักขระ ซึ่งในภาษา Java จะเก็บข้อมูล
อักขระอยู่ในรูปแบบของรหัสแอสกี (ASCII Code) หรือรูปแบบมาตรฐาน Unicode
ขนาด 16 บิต การกาหนดค่าข้อมูลอักขระจะอยู่ในเครื่องหมาย ‘ ’ โดยจะขึ้นต้นด้วย
สัญลักษณ์ u และตามด้วยเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number) โดยมีค่า
ตั้งแต่ ‘u0000’ ถึง ‘uFFFF’ หรือกาหนดค่าข้อมูลอักขระด้วยตัวอักขระบนแป้นพิมพ์
ตัวอย่างเช่น ‘A’, ‘x’, ‘$’ หรือ ‘1’ เป็นต้น
ตัวอย่างการประกาศชนิดข้อมูลอักขระ เช่น
char grade= ‘A’;
char grade= ‘u0041’;
2.4 ชนิดข้อมูลตรรกะ (Logical Data)
ชนิดข้อมูลตรรกะจะต้องประกาศตัวแปรด้วยคาว่า boolean ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีความ
จริงเป็นจริง (true) หรือเท็จ (false) ได้เพียง 1 ค่าเท่านั้น ใช้ในการตัดสินใจในเงื่อนไขของ
คาสั่งควบคุม หรือคาสั่งเกี่ยวกับตรรกะของโปรแกรม ตัวอย่างการประกาศชนิดข้อมูลตรรกะ
เช่น
boolean flag = false;
เป็นการประกาศตัวแปรที่มีชื่อว่า flag เป็นชนิดข้อมูลตรรกะ มีการกาหนดค่าเริ่มต้นเป็น
false
การประกาศตัวแปร (Declaration Variable)
ข้อมูลที่ในการเก็บค่าต่างๆในการเขียนโปรแกรม Java ต้องได้รับการประกาศตัวแปรขึ้นมา
ก่อนเพื่อจองพื้นที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บข้อมูล ซึ่งตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลและ
กาหนดค่าได้ตลอดเวลาเมื่อต้องการ โดยต้องระบุชื่อของตัวแปรและชนิดข้อมูล มีรูปแบบคาสั่ง
ประกาศตัวแปร ดังนี้
รูปแบบคาสั่งประกาศตัวแปร
[<Modifier>] <Data_type> <Variable_name> [=<Value>];
โดยที่
Modifier คือคาศัพท์ที่ใช้ระบุคุณลักษณะการเข้าถึงและใช้งานตัวแปร
นั้นๆ เช่น static , public, protected, private เป็นต้น
Data_type คือ ชนิดข้อมูลแบบต่างๆ เช่น long, int, short,
byte, double, float, char, boolean หรือตัวแปรชนิดของคลาสต่างๆเช่น
String เป็นต้น
Variable_name คือชื่อของตัวแปรตามกฎการตั้งชื่อตัวแปร
Value คือ ค่าของข้อมูล มีค่าตามขอบเขตชนิดข้อมูลที่ประกาศ
ตัวอย่างเช่น การประกาศตัวแปรชนิดต่างๆพร้อมกับค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปร
int x = 0;
float sum =0.0f;
char garde =‘F’;
การประกาศตัวแปรค่าคงที่
การประกาศตัวแปรค่าคงที่ คือการประกาศตัวแปรชนิดข้อมูลต่างๆให้มีค่าคงที่ตลอดการ
ทางานจนจบcโปรแกรม โดยตัวแปรค่าคงที่จะกาหนดค่าข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว ซึ่งเมื่อ
กาหนดแล้วจะไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงค่าได้ มีรูปแบบคาสั่งการประกาศตัวแปร
ดังนี้
รูปแบบคาสั่งประกาศตัวแปรค่าคงที่
[<Modifier>] final <Data_type> <Variable_name>
=<Value>;
ตัวอย่างเช่น
final int MAX = 999;
final int MIN = 1+2+3; เป็นการประกาศตัวแปรค่าคงที่ ชื่อ
MIN มีค่าเท่ากับ 1+2+3 คือเท่ากับ 6 นั่นเอง
final float MAX_SALARY = 999999;
คาสั่งการกาหนดค่า(Assignment Statement)
ตัวแปรทั่วไปสามารถเปลี่ยนแปลงหรือกาหนดค่าได้ตามต้องการโดยการใช้คาสั่งกาหนดค่า
ดังนี้
รูปแบบคาสั่งกาหนดค่า
<Variable_name> = <Value>;
โดยที่
Variable_name คือชื่อของตัวแปรตามกฎการตั้งชื่อตัวแปร
Value คือ ค่าของข้อมูล หรืออาจเป็นนิพจน์ที่ให้ผลลัพธ์ที่มีค่าตามขอบเขต
ชนิดข้อมูลที่ประกาศไว้
ตัวอย่างเช่น ถ้ามีการประกาศตัวแปรดังนี้
int x;
char grade;
float y;
ตัวอย่างโปรแกรมการประกาศและกาหนดค่าของตัวแปรต่างๆ
class Test3 {
public static void main(String[] args) {
final double PI =3.1419265;
int a =0, b=0;
float x =0, y=0;
char grade='F';
// Assignment variable
a = b+2*3;
y = 25.5f;
x = y / a;
grade='B';
// Display variable
System.out.println("a ="+a);
System.out.println("x="+x);
System.out.println("grade="+grade);
}
}

More Related Content

What's hot

ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ppompuy pantham
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 
Afrikaanse skoollesse
Afrikaanse skoollesseAfrikaanse skoollesse
Afrikaanse skoollesseRiana-L
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434krupornpana55
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาEye E'mon Rattanasiha
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยninjynoppy39
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANNan's Tippawan
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10Sani Satjachaliao
 
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์Janchai Pokmoonphon
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 

What's hot (20)

Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
สมบัติวรรณคดี by Channarong Khanngoen
สมบัติวรรณคดี by Channarong Khanngoenสมบัติวรรณคดี by Channarong Khanngoen
สมบัติวรรณคดี by Channarong Khanngoen
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
Afrikaanse skoollesse
Afrikaanse skoollesseAfrikaanse skoollesse
Afrikaanse skoollesse
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรงแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
 
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 

Similar to ภาษาจาวา 1

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์Saranya Sirimak
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์Saranya Sirimak
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingIrinApat
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadIMC Institute
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 

Similar to ภาษาจาวา 1 (20)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java Programming
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 

ภาษาจาวา 1

  • 1.
  • 2. ภาษา Java Java เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนคาสั่งสั่งงานคอมพิวเตอร์ ซึ่ง พัฒนาขึ้นโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ จากัด (SunMicrosystems Inc.) ในปี ค.ศ. 1991
  • 3. เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ สาหรับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิคส์ต่างๆ เช่น โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ โดยมีเป้าหมายการ ทางานเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆได้อย่างกว้างขวาง และมี ประสิทธิภาพ ใช้เวลาน้อย รวดเร็วในการพัฒนาโปรแกรม และสามารถ เชื่อมต่อไปยังแพล็ตฟอร์ม (Platform) อื่นๆได้ง่าย
  • 4. Java เป็นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งที่มีลักษณะสนับสนุน การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented Programming) ที่ชัดเจน โปรแกรมต่าง ๆ ถูกสร้างภายในคลาส (Class) โปรแกรมเหล่านั้นเรียกว่า Method หรือ Behavior โดยปกติจะเรียกแต่ละ Class ว่า Object โดยแต่ละ Object มี พฤติกรรมมากมาย โปรแกรมที่สมบูรณ์จะเกิดจากหลาย object หรือ หลาย Class มารวมกัน โดยแต่ละ Class จะมี Method หรือ Behavior แตกต่างกันไป
  • 5. ข้อดีของภาษา Java 1. ภาษา Java เป็นภาษาโปรแกรมที่ง่ายในการเรียนรู้ ภาษา Java มี คุณลักษณะต่างๆ ดังนี้ เช่น เชื่อมต่อข้ามแพล็ตฟอร์ม (Platforms) ต่างๆ ได้สามารถเขียนโปรแกรมแบบ OOP (Object- Oriented Programming) ได้ง่ายมาก โปรแกรมมีขนาดเล็ก และมีวิธีการเขียนไม่ยุงยากซับซ้อน ดังนั้นโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java จึงคอมไพล์ได้ง่ายตลอดจนตรวจสอบหาข้อผิดพลาดโปรแกรม ได้ง่ายด้วย ภาษา java เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่ายมาก มีขนาดเล็ก และยากที่จะเกิดข้อผิดพลาด เขียนคาสั่งได้ง่าย มีประสิทธิภาพในการ ทางานและมีความยืดหยุ่นสูง
  • 6. 2. ภาษา Java เป็นการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ OOP การเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุ เป็นเทคนิคการเขียนโปรแกรมให้มีลักษณะเป็นโมดูล (Module) แบ่งโปรแกรมเป็นส่วนๆ ตามสภาวะแวดล้อมการทางาน ของโปรแกรมซึ่งเรียกว่า Method โดยทุก Method ก็คือ ระเบียบ วิธี หรือการทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยจะถูกรวบรวมอยู่ในคลาส ซึ่ง หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุจะมององค์ประกอบของโปรแกรมต่างๆ เป็นคลาสหรือวัตถุ เรียกว่า Object ตัวอย่าง เช่น วัตถุที่มองเห็นได้เช่น รถ สินค้า หรือ วัตถุที่ไม่สามารถมองเห็นได้เช่น เหตุการณ์ต่างๆ
  • 7. ข้อมูลต่างๆของ Object จะถูกซ่อนไว้คลาสเรียกว่า Data Encapsulation ซึ่งมีประโยชน์ในการแก้ไขข้อมูลหรือ Method ใดๆ ที่อยู่ในคลาส โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานหรือ เรียกใช้งานของ Object นั้น นอกจากนั้น Java ยังมีคุณสมบัติการสืบทอด (Inheritance) เพื่อ ส่งผ่านและถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของคลาสแม่ไปยังคลาสลูก ทาให้ เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น และมีโครงสร้างการทางานที่เข้าใจง่ายและมี ความสัมพันธ์กัน
  • 8. 3. ภาษา Java เป็นอิสระต่อแพล็ตฟอร์ม (Java is Platform- Independent)Java เป็นอิสระต่อแพล็ตฟอร์ม ทั้งระดับซอร์ซโค้ด (Source Code) และไบนารีโค้ด (Binary Code) ช่วยให้สามารถ เคลื่อนย้ายโปรแกรมจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังระบบคอมพิวเตอร์อื่น ได้อย่างง่ายดาย เพราะว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาJava ได้รวบรวมคาสั่ง ต่างๆไว้ในไลบรารีคลาสพื้นฐานต่างๆ เป็นJava Packages ช่วย อานวยความสะดวกในการเขียน
  • 9. คาสั่ง เมื่อย้ายโปรแกรมไปยังแพล็ตฟอร์มอื่น โดยไม่ต้องเขียนซอร์ ซโค้ด (Source Code) ขึ้นใหม่ทาให้ประหยัดเวลามาก เมื่อ คอมไพล์ซอร์ซโค้ด จะได้ไฟล์ไบนารีโค้ด ที่เรียกว่า Bytecode การ รันโปรแกรมของ Java จะทางานในลักษณะอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ของไฟล์Bytecode ซึ่งสามารถรันบนแพล็ต ฟอร์มใดๆ ก็ได้รวมทั้งระบบปฏิบัติการต่างๆ
  • 10. โดยการแปลคาสั่งทีละคาสั่ง แพล็ตฟอร์มที่ Java ทางานได้จะต้อง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Java Virtual Machine (JVM) และ Java Application Programming Interface (Java API) โดย Java Virtual Machine คือเครื่องมือที่ รวบรวมคาสั่งคอมไฟล์และรันโปรแกรม Java ส่วน Java API เป็นกลุ่มของคลาส และอินเตอร์เฟส (Interface) ที่รวมอยู่ใน ไลบรารีที่เรียกว่า Java Package เช่น java.awt, java.util หรือ java.io เป็นต้น ลักษณะการทางานของ Java ที่เป็นอิสระต่อ แพล็ตฟอร์มโดยการเขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียวแต่สามารถนาไปใช้ ทางานยังเครื่องอื่นๆ ได้นั้นเรียกว่า Write once, Run anywhere
  • 11. 4. ภาษา Java มีระบบการทางานและมีระบบความปลอดภัยที่ดีJava จะคาสั่งต่างๆที่เป็นส่วนประกอบของ Java API โดยมีการรวบรวม เป็นคลาสต่างๆไว้มากมาย ช่วยอานวยความสะดวกในการเขียน โปรแกรม นอกจากนั้นยังมี Garbage Collector โดยมีระบบ จัดการหน่วยความจาเพื่อเก็บขยะของโปรแกรมและคืนหน่วยความจา ให้กับระบบ โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java
  • 12. มีระบบจัดการข้อผิดพลาดที่เกิดจากการทางานของโปรแกรมที่เรียกว่า Exception Handling ด้วยทาให้สามารถตรวจสอบโปรแกรม (Debug) โปรแกรมได้ง่ายขึ้น Java มีระบบความปลอดภัยที่ดี เช่น โปรแกรม Java ที่ทางานบนเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ที่ เรียกว่า Java Applet นั้นจะทางานเฉพาะบนเครื่องแม่ข่าย (Server) โดยไม่สามารถเข้าถึงเครื่องลูกข่าย (Client) ไปทาลายไฟล์ หรือไฟล์ระบบ (System file) ได้ทาให้มีระบบความปลอดภัยที่ดี ป้องกันข้อมูลจาก ไวรัส และโปรแกรมที่เขียนด้วย Java ไม่มีพฤติกรรมเป็นไวรัส ได้
  • 13. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java จะต้องมีโปรแกรมที่ รวมคาสั่งต่างๆ ให้สามารถคอมไฟล์ และรันโปรแกรมได้ที่เรียกว่า Java Virtual Machine ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเขียน และพัฒนาโปรแกรม Java Virtual Machine จะอยู่ในโปรแกรมชุดพัฒนาจาวาที่เรียกว่า JDK (Java Development Kit) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท Sun Microsystems ที่ใช้ บริการฟรีบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งประกอบด้วยคาสั่งต่างๆ และเครื่องมือที่ใช้ในการ คอมไพล์และรันโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java โดยการดาวน์โหลด (Download) โปรแกรมชุดพัฒนาจาวา JDK ได้ที่เว็บไซต์ www.java.sun.com ซึ่งจะมีโปรแกรม JDK เวอร์ชันใหม่ตลอดเวลา และ เลือกระบบปฏิบัติการที่ต้องการใช้ หลังจากนั้นได้ทาการติดตั้ง และลงโปรแกรมให้ เรียบร้อย เครื่องมือ และคาสั่งที่ใช้ในการสร้างโปรแกรม Java จะถูกเก็บไว้ใน โฟลเดอร์ของ Java ที่ชื่อ bin เช่น C:javabin เป็นต้น
  • 15. 1. ชนิดข้อมูลพื้นฐาน (Primitive Data Type) คือชนิดข้อมูลที่ใช้ในการ เขียนโปรแกรมสาหรับเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ ได้แก่ จานวนเต็ม(Integer) จานวนทศนิยม(Floating Point) ข้อมูลอักขระ(Character) และข้อมูล ตรรกะ (Logical Data) 2. ชนิดข้อมูลแบบอ้างอิง (Reference Data Type) คือชนิดข้อมูลที่มีการ อ้างอิงตาแหน่งในหน่วยความจา ได้แก่ข้อมูลของคลาส เช่น String และข้อมูล แบบอาเรย์
  • 16. ชนิดข้อมูลพื้นฐานในภาษา Java มีทั้งหมด 8 ชนิดข้อมูลโดยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ประกอบด้วย 1. ชนิดข้อมูลจานวนเต็ม(Integer) ได้แก่ long, int, short และ byte 2. ชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม(Floating Point) ได้แก่ double และ float 3. ชนิดข้อมูลอักขระ(Character) ได้แก่ char 4. ชนิดข้อมูลตรรกะ (Logical Data) ได้แก่ boolean ชนิดข้อมูลแต่ละประเภทจะมีขนาดและช่วงค่าของข้อมูลแตกต่างกัน และ สามารถสรุปประเภทชนิดข้อมูล ขนาดและช่วงค่าของข้อมูล และค่าเริ่มต้น
  • 17. เป็นชนิดข้อมูลที่ใช้เก็บข้อมูลตัวเลขจานวนเต็มในทางคณิตศาสตร์ ช่วงของ ข้อมูลขึ้นอยู่ขนาดของตัวแปรที่ประกาศ ตัวอย่างเช่น ตัวแปร int จะมีขนาด 32 บิต เก็บข้อมูลได้-2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 การกาหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปรชนิด ข้อมูลจานวนเต็ม 2.1 ชนิดข้อมูลจานวนเต็ม(Integer)ชนิดข้อมูล จานวนเต็มประกอบด้วย 4 ชนิดได้แก่ long, int, short และ byte
  • 18. 1. เลขฐานสิบคือการเขียนค่าของข้อมูลจานวนเต็มทั่วไป เช่น 1200 150 -250 เป็นต้น โดยการเขียนจะไม่มีเครื่องหมาย , (Comma) เช่น 25,000 จะต้องเขียนเป็น 25000 2. เลขฐานแปดคือการเขียนค่าของข้อมูลจานวนเต็มโดยใช้เลขฐานแปด โดยการ ขึ้นต้นข้อมูลด้วยเลข 0 แล้วตามด้วยเลข 0 ถึง 7 ตัวอย่างเช่น 036 เป็นเลขฐานแปด มีค่า เท่ากับ 30 ในเลขฐานสิบ 3. เลขฐานสิบหกคือการเขียนค่าของข้อมูลจานวนเต็มโดยใช้เลขฐานสิบหก โดยการ ขึ้นต้นข้อมูลด้วยเลข 0x หรือ 0X แล้วตามด้วยเลข 0 ถึง 9 และ ตัวอักษร A ถึง F ตัวอย่างเช่น 0XB2 เป็นเลขฐานแปด มีค่าเท่ากับ 178 ในเลขฐานสิบ การประกาศตัวแปรใดๆ ให้เป็นข้อมูลจานวนเต็มต้องคานึงถึงขอบเขตของช่วง ข้อมูลที่เก็บได้และต้องกาหนดค่าชนิดข้อมูลในเหมาะสมตรงกับชนิดข้อมูลที่ประกาศตัว แปร
  • 19. ตัวอย่างการประกาศตัวแปรและกาหนดค่าข้อมูลของตัวแปร ดังนี้ long x1 = 100000000000L; เป็นการประกาศตัวแปรชนิด long ชื่อ x1 มีค่าข้อมูลเท่ากับแสนล้าน (100,000,000,000) การประกาศตัวแปร long ต้องต่อท้ายข้อมูลด้วยตัวอักษร L หรือ l เสมอ int x2 = 1000000000; เป็นการประกาศตัวแปรชนิด long ชื่อ x1 มีค่าข้อมูลเท่ากับพันล้าน (1000,000,000) short x31 = 32767; เป็นการประกาศตัวแปรชนิด short ชื่อ x31 เก็บข้อมูลเป็นตัว เลขฐานสิบมีค่าข้อมูลเท่ากับ 32,767
  • 20. 2.2 ชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม(Floating Point) ชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม ประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลขทศนิยม เช่น 1200.578 การ เขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java จะประกาศตัวแปรด้วยคาว่า float และ double โดยชนิดข้อมูล float จะเก็บข้อมูล 32 บิตตามมาตรฐาน single precision คือ มีส่วนละเอียดของตัวเลขจานวน 24 บิต และส่วนเลขยกกาลัง 8 บิต และชนิดข้อมูล double จะเก็บข้อมูล 64 บิตตามมาตรฐาน double precision คือมีส่วน ละเอียดของตัวเลขจานวน 53 บิต และส่วนเลขยกกาลัง 11 บิต รูปแบบการตัวเลข ทศนิยมมี 2 แบบ ดังนี้ 1. ตัวเลขทศนิยม เป็นการเขียนตัวเลขทศนิยมที่มีเครื่องหมายจุดทศนิยม ตัวอย่างเช่น 3.14 เป็นต้น 2. ตัวเลขยกกาลังสิบ เป็นการเขียนตัวเลขทศนิยมอยู่ในรูปเลขยกกาลังสิบ (Exponential Form) โดยใช้ตัวอักษร E หรือ e ระบุจานวนที่เป็นเลขยกกาลัง เช่น 6.12E12 หรือ 125.03E-5 เป็นต้น
  • 21. ตัวอย่างการประกาศชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม เช่น float f1 = 1234.157f; เป็นการประกาศตัวแปรชนิด float ชื่อ f1 เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยม ขนาด 32 บิตและต้องใส่ตัวอักษร F หรือ f ต่อท้ายเพื่อระบุว่าเป็นชนิดข้อมูลแบบ float double f2 = 2.18E6; double f3 = 1234.157D; เป็นการประกาศตัวแปรชนิด double ชื่อ f2, f3 เก็บข้อมูลเป็นเลข ทศนิยมแบบ 64 บิต โดยใส่ตัวอักษร D หรือ d ต่อท้าย แต่โดยทั่วไปจะไม่นิยมใส่ตัวอักษร ต่อท้ายเพราะการเขียนตัวเลขทศนิยมทั่วไปเป็นชนิดข้อมูลแบบ double อยู่แล้ว ตัวอย่างข้อมูลจานวนทศนิยมที่ถูกต้อง ได้แก่ 123. 456E3 12.5e2 617.0e2F -3.14F 512.0E-12
  • 22. 2.3 ชนิดข้อมูลอักขระ(Character) ชนิดข้อมูลอักขระจะต้องประกาศตัวแปรด้วยคาว่า char คือการเก็บข้อมูลเป็น ตัวอักษร หรืออักขระบนแป้นพิมพ์ได้เพียง 1 ตัวอักขระ ซึ่งในภาษา Java จะเก็บข้อมูล อักขระอยู่ในรูปแบบของรหัสแอสกี (ASCII Code) หรือรูปแบบมาตรฐาน Unicode ขนาด 16 บิต การกาหนดค่าข้อมูลอักขระจะอยู่ในเครื่องหมาย ‘ ’ โดยจะขึ้นต้นด้วย สัญลักษณ์ u และตามด้วยเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number) โดยมีค่า ตั้งแต่ ‘u0000’ ถึง ‘uFFFF’ หรือกาหนดค่าข้อมูลอักขระด้วยตัวอักขระบนแป้นพิมพ์ ตัวอย่างเช่น ‘A’, ‘x’, ‘$’ หรือ ‘1’ เป็นต้น ตัวอย่างการประกาศชนิดข้อมูลอักขระ เช่น char grade= ‘A’; char grade= ‘u0041’;
  • 23. 2.4 ชนิดข้อมูลตรรกะ (Logical Data) ชนิดข้อมูลตรรกะจะต้องประกาศตัวแปรด้วยคาว่า boolean ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีความ จริงเป็นจริง (true) หรือเท็จ (false) ได้เพียง 1 ค่าเท่านั้น ใช้ในการตัดสินใจในเงื่อนไขของ คาสั่งควบคุม หรือคาสั่งเกี่ยวกับตรรกะของโปรแกรม ตัวอย่างการประกาศชนิดข้อมูลตรรกะ เช่น boolean flag = false; เป็นการประกาศตัวแปรที่มีชื่อว่า flag เป็นชนิดข้อมูลตรรกะ มีการกาหนดค่าเริ่มต้นเป็น false การประกาศตัวแปร (Declaration Variable) ข้อมูลที่ในการเก็บค่าต่างๆในการเขียนโปรแกรม Java ต้องได้รับการประกาศตัวแปรขึ้นมา ก่อนเพื่อจองพื้นที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บข้อมูล ซึ่งตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลและ กาหนดค่าได้ตลอดเวลาเมื่อต้องการ โดยต้องระบุชื่อของตัวแปรและชนิดข้อมูล มีรูปแบบคาสั่ง ประกาศตัวแปร ดังนี้ รูปแบบคาสั่งประกาศตัวแปร [<Modifier>] <Data_type> <Variable_name> [=<Value>];
  • 24. โดยที่ Modifier คือคาศัพท์ที่ใช้ระบุคุณลักษณะการเข้าถึงและใช้งานตัวแปร นั้นๆ เช่น static , public, protected, private เป็นต้น Data_type คือ ชนิดข้อมูลแบบต่างๆ เช่น long, int, short, byte, double, float, char, boolean หรือตัวแปรชนิดของคลาสต่างๆเช่น String เป็นต้น Variable_name คือชื่อของตัวแปรตามกฎการตั้งชื่อตัวแปร Value คือ ค่าของข้อมูล มีค่าตามขอบเขตชนิดข้อมูลที่ประกาศ ตัวอย่างเช่น การประกาศตัวแปรชนิดต่างๆพร้อมกับค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปร int x = 0; float sum =0.0f; char garde =‘F’;
  • 25. การประกาศตัวแปรค่าคงที่ การประกาศตัวแปรค่าคงที่ คือการประกาศตัวแปรชนิดข้อมูลต่างๆให้มีค่าคงที่ตลอดการ ทางานจนจบcโปรแกรม โดยตัวแปรค่าคงที่จะกาหนดค่าข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว ซึ่งเมื่อ กาหนดแล้วจะไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงค่าได้ มีรูปแบบคาสั่งการประกาศตัวแปร ดังนี้ รูปแบบคาสั่งประกาศตัวแปรค่าคงที่ [<Modifier>] final <Data_type> <Variable_name> =<Value>; ตัวอย่างเช่น final int MAX = 999; final int MIN = 1+2+3; เป็นการประกาศตัวแปรค่าคงที่ ชื่อ MIN มีค่าเท่ากับ 1+2+3 คือเท่ากับ 6 นั่นเอง final float MAX_SALARY = 999999;
  • 26. คาสั่งการกาหนดค่า(Assignment Statement) ตัวแปรทั่วไปสามารถเปลี่ยนแปลงหรือกาหนดค่าได้ตามต้องการโดยการใช้คาสั่งกาหนดค่า ดังนี้ รูปแบบคาสั่งกาหนดค่า <Variable_name> = <Value>; โดยที่ Variable_name คือชื่อของตัวแปรตามกฎการตั้งชื่อตัวแปร Value คือ ค่าของข้อมูล หรืออาจเป็นนิพจน์ที่ให้ผลลัพธ์ที่มีค่าตามขอบเขต ชนิดข้อมูลที่ประกาศไว้ ตัวอย่างเช่น ถ้ามีการประกาศตัวแปรดังนี้ int x; char grade; float y;
  • 27. ตัวอย่างโปรแกรมการประกาศและกาหนดค่าของตัวแปรต่างๆ class Test3 { public static void main(String[] args) { final double PI =3.1419265; int a =0, b=0; float x =0, y=0; char grade='F'; // Assignment variable a = b+2*3; y = 25.5f; x = y / a; grade='B'; // Display variable System.out.println("a ="+a); System.out.println("x="+x); System.out.println("grade="+grade); } }