SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
ÊÒúÑÞ
สารจากประธานกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา 3
ความเปนมาของกองทุนพัฒนาไฟฟา 4
แนวทางในการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา 6
การบริหารเงินกองทุนเพื่อกิจการ ตามมาตรา 97(3) 7
การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ตามมาตรา 97(3) 7
ประเภทของกองทุนพัฒนาไฟฟา 8
รูปแบบการบริหารและคณะกรรมการกองทุน 8
คณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา 10
ยุทธศาสตรของกองทุนพัฒนาไฟฟา
สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน 12
สวนที่ 2 การวิเคราะหปจจัยแวดลอม 24
สวนที่ 3 แผนยุทธศาสตรกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ 25
กรอบงบประมาณประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2558 29
โครงการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2558 29
ผลการดำเนินงานโครงการชุมชนประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2558 31
รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต 52
งบแสดงฐานะการเงิน 53
งบรายไดและคาใชจาย 54
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในเงินกองทุน 55
งบกระแสเงินสด 56
หมายเหตุประกอบการเงิน 57
(นายไพศาล วิมลรัตน)
รองผูวาราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประธานกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา
กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด3
ÊÒèҡ... »Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹
ã¹¾×é¹·ÕèÃͺâç俿‡Ò
ตามที่กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด
ไดรับอนุมัติงบประมาณประจำป พ.ศ. 2558 จากคณะกรรมการกำกับ
กิจการพลังาน (กกพ.) จำนวน 25 โครงการ เปนเงิน 5,709,100 บาท
เพื่อดำเนินการพัฒนาในดานตางๆ ในพื้นที่ประกาศกองทุนพัฒนาไฟฟา
ประกอบดวยตำบลคลองนครเนื่องเขต ตำบลบางเตย ตำบลทาไข
ตำบลหนามแดง และตำบลวังตะเคียน อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยการดำเนินการทั้ง 25 โครงการไดสำเร็จ
ลุลวง กอใหเกิดประโยชนกับประชาชนในพื้นที่ประกาศ และ
ประชาชนทั่วไป
โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2559-2561 กองทุนพัฒนา
ไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด ไดกำหนดยุทธศาสตร
การพัฒนา โดยเนนทางดานสุขภาพ การศึกษา และการพัฒนา
คุณภาพชีวิต ตามวิสัยทัศนที่วา “สรางสรรคสังคมอยาง
มีคุณภาพเพื่อชุมชนอยูดีมีสุข” ทั้งนี้การพัฒนาจะเกิดผล
สัมฤทธิ์กับประชาชนมากนอยเพียงใด ทุกภาคสวนตองมี
สวนรวมในการดำเนินการ เพื่อใหเกิดการสรางชุมชน
เขมแข็งไดอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต
Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃ
¡Ó¡Ñº¡Ô¨¡ÒþÅѧ§Ò¹
¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò
à¾×èÍ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹·ÕèÂÑè§Â×¹
¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò
à¾×èÍ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹·ÕèÂÑè§Â×¹
กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด
เงินกองทุนพัฒนาไฟฟาตามมาตรา 97(3) หรือเงินกองทุนในพื้นที่ประกาศ เปนเงินไดที่ กกพ. เรียกเก็บจาก
ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา ตามมติของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ในการประชุมเมื่อวันที่ 9
มีนาคม 2552 เพื่อนำสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟา โดยเรียกเก็บจาก
1. ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการผลิตไฟฟา รายใหม หมายถึง ผูรับใบอนุญาตฯ ที่ไดรับใบอนุญาต
ปลูกสรางอาคารหรือการตั้งโรงงานตั้งแตวันที่ระเบียบ กกพ. เรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการนำสงเงินและ
การใชจายเงินกองทุนพัฒนาไฟฟามีผลบังคับใชเปนตนไป นำสงเงินเขากองทุน ดังนี้
ชวงระหวางการกอสราง (นับตั้งแตวันที่เริ่มดำเนินการกอสรางโรงไฟฟาตามสัญญาวาจางผูรับเหมาเพื่อ
ดำเนินการกอสราง จนถึงวันที่เริ่มจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย (Commercial Operation Date: COD) ใหจายเงิน
เปนรายปตามกำลังการผลิตติดตั้งของโรงไฟฟา ในอัตรา 50,000 บาท/เมกะวัตต/ป
โดยในปแรกใหจายภายใน 5 วันทำการนับจากวันที่เริ่มดำเนินการกอสรางโรงไฟฟา สำหรับปถัดปถัดไป
ใหจายภายใน 5 วันทำการแรกของป
ชวงระหวางการผลิตไฟฟา (นับตั้งแตวันที่เริ่ม COD เปนตนไป) ใหจายเงินเขากองทุนเปนรายเดือนตาม
ปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟาตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟา โดยจำแนกตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช
ในการผลิตไฟฟาในอัตราดังนี้
2. ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการผลิตไฟฟา รายปจจุบัน หมายถึง ผูรับใบอนุญาตฯ ที่ไดรับใบอนุญาต
ในการปลูกสรางอาคารหรือการตั้งโรงงานกอนวันที่ระเบียบ กกพ. ดังกลาวมีผลบังคับใช กำหนดใหจายเงินเขากองทุน
พัฒนาไฟฟาเฉพาะชวงระหวางการผลิตไฟฟาเทานั้น
3. ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการจำหนายไฟฟา นำสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟาเปนรายเดือน
โดยหักจากอัตราคาบริการ ตามอัตราที่ กกพ. ประกาศกำหนด
¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò
อัตราการเก็บเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟา ตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.)
ประเภทเชื้อเพลิง
กาซธรรมชาติ
น้ำมันเตา, ดีเซล
ถายหิน, ลิกไนต
พลังหมุนเวียน ประเภทลมและแสงอาทิตย
พลังหมุนเวียน ประเภทพลังน้ำ
พลังหมุนเวียน ประเภทอื่น เชน กาซชีวภาพ ชีวมวล
กากและเศษวัสดุเหลือใช ชยะชุมชนและอื่นๆ
1.0
1.5
2.0
1.0
2.0
1.0
สตางค/หนวยไฟฟาที่ผลิตไดในแตละเดือน
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด4
ทั้งนี้ปริมาณเงินที่นำสงเขากองทุน จะตองสอดคลองกับการดำเนินงานของผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการ
ไฟฟาที่ใหบริการแกผูใชไฟฟาที่ดอยโอกาสหรือใหมีการใหบริการไฟฟาอยางทั่วถึงหรือเพื่อสงเสริมนโยบายในการกระจาย
ความเจริญไปสูภูมิภาค รวมทั้ง ตองสอดคลองกับโครงสรางอัตราคาไฟฟาและแผนการลงทุนในกิจการไฟฟาตามที่
กพช. กำหนด โดยคำนึงถึงผลกระทบตอผูใชไฟฟาที่จะตองรับภาระในการที่ผูรับอนุญาตประกอบกิจการไฟฟานำสงเงิน
เขากองทุนดวย
โดย สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.) จะจัดสรรใหกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ
ใชจายเพื่อการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบ จากการดำเนินงานของโรงไฟฟา ตามมาตรา 97 (3) โดยแยก
เปนรายบัญชีตามโรงไฟฟา และใหตอทายดวยชื่อของโรงไฟฟา หรือชื่อตำบล หรือชื่ออำเภอ หรือชื่อจังหวัด
ที่โรงไฟฟาตั้งอยู
กกพ. ไดกำหนดนโยบายในการบริหารกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ โดยมีหลักการในการบริหารเงินกองทุน ดังนี้
1. มีการกระจายอำนาจการบริหารจัดการสูชุมชน เพื่อใหมีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาลโปรงใส
ตรวจสอบได
2. สงเสริม สนับสนุนใหมีการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน โดยชุมชนเพื่อชุมชน เนนการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาศักยภาพชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสรางระบบสวัสดิการของ
ประชาชนและชุมชนอยางมีคุณภาพ เพื่อใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น
3. สงเสริม สนับสนุนใหเกิดความรวมมือ การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางชุมชนภายในพื้นที่ประกาศ เพื่อใหเกิด
การเชื่อมโยงและบูรณาการ การทำงานรวมกันกับภาคีตาง ๆ ไดแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานราชการ
องคกรชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน เปนตน
4. สงเสริม สนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงขอมูล การเรียนรู การบริหารจัดการ การติดตามตรวจสอบ
การประชาสัมพันธสูสาธารณชน การพัฒนาระบบขอมูลระหวางกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศทุกระดับพื้นที่
เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน
5. มีการชดเชยเพื่อเยียวยาใหผูไดรับผลกระทบโดยตรงจากการดำเนินงานของโรงไฟฟา ทั้งดานสุขภาพ
อาชีพ และสิ่งแวดลอม
6. สงเสริม สนับสนุน การฟนฟูธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม การเฝาระวังทางสังคม สุขภาวะ สิ่งแวดลอม
หลักการสำคัญในการบริหารเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด5
แนวทางในการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา
สำหรับเงินกองทุนในสวนที่จัดสรรใหใชในกิจการของกองทุนพัฒนาไฟฟาในแตละพื้นที่ประกาศที่โรงไฟฟาของผูรับ
ใบอนุญาตผลิตไฟฟานั้น ๆ ตั้งอยูนั้น ใหจัดสรรเปน 2 สวน
สวนที่ 1 ไมเกินรอยละ 15 เปนคาใชจายในการบริหารจัดการประจำปสำหรับกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่
ประกาศ
สวนที่ 2 ไมนอยกวารอยละ 85 เปนเงินอุดหนุนการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจาก
การดำเนินงานของโรงไฟฟา โดยการเสนอโครงการชุมชนเพื่อประโยชนของประชาชนในพื้นที่ประกาศตามระเบียบ
กองทุนพัฒนาไฟฟา ไดกำหนดให สกพ. ไดกันเงินไวไมเกินรอยละ 5 เพื่อดำเนินการในกิจการ ดังนี้
1. สำรองไวใชในกรณีฉุกเฉิน เพื่อเยียวยาหรือบรรเทาความเสียหายในเบื้องตนจากผลกระทบที่มีสาเหตุ
จากโรงไฟฟาตามที่ กกพ. เห็นสมควร
2. อุดหนุนใหกับการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟาที่ไดรับการ
จัดสรรเงินจำนวนนอยไมเพียงพอตอการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่น ทั้งนี้ จำนวนเงินที่จะสนับสนุนใหกับแตละทองถิ่น
ใหขึ้นอยูกับความเหมาะสมตามที่ กกพ. กำหนด
3. เพื่อการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาไฟฟา
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด6
เงินที่การไฟฟา/โรงไฟฟา
(ผูรับใบอนุญาตผลิตไฟฟา)
นำสงเขากองทุน
การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ตามมาตรา 97(3)
สกพ. ดำเนินการ
1. สำรองไวใชในกรณีฉุกเฉิน
2. อุดหนุนใหกับกองทุนขนาดเล็ก
3. เพื่อการบริหารจัดการกองทุน
คาบริหาร
จัดการ
ไมเกิน 15%
โครงการชุมชน
ไมนอยกวา
85%
เงินกองทุนพัฒนาไฟฟา
ในพื้นที่ประกาศ
95% กพรฟ.
5% สกพ.5% สกพ.
¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด7
»ÃÐàÀ·¢Í§¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò
1. กองทุนประเภท ก สำหรับพื้นที่ที่ไดรับการจัดสรรเงินเพื่อการพัฒนาพื้นที่มากพอตอการบริหารจัดการ
ไดเต็มรูปแบบ โดยมีปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟามากกวาหาพันลานกิโลวัตต - ชั่วโมงตอป หรือมีรายไดมากกวา
หาสิบลานบาทตอปขึ้นไป
2. กองทุนประเภท ข สำหรับพื้นที่ที่ไดรับการจัดสรรเงินเพื่อการพัฒนาพื้นที่เพียงพอตอการบริหารจัดการ
ในระดับปานกลาง โดยมีปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟาไมเกินหาพันลานกิโลวัตต - ชั่วโมง และมีรายไดมากกวา
หนึ่งลานบาทแตไมเกินหาสิบลานบาทตอป
3. กองทุนประเภท ค สำหรับพื้นที่ที่ไดรับการจัดสรรเงินนอย ควรมีการบริหารจัดการอยางจำกัด โดยมี
ปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟาไมเกินหนึ่งรอยลานกิโลวัตต - ชั่วโมงตอป และมีรายไดไมเกินหนึ่งลานบาทตอป
ประเภทกองทุน กองทุนประเภท ก
เงินที่ไดรับการจัดสรร
มาก
(มากกวา 50 ลานบาท ตอป)
ปานกลาง
(มากกวา 1 - 50 ลานบาท ตอป)
นอย
(ไมเกิน 1 ลานบาท ตอป)
ปริมาณการผลิตพลังงาน
ไฟฟา
องคประกอบการบริหาร
กองทุน
1. เงินหรือทรัพยสินที่ไดรับ
การจัดสรรจากกองทุน
พัฒนาไฟฟา
2. คพรฟ. และ คพรต.
3. การจัดสรรเงิน และการ
อนุมัติโครงการ
4. การพัสดุ
5. การเงินและบัญชี
6. การตรวจสอบ การติดตาม
ประเมินผล
7. การประชาสัมพันธ
1. เงินหรือทรัพยสินที่ไดรับ
การจัดสรรจากกองทุน
พัฒนาไฟฟา
2. คพรฟ.
3. การจัดสรรเงิน และการอนุมัติ
โครงการ
4. การพัสดุ
5. การเงินและบัญชี
6. การตรวจสอบ การติดตาม
ประเมินผล
7. การประชาสัมพันธ
ผูแทนเทศบาลหรือ อบต.
จำนวนไมเกิน 3 คน เปนผู
พิจารณาอนุมัติโครงการ
ชุมชนตามที่ สกพ. กำหนด
มากกวา 5,000 ลาน
กิโลวัตต - ชั่วโมงตอป
ตั้งแต 100 - 5,000 ลาน
กิโลวัตต - ชั่วโมงตอป
ไมเกิน 100 ลาน
กิโลวัตต - ชั่วโมงตอป
กองทุนประเภท ข กองทุนประเภท ค
กองทุนประเภท ก
มีคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา (คพรฟ.) ทำหนาที่บริหารการใชจายเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา
เพื่อการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟาในเขตพื้นที่ประกาศ และ
มีคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟาตำบล (คพรต.) ทำหนาที่ในการบริหารเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา
ในเขตพื้นที่ประกาศประเภท ก ของแตละพื้นที่ปกครองเขตตำบล
กองทุนประเภท ข
มีคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา (คพรฟ.) ทำหนาที่บริหารการใชจายเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา
เพื่อการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟาในเขตพื้นที่ประกาศ
ÃٻẺ¡ÒúÃÔËÒÃáÅФ³Ð¡ÃÃÁ¡Òáͧ·Ø¹
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด8
กองทุนประเภท ค
มีผูแทนจากเทศบาลหรือองคการบริหารสวนตำบล ในพื้นที่ประกาศ จำนวนไมเกินสามคน เปนผูพิจารณา
อนุมัติโครงการชุมชนเพื่อพัฒนาและฟนฟูทองถิ่น ตามที่ กกพ. กำหนด
กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด จัดเปนกองทุนพัฒนาไฟฟา ประเภท ข ที่มีเงินที่ไดรับ
การจัดสรร มากกวา 1 ลานบาท แตไมเกิน 50 ลานบาทตอปี โดยคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา
(คพรฟ.) เปนผูบริหารกองทุนฯ
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด9
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹ã¹¾×é¹·ÕèÃͺâç俿‡Ò (¤¾Ã¿.)
¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡ÒºÃÔÉÑ· ¡ÑÅ¿Š à¨¾Õ àÍç¹àÍç¹à¤ ¨Ó¡Ñ´
นายสมศักดิ์ แฉงชัยศรี
อบต.นครเนื่องเขต
นายอาษา จันทรพิทักษ
อบต.นครเนื่องเขต
นางจิรญาภา ลายประดิษฐ
อบต.นครเนื่องเขต
นายศุภฤกษ คงวิมล
อบต.นครเนื่องเขต
นายพรเลิศ โชคชัย
นายอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา
รองประธานกรรมการคนที่ 1
นายมานิตย จินดามงคล
ผูแทนภาคประชาชนตำบลบางเตย
รองประธานกรรมการคนที่ 2
นายไพศาล วิมลรัตน
รองผูวาราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประธานกรรมการ
นางชนกพร สกุลพุทธรักษา
ทต.นครเนื่องเขต
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด10
นายทวิน บุญญาวัฒน
ตำบลทาไข
นายมงคล สกุลรุจินันท
พลังงานจังหวัดฉะเชิงเทรา
นายภุชงค รังสินธุ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิ
นายชัยวัฒน ชลชาญ
ผูแทนสำนักงาน กกพ.
นายวิรัตน ศรีอุไร
นายก อบต.คลองนครเนื่องเขต
นายเลอสรร สายวาณิชย
นายก ทต.นครเนื่องเขต
นายเกษม จินาพันธ
ตำบลบางเตย
นายวินัย ศรีประวัติ
ตำบลบางเตย
นายสามารถ ทองมณี
ตำบลหนามแดง
นายชะโลม ดีสีสุก
ตำบลวังตะเคียน
นายประดิษฐ ประสมบุญ
ตำบลวังตะเคียน
นายสัญชาน สกาญจนชัย
ตำบลวังตะเคียน
นางชลลดา บุญหอ
ผูแทนโรงไฟฟา
นายจิรศักดิ์ ศรีคชา
ที่ปรึกษา
นางอารียา โลณะปาลวงษ
ที่ปรึกษา (ตรวจสอบภายใน)
นางสาวพัทยา โพธิิศิริ
ตำบลวังตะเคียน
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด11
ÂØ·¸ÈÒʵϢͧ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡ÒÏ ¾.È. 2559 - 2561
สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน
1. ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä»
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด เปนกองทุนประเภท ข โดยมีพื้นที่ประกาศครอบคลุม
พื้นที่ 5 ตำบล ของอำเภอเมืองจังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบดวย ตำบลหนามแดง ตำบลทาไข ตำบลบางเตย
ตำบลวังตะเคียน และตำบลคลองนครเนื่องเขต มีผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา ประเภทใบอนุญาตผลิตไฟฟา
จำนวน 1 แหง คือ บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด มีคณะกรรมการกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ
จำนวน 24 คน จำแนกเปน ภาคประชาชน 14 คน ตำบลหนามแดง 1 คน ตำบลทาไข 1 คน ตำบลบางเตย 3 คน
ตำบลวังตะเคียน 4 คน ตำบลคลองนครเนื่องเขต 5 คน (เขตเทศบาลตำบลนครเนื่องเขต จำนวน 1 คน และ
เขตองคการบริหารสวนตำบลคลองนครเนื่องเขต 4 คน) ภาครัฐ 6 คน ผูทรงคุณวุฒิ 1 คน และผูแทนโรงไฟฟา 1 คน
ที่ปรึกษา 2 คน โดยมีรองผูวาราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา เปนประธาน คพรฟ.
พื้นที่ประกาศกองทุนพัฒนาไฟฟา
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด12
ตำบลหนามแดง เปนพื้นที่ราบลุมแมน้ำบางปะกงตอเนื่องกับตำบลคลองนครเนื่องเขต และ
ตำบลคลองอุดมชลจร ประกอบดวยคลอง สำคัญหลายสาย เชน คลองหนามแดง คลองบางปลานัก คลองขวางลาง
คลองแพรกบางหมู คลองแพรกอายพรอ คลองเหลานี้มีโครงขายเชื่อมโยงติดตอกับพื้นที่ขางเคียง ซึ่งเปนพื้นที่ราบ
เปนแหลงน้ำเพื่อการเกษตร เพื่อการอุปโภคบริโภคเพื่อการคมนาคม และชวยระบายน้ำดวย
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลคลองนครเนื่อง และ ตำบลคลองอุดมชลจร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศใต ติดกับ ตำบลบางเตย อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลคลองนครเนื่องเขต และ ตำบลบางเตย อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลคลองเปรง และ ตำบลคลองอุดมชลจร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ตำบลหนามแดง เปนตำบลที่แยกมาจากตำบลคลองนครเนื่องเขต อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา เหตุที่ชื่อ
ตำบลหนามแดง เนื่องจากวาเมื่อกอนในตำบลนี้มีตนไมชนิดหนึ่งเปนไมยืนตนทรงพุมขนาดกลาง จำนวน 2-3 ตน
ขึ้นอยู ลักษณะเดน คือ มีสีแดง และมีหนามเปนจำนวนมาก ตอมาชาวบานจึงเรียกชื่อตำบลวา “ตำบลหนามแดง”
โดยแบงเขตการปกครอง เปน 7 หมูบาน ไดแก
หมู 1 คลองขวางลาง
หมู 2 คลองขวางลาง
หมู 3 บึงหนามแดง
หมู 4 บางปลานัก
หมู 5 บางปลานัก
หมู 6 บางปลานัก
หมู 7 แพรกบางหมู
ตำบลทาไข เปนพื้นที่ราบลุมตอเนื่องกับตำบลวังตะเคียน ตำบลคลองนครเนื่องเขตและตำบลบางขวัญ
เปนพื้นที่ตอนในของอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลบางขวัญ และ ตำบลคลองนครเนื่องเขต
ทิศใต ติดกับ เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลบางขวัญ และ ตำบลบานใหม
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลวังตะเคียน และ ตำบลคลองนครเนื่องเขต
ตำบลทาไข แตเดิมไดมีคนเลาขานตอๆ มาวา เปนทองถิ่นที่มีการประกอบอาชีพทางเลี้ยงเปดไข ไกไขมากที่สุด
มีพอคาแมคาทั้งตางถิ่นและในตำบลตางๆ หลั่งไหลกันเขามาซื้อไขในตำบลแหงนี้ เพื่อนำไปจำหนายทั้งปลีกและสง
มีทาขึ้นไขแทบจะทุกหมูบาน บางหมูบานมีถึง 1 - 3 ทา เมื่อการปกครองแยกเปนจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมูบาน
ทองที่แหงนี้จึงมีชื่อวาตำบล "ทาขึ้นไข" ตอมาจึงเปลี่ยนเปนตำบล "ทาไข" ในปจจุบัน โดยแบงเขตการปกครอง
เปน 17 หมูบาน ประกอบดวย
หมู 1 บานประตูน้ำทาไข
หมู 2 บานคลองเกา
หมู 3 บานคลองบางลำภู
2. Åѡɳзҧ¡ÒÂÀҾͧ¾×é¹·Õè»ÃСÒÈ
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด13
หมู 4 บานทาไข
หมู 5 บานทาไข
หมู 6 บานคลองบางขวัญ
หมู 7 บานคลองบางขวัญ
หมู 8 บานคลองสี่แยก
หมู 9 บานคลองกลาง
หมู 10 บานคลองกลาง
หมู 11 บานเอวจระเข
หมู 12 บานคลองเอวจระเข
หมู 13 บานคลองขุดใหม
หมู 14 บานสมเสร็จ
หมู 15 บานทาไข
หมู 16 บานริมคลองขุดใหม
หมู 17 บานหลังวัดประตูน้ำ
ตำบลบางเตย เปนชุมชนเมืองผสมความเปนอยูแบบชนบท การคมนาคมสะดวก สองฝงถนนจะเปน
รานคา บานเรือน สลับกับทุงนา
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลหนามแดง และ ตำบลวังตะเคียน อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศใต ติดกับ ตำบลเกาะไร ตำบลเทพราช อำเภอบานโพธิ์ และ ตำบลบางกะไห
อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลวังตะเคียน และ ตำบลโสธร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลคลองเปรง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ในอดีตทองที่บริเวณนี้มีตนหนามเตย ซึ่งสามารถที่จะนำไปจักสานได ลำตนขนาดใหญขึ้นอยูเยอะมาก
แตในปจจุบันมีพบเห็นนอยมาก จึงเปนที่มาของชื่อตำบล โดยตำบลบางเตย ตั้งอยูในเขตการปกครองของ
อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา แบงเขตการปกครอง เปน 13 หมูบาน ประกอบดวย
หมู 1 บานดอนคา
หมู 2 บานหัวแดน
หมู 3 บานคลองขุด
หมู 4 บานบางกะโหลก
หมู 5 บานเกาะดอน
หมู 6 บานบางกระรุ
หมู 7 บานคลองแขวงกลั่น
หมู 8 บานบางเตย
หมู 9 บานคลองแขวงกลั่น
หมู 10 บานบางปลานัก
หมู 11 บานแพรกวิหารแกว
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด14
หมู 12 บานแพรกอายพรอ
หมู 13 บานแพรกชุมรุม
ตำบลวังตะเคียน ตั้งอยูบนพื้นที่ราบลุมแมน้ำบางปะกงสูงจากน้ำทะเล โดยเฉลี่ยประมาณ 1 - 9 เมตร
ภายในตำบลประกอบดวยคลองหลายสาย โดยมีคลองที่สำคัญ คือ คลองวังตะเคียน คลองทาไข คลองลาว เปนตน
โดยคลองดังกลาวนี้เปนหัวใจสำคัญที่ราษฎรใชเปนแหลงน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคของตำบลวังตะเคียน
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลนครเนื่องเขต อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศใต ติดกับ ตำบลโสธร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลทาไข อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลบางเตย อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
เดิมพื้นที่ตำบลนี้เปนพื้นที่ปาไม มีตนตะเคียนจำนวนมาก มีคลองน้ำไหลผาน และมีตนตะเคียนใหญอยู
คุงวังน้ำวน ชาวบานจึงเรียกบริเวณนี้วา ตำบลวังตะเคียน แบงเขตการปกครอง เปน 10 หมูบาน ประกอบดวย
หมู 1 บานคลองวังตะเคียน
หมู 2 บานคลองลาว
หมู 3 บานคลองลาว
หมู 4 บานแพรกวังตะเคียน
หมู 5 บานวังตะเคียน
หมู 5 บานคลองเกา
หมู 7 บานคลองเกา
หมู 8 บานวังตะเคียน
หมู 9 บานบึงสามเสร็จ
หมู 10 บานคลองนา
ตำบลคลองนครเนื่องเขต มีพื้นที่ราบอันเปนสวนหนึ่งของที่ราบลุมแมน้ำบางปะกงตอเนื่องกับ
ตำบลโพรงอากาศ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว และตำบลบางขวัญ คลองทาไข คลองขวาง คลองบางใหญ คลองวังตะเคียน
เปนตนคลองเปนแหลงน้ำที่มีความสำคัญ คือ เปนแหลงน้ำเพื่อการเกษตร และเพื่อการอุปโภคบริโภคอีกทั้งยังมี
รองน้ำลึก มีโครงขายเชื่อมโยงกับพื้นที่ขางเคียง จึงใชประโยชนเพื่อการระบายน้ำ และการคมนาคม สามารถเดินทาง
ติดตอกับตำบลใกลเคียง และกรุงเทพฯ ไดสะดวก
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลโพรงอากาศ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศใต ติดกับ ตำบลวังตะเคียน อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลบางขวัญ และตำบลทาไข อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลหนามแดง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ตำบลคลองนครเนื่องเขต เปนตำบลที่มีบานเรือนราษฎรตั้งอยูบนสองฝงคลองนครเนื่องเขต และเปนลำคลอง
ที่เปนสายหลักของตำบล จึงนำชื่อคลองมาตั้งเปนชื่อตำบล แบงเขตการปกครอง เปน 17 หมูบาน ประกอบดวยหมูบาน
หมู 1 บานบึงสามเสร็จ
หมู 2 บานคลองนครเนื่องเขต
หมู 3 บานคลองนครเนื่องเขต
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด15
หมู 4 บานคลองนครเนื่องเขต
หมู 5 บานหลอดยายสุข
หมู 6 บานคลองนครเนื่องเขต
หมู 7 บานวัดชนะสงสาร
หมู 8 บานคลองนครเนื่องเขต
หมู 9 บานคลองนครเนื่องเขต
หมู 10 บานคลองขวางลาง
หมู 11 บานคลองนครเนื่องเขต
หมู 12 บานสี่แยกทาไข
หมู 13 บานสี่แยกทาไข
หมู 14 บานคลองนครเนื่องเขต
หมู 15 บานคลองขวางบน
หมู 16 บานบางใหญ
หมู 17 บานคลองนครเนื่องเขต
เขตปกครองในรูปแบบเทศบาล 1 แหง คือ เทศบาลตำบลนครเนื่องเขต
มีการแบงชุมชนออกเปน 4 ชุมชน ดังนี้
1. ชุมชนนครเนื่องเขต ไดแก หมู 7 และหมู 9
2. ชุมชนสวนมะมวง ไดแก หมู 10 และหมู 11
3. ชุมชนโรงหมู ไดแก หมู 6 , หมู 8 และหมู 12
4. ชุมชนคลองบางขวาง ไดแก หมู 13 และหมู 14
3. ÅѡɳлÃЪҡÃã¹¾×é¹·Õè»ÃСÒÈ
ตำบลหนามแดง ประกอบดวยประชากร 7 หมูบาน ประมาณ 3,055 คน 676 ครัวเรือน
อาชีพหลัก ทำนา เลี้ยงกุง เลี้ยงปลา และมีอาชีพเสริม รับจาง
การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็กและ เยาวชนไดรับ
การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม
ตำบลทาไข ประกอบดวยประชากร 17 หมูบาน ประมาณ 10,179 คน 3,651 ครัวเรือน
อาชีพหลัก อาชีพเกษตรกรรม 70% รับจาง 20% รับราชการ 5% คาขาย 5%
การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็กและ เยาวชนไดรับ
การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม
ตำบลบางเตย ประกอบดวยประชากร 13 หมูบาน ประมาณ 5,957 คน 1,474 ครัวเรือน
อาชีพหลัก เกษตรกรรม 93% คาขายและรับจาง 5% อื่นๆ 2%
การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็กและ เยาวชนไดรับ
การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด16
4. ÇѲ¹¸ÃÃÁ ÊÀÒ¾ªØÁª¹ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÈÒʹʶҹ
ขอมูลโดยสรุป ดังนี้
หนามแดง 7 หมูบาน 1,507 1,548 676
ทาไข 17 หมูบาน 4,806 5,274 3,492
บางเตย 13 หมูบาน 2,895 3,050 1,433
วังตะเคียน 10 หมูบาน 2,953 3,199 2,602
คลองนครเนื่องเขต 17 หมูบาน 3,128 3,039 1,831
ทต.นครเนื่องเขต 4 ชุมชน 757 831 1,588
ตำบล จำนวนหมูบาน/ชุมชน ประชากรชาย ประชากรหญิง ครัวเรือน
ตำบลหนามแดง
- วัฒนธรรมและสภาพชุมชน
พิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดง จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2547 ณ วัดหนามแดง หมูที่ 2 ตำบลหนามแดง
อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา โดยการริเริ่มของพระครูพิพิธสารกิจวิมล เจาคณะตำบลหนามแดง เจาอาวาสวัดหนามแดง
รวมกับชุมชนตำบลหนามแดง โดยการเก็บรวบรวมสิ่งประดิษฐทางวัฒนธรรม ไดแก เครื่องมือเครื่องใชในวิถีชีวิตและ
เครื่องมือทางการเกษตรของชุมชนตำบลหนามแดง ที่ใชมาตั้งแตอดีตและจัดแสดงไวในพิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดง
เปนแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม เพื่อใหเด็ก เยาวชน และประชาชน ในชุมชนและนอกชุมชนไดศึกษาเรียนรูถึงวิถีชีวิต
ในอดีตของชุมชนตำบลหนามแดงและตำบลใกลเคียง
พิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดงดำเนินงานในรูปคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ โดยมี นายสมพงษ
บุญศรีสุข เปนประธานคณะกรรมการดำเนินงาน พิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดงไดรับการสนับสนุนการดำเนินงาน
จากหนวยงาน/องคกรทุกฝายมีการพัฒนาอยางตอเนื่องสม่ำเสมอจนทำใหไดรับการประเมินจากคณะกรรมการประเมิน
แหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมดีเดนจังหวัดฉะเชิงเทราประจำป 2554
ตำบลวังตะเคียน ประกอบดวยประชากร 10 หมูบาน ประมาณ 6,152 คน 2,602 ครัวเรือน
อาชีพหลัก เลี้ยงสัตวน้ำ อาชีพเสริม จักสาน
การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็ก และเยาวชนไดรับ
การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม
ตำบลคลองนครเนื่องเขต ประกอบดวยประชากร 17 หมูบาน ประมาณ 6,167 คน 1,831 ครัวเรือน
อาชีพหลัก เกษตรกรรม ไดแกทำนา เลี้ยงปลาเลี้ยงกุง และอื่นๆ เชน รับจางและเปนพนักโรงงาน
การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็ก และเยาวชนไดรับ
การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม
เทศบาลตำบลนครเนื่องเขต ประกอบดวยประชากร 4 หมูบาน ประมาณ 1,588 คน 462 ครัวเรือน
อาชีพหลัก ทำนา เลี้ยงกุง อาชีพเสริม รับจาง
การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็ก และเยาวชนไดรับ
การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด17
ปจจุบันพิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดงเปนแหลงเรียนรูและแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมที่เปดบริการ
ใหเด็กเยาวชน และประชาชนทั่วไป เขาศึกษาเรียนรูไดทุกวันไมเวนวันหยุดราชการ
- สถาบันและองคกรทางศาสนา
วัด จำนวน 1 แหง คือ วัดหนามแดง
ตำบลทาไข
- สภาพชุมชน
พื้นที่ของตำบลทาไข มีโอกาสขยายตัวเปนชุมชนเมืองโดยเฉพาะเขตที่อยูติดกับเขตเทศบาล มีการพัฒนา
ทางดานการศึกษาสูงขึ้น มีการพัฒนาทางดานการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาทางดานการประกอบอาชีพ
เพิ่มขึ้น มีแนวโนมการเขามาลงทุนของภาคเอกชนสูงขึ้น
- สถาบันและองคกรทางศาสนา
วัด จำนวน 4 แหง
o วัดประตูน้ำทาไข
o วัดอุดมมงคล
o วัดถวิลศิลามงคล
o วัดนิโครธาราม
- วัฒนธรรม
มีประเพณีที่สำคัญ ไดแก วันสงกรานต งานลอยกระทง
ตำบลบางเตย
- วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น
ประเพณีวันสงกรานตผูสูงอายุ จัดเปนประจำทุกป โดยมีกิจกรรมทำบุญตักบาตร สรงน้ำพระ รดน้ำขอพร
จากผูสูงอายุ และการแขงขันกีฬาพื้นบาน
ประเพณีทำบุญถวายเทียนพรรษาใหกับวัดในเขตตำบลบางเตย ไดแก วัดราษฎรบำรุงวนาราม (วัดเกาะ)
วัดแพรกนกเอี้ยง วัดบางปลานัก เพื่อเปนพุทธบูชา และแสงสวางในการดำเนินชีวิต
มีการจัดการแขงขันกีฬาตำบล “บางเตยคัพ” เปนประจำทุกป เพื่อสรางความสามัคคีของประชาชน
ในตำบลบางเตย
- สถาบันและองคกรทางศาสนา
วัด จำนวน 3 แหง
o วัดราษฎรบำรุงวนาราม (วัดเกาะ)
o วัดแพรกนกเอี้ยง
o วัดบางปลานัก
ตำบลวังตะเคียน
- วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น
o กิจกรรมหรือประเพณีตางๆ รวมถึงวันสำคัญตางๆ เชน วันเขาพรรษา วันสงกรานต ประเพณีลอยกระทง
o กิจกรรมบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน
o กิจกรรมคายเยาวชนตางๆ
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด18
- สภาพชุมชน
พื้นที่อยูไมหางจากกรุงเทพมหานคร การคมนาคมสะดวกสามารถรองรับการขยายตัวกรุงเทพมหานครไดเปน
อยางดี ทั้งสภาพสถานประกอบการ และที่พักอาศัย
- สถาบันและองคกรทางศาสนา
วัด จำนวน 3 แหง
o วัดแพรกวังตะเคียน
o วัดนครเนื่องเขต (ตนตาล)
o วิหารแกวพระโพธิสัตวกวนอิม
ตำบลคลองนครเนื่องเขต
ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลนครเนื่องเขต สวนใหญเปนชาวเชื้อสายไทยภาคกลาง และชาวจีนบางสวน
สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาคริสต ปะปนอยูบางประมาณ รอยละ 10 ของประชากรทั้งหมด
งานและประเพณีที่สำคัญของทางศาสนาและเทศกาลประจำป ยังถือปฏิบัติเปนประจำ เชน งานประเพณีลอยกระทง
งานประเพณีวันขึ้นปใหม งานประเพณีสงกรานต เปนตน
- วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น
o ประเพณีสงกรานต เดือน เมษายน
o ประเพณีแหเทียนพรรษา เดือน กรกฎาคม
o ประเพณีวันออกพรรษา (ตักบาตรเทโว) เดือน ตุลาคม
o ประเพณีวันลอยกระทง เดือน พฤศจิกายน
o ประเพณีบวชนาค ตลอดทั้งป ยกเวนระยะเวลาเขาพรรษา 3 เดือน
- สถาบันและองคกรทางศาสนา
วัด จำนวน 4 แหง
o วัดชนะสงสารพิทยาธร
o โบสถวัดเซนตร็อค
o โบสถวัดแมพระแหงเหรียญอัศจรรย
o สถานสงเคราะหบานหทัยการุณย ศูนยสงเคราะหเด็ก มิสซังโรมันคาทรอลิกกรุงเทพฯ
5. ÃкºÊÒ¸ÒóٻâÀ¤¾×é¹°Ò¹
ตำบลหนามแดง
- การคมนาคม การจราจร
ติดตอระหวางอำเภอ จังหวัด ใชเสนทางสุวินทวงศ กรุงเทพ – ฉะเชิงเทรา ระยะทางหางจากอำเภอเมือง
ประมาณ 20 กิโลเมตร การสัญจรภายในตำบลมีถนนลาดยางแอสฟสทติก
- การติดตอสื่อสาร
o ที่ทำการไปรษณียเลขยอย
o ตูโทรศัพทสาธารณะใหบริการ จำนวน 4 ตู
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด19
- ไฟฟา
ทุกหมูบานมีไฟฟาใชแตยังไมครบทุกครัวเรือน สาเหตุอันเนื่องมาจากบางครัวเรือนปลูกสรางบานเรือนในที่ดิน
ที่หนวยงานราชการไมสามารถออกบานเลขที่ใหได
- แหลงน้ำธรรมชาติ
o คลองขวางลาง
o คลองหนามแดง
o คลองบึงหนามแดง
o คลองแพรกบางหมู
o คลองบางปลานัก
o คลองแพรกอายพรอ
ทาไข
- การคมนาคม
ถนนสายหลัก 2 สาย
o เริ่มจาก หมูที่ 1 ซึ่งเปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนลาดยางแอสฟลทติกคอนกรีตเชื่อมติดตอเขต
เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา เขาสูหมูที่ 14, 13, 12, 11, 3 และไปจรดกับถนนสายบายพาสสุวินทวงศ – บางน้ำเปรี้ยว
หมูที่ 4
o ถนนลาดยางสายบายพาสสุวินทวงศ – บางน้ำเปรี้ยว เริ่มจากเชิงสะพานขางคลองบางขวัญ ไปจรดสะพาน
ขามคลองทาไข สามารถใชเดินทางสูถนนสุวินทวงศ และถนนสายฉะเชิงเทรา – บางน้ำเปรี้ยว
ถนนสายรอง
o ถนนเชื่อมตอระหวางหมูบานเปนถนนลาดยางแอสฟลทติกคอนกรีต ถนนหินคลุก และถนนลูกรัง
จำนวน 11 สาย
- แหลงน้ำธรรมชาติ
o ลำคลองหลัก 5 สาย คือ คลองทาไข คลองขุดใหม คลองบางขวัญ คลองเอวตะเข และคลองบางลำพู
o ลำคลองยอย 9 สาย
- การไฟฟา
จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช รอยละ 100
- น้ำประปา
จำนวนครัวเรือนที่มีน้ำประปาใช รอย 40
บางเตย
- การคมนาคม
การจราจร ติดตอระหวางอำเภอ จังหวัด ใชเสนทางสุวินทวงศ กรุงเทพ – ฉะเชิงเทรา การสัญจรภายในตำบล
มีถนนลาดยาง ถนนหินคลุก ถนนลูกรัง
- การโทรคมนาคม
o ชุมสายโทรศัพท 1 แหง
o หอกระจายขาว 12 แหง
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด20
o ศูนยอินเตอรเน็ตตำบล 1 แหง (ตั้งอยูที่ อบต.บางเตย)
- การไฟฟา
มีไฟฟาใช จำนวน 13 หมูบาน และมีประชากรผูใชไฟฟา จำนวน 5,932 คน
- แหลงน้ำธรรมชาติ
ลำคลอง 24 สาย
- แหลงน้ำที่สรางขึ้น
บอน้ำสาธารณะ 2 แหง
ตำบลวังตะเคียน
- การคมนาคม
o ถนนลาดยาง จำนวน 23 สาย
o ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน 2 สาย
o ถนนหินคลุก จำนวน 7 สาย
o ถนนลูกรัง จำนวน 3 สาย
- การโทรคมนาคม
โทรศัพทสาธารณะในหมูบาน จำนวน 14 เครื่อง
- การไฟฟา
จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช จำนวน 2,350 ครัวเรือน
- แหลงน้ำธรรมชาติ
คลอง 9 สาย ไดแก
o คลองวังตะเคียน
o คลองนครเนื่องเขต
o คลองลาว
o คลองตัน
o คลองรถไฟ
o คลองบึงสามเสร็จ
o คลองหลอดตาพูล
o คลองหลอดตารื่น
o คลองนา
ตำบลคลองนครเนื่องเขต
- การคมนาคม
สามารถสัญจรไดทั้งทางบกและทางน้ำ สามารถติดตอระหวางหมูบานและอำเภอไดสะดวก แบงไดดังนี้
การคมนาคมทางบก จากตัวอำเภอเมืองฉะเชิงเทราถึงตำบลคลองนครเนื่องเขต มีทางหลวงแผนดิน
หมายเลข 304 (ถนนสุวินทวงศ) ถึงตำบลระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร สวนการคมนาคมภายในตำบลระหวาง
หมูบานตางๆ มีถนนแยกจากทางหลวงหมายเลข 304 เขาไปภายในตำบล ดังนี้
o ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด21
o ถนนลาดยาง
o ถนนลูกรัง
o ถนนหินคลุก
การคมนาคมทางน้ำ ประชาชนในพื้นที่สามารถสัญจรทางน้ำโดยอาศัยคลองตางๆ หลายสาย ดังนี้
o คลองนครเนื่องเขต
o คลองขวางบน
o คลองขวางลาง
o คลองบึงเทพยา
o คลองอดุลยราษฎร – รัฐพัฒนา
o คลองบึงหลวง
o คลองหลอด
o คลองบึงสมเด็จ
o คลองบึงทางหลวงยายเมฆ
o คลองหลอดตาขิง
o คลองหลอดแพรกนางนวล
- โทรคมนาคม
o สถานีโทรคมนาคม 1 แหง
- การไฟฟา
o ประชากรในเขตตำบลคลองนครเนื่องเขต มีไฟฟาใชครบทุกหมูบาน
o จำนวนไฟฟาสาธารณะและไฟทางตามถนนไมเพียงพอที่ประชากรตองการ
- แหลงน้ำธรรมชาติ
มีแหลงน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ประชากรในพื้นที่สามารถใชอุปโภคบริโภคได แบงเปน
o ลำน้ำ ลำหวย 4 แหง
o บึง หนอง และอื่นๆ 8 แหง
- แหลงน้ำที่สรางขึ้น
o สระน้ำ
o ถังเก็บน้ำฝน
6. ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒáÅСÒÃÊÒ¸ÒóÊØ¢
ตำบลหนามแดง
- การศึกษา
มีสถานศึกษา จำนวน 1 แหง ไดแก โรงเรียนวัดหนามแดง
- การสาธารณสุข
จำนวน 1 แหง ไดแก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับตำบล
ตำบลทาไข
- การศึกษา
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด22
o ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน จำนวน 3 แหง
o โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 3 แหง
o ศูนยใหบริการของศูนยการศึกษานอกโรงเรียน จำนวน 1 แหง
o ศูนยเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อการเกษตร จำนวน 1 แหง
- การสาธารณสุข
o โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลทาไข 1 แหง
o อัตราการมีและใชสวมราดน้ำ รอยละ 100
ตำบลบางเตย
- สถานศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา มี จำนวน 4 แหง ไดแก
o โรงเรียนวัดเกาะ
o โรงเรียนวัดแพรกนกเอี้ยง
o โรงเรียนวัดบางปลานัก
o โรงเรียนบานแขวงกลั่น (จี๊ดนอยใจบุญบำรุง 2)
โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 1 แหง คือ
o โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ศูนยบางเตย
- การสาธารณสุข
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แหง ไดแก
o โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบางเตย
o โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพบานแขวงกลั่น
อัตราการมีและใชสวมราดน้ำ รอยละ 100
การกำจัดขยะมูลฝอย พื้นที่ตำบลบางเตยไมมีแหลงทิ้งขยะ เนื่องจากแตละครัวเรือนกำจัดกันเองโดยวิธีเผา
ฝงกลบ และอบต. ไดดำเนินการรณรงคและประชาสัมพันธใหราษฎรกำจัดขยะถูกตองตามหลักสุขาภิบาล
ตำบลวังตะเคียน
- การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา 2 แหง
o โรงเรียนบานวังตะเคียน
o โรงเรียนวัดนครเนื่องเขต
ที่อานหนังสือพิมพประจำหมูบาน 2 แหง
- ศูนยสงเสริมการเรียนรูของชุมชน
- การสาธารณสุข
o สถานีอนามัยประจำตำบล 1 แหง
o อัตราการมีและใชสวมราดน้ำ รอยละ 100
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด23
สวนที่ 2 การวิเคราะหปจจัยแวดลอม
1. ปจจัยแวดลอมภายใน (ใหระบุประเด็นที่เปนจุดแข็ง-จุดออน โดยพิจารณาจากปจจัยภายใน เชน โครงสราง
ชุมชน วัฒนธรรมชุมชน ความเขมแข็งของชุมชน การประกอบอาชีพ หนวยงานที่เกี่ยวของ เปนตน)
1) ภาคเกษตรกรรมในพื้นที่สามารถพึ่งตนเองได มีพื้นที่
ผลิตสินคาดานเกษตรกรรม
2) มีที่ตั้งเชิงยุทธศาสตรในดานเศรษฐกิจที่สำคัญ สามารถ
เอื้อประโยชนทุกดาน
3) สถาบันศาสนาเปนศูนยรวมจิตใจ
4) มีแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ แหลงทองเที่ยวเชิง
อนุรักษที่สำคัญ และมีวัฒนธรรมและเพณีที่เกาแกเปน
เอกลักษณ
5) มีลำคลองเพื่อการเกษตรพาดผานตำบล
6) มีโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่หลายแหงที่พรอมในการ
ใหความรวมมือกับชุมชน
1) ระบบโครงสรางพื้นฐานไมเพียงพอตอการขยายตัวของ
การเจริญเติบโตของเมือง รวมทั้งขอจำกัดดาน ผังเมือง
2) ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย/ปญหามลภาวะจาก
สิ่งแวดลอม/การกัดเซาะชายฝง/ปญหาขยะมลพิษ
ขาดการจัดการที่เหมาะสม
3) ปญหาดานประชากรแฝงในพื้นที่คอนขางมาก
4) การสนับสนุนดานการศึกษายังไมเพียงพอ ขาดบุคลากร
ทางการศึกษา สื่อการเรียนการสอน
5) ขาดพื้นที่ใชสอยและงบประมาณในการดำเนินการ ดาน
สาธารณประโยชน
จุดแข็ง (Strength) จุดออน (Weakness)
ตำบลคลองนครเนื่องเขต
- การศึกษา
สถาบันการศึกษา มีโรงเรียนในเขตพื้นที่ จำนวน 3 แหง ดังนี้
o โรงเรียนวัดชนะสงสาร
o โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ 3
o โรงเรียนดาราสมุทร
o ศูนยพัฒนาเด็กเล็กองคการบริหารสวนตำบลคลองนครเนื่องเขต
- การสาธารณสุข
o มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจำตำบล จำนวน 1 แหง
o อัตราการมีและการใชสวมราดน้ำ รอยละ 100
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด24
สวนที่ 3 แผนยุทธศาสตรกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ
2. ปจจัยแวดลอมภายนอก (ใหระบุประเด็นที่เปนโอกาส-อุปสรรค โดยพิจารณาจากปจจัยภายนอก เชน
ปจจัยดานการเมือง ดานเทคโนโลยี กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของ เปนตน)
1) มีโอกาสขยายฐานการผลิตและการใหบริการทุกดาน
โดยเฉพาะใหบริการดานการขนสง
2) อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศสูงขึ้น
ในดานการเกษตรกรรม และการทองเที่ยว
3) มีโอกาสในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ
4) มีโอกาสในการพัฒนาไปสูการเปนเมืองนาอยูอาศัย
และการลงทุน
5) มีความมั่นคงดานการเมืองทองถิ่น
6) สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานใหมีทักษะเพิ่มขึ้น
รองรับโรงงานในพื้นที่
1) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีแนวโนมเสื่อมโทรมลง
เนื่องจากการบุกรุก
2) ความไมแนนอนของตลาดสินคาเกษตรและมาตรฐานสินคา
เกษตรอุตสาหกรรม
3) การเตรียมการของผูประกอบการและแรงงาน รองรับ
การเขาสูประชาคมอาเซียนในป 2015
4) มีปญหาที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่สงผลตอผลผลิตในการ
เกษตร เชน ภัยแลง น้ำทวม
5) คาครองชีพที่สูงขึ้นในภาวะปจจุบัน
6) มีคานิยมดานวัตถุนิยม
โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threat) (อุปสรรค หรือขอจำกัด)
1. วิสัยทัศน (สิ่งที่อยากใหกองทุนฯ จะเปนในอีก 3 ปขางหนา)
“สรางสรรคสังคมอยางมีคุณภาพ เพื่อชุมชนอยูดีมีเปนสุข ”
2. เปาหมาย (ตัวเลข คาของเปาหมาย หรือคาของตัวชี้วัด ที่กองทุนฯ จะตองไปใหถึง)
1) สังคมคุณภาพ เปาหมาย คือ ยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี พัฒนาคุณภาพคนและสังคมใหเกิดการเรียนรู
เสริมสรางสุขภาวะใหแข็งแรง มีครอบครัวและชุมชนที่เข็มแข็ง
2) เพื่อชุมชนอยูดีมีสุข เปาหมาย คือ พัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสรางความมั่นคงดานทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอม เสริมสรางความมั่นคงในระบบการบริหารบนพื้นฐานแหงความพอเพียง และมีธรรมาภิบาล โดยเนนการ
มีสวนรวมของทุกภาคสวน
3. พันธกิจ (กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหนวยงาน)
1) สงเสริมใหประชาชนมีความรูดานสุขภาวะ และหนวยงานสาธารณสุขในพื้นที่มีความพรอมในการใหบริการ
2) พัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา ยกระดับความรูและทักษะในการ
ประกอบอาชีพ สงเสริมเศรษฐกิจชุมชน เพื่อเพิ่มรายไดใหกับชุมชน
3) สงเสริมและสนับสนุนดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติใหกับ ประชาชนในพื้นที่
รอบโรงไฟฟา
4) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการดำเนินงานดานตางๆ ในเขตพื้นที่รอบโรงไฟฟาแบบบูรณาการ
กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด25
ประเด็นยุทธศาสตร
(ประเด็นที่ตองคำนึงถึงพัฒนา มุงเนน)
เปาประสงค
(สิ่งที่กองทุนฯ อยากจะบรรลุ)
กลยุทธ
(สิ่งที่จะทำเพื่อใหบรรลุเปาประสงค)
4. ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธ
1. เสริมสรางและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา
2. เสริมสราง พัฒนา และฟนฟูระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกใหมี
ประสิทธิภาพและเพียงพอ
3. สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับชุมชนและประชาชนในพื้นที่เพื่อ
ใหเกิดการสรางงาน สรางรายได และความมั่นคงดานอาชีพของประชาชน
4. สงเสริมและสนับสนุนโอกาสของประชาชนในการเขาถึงการศึกษา ความรู อาชีพ
สุขภาพ และถายทอดความรูภูมิปญญาทองถิ่นสามารถเขาถึงแหลงความรูและแหลง
อาชีพที่เหมาะสม เพื่อการดำรงชีวิตที่ดี
5. สนับสนุนการศึกษาวิจัย ผลกระทบดานตางๆ จากการดำเนินงานของโรงไฟฟาอยาง
ตอเนื่อง
1. เสริมสรางระบบความชวยเหลือและคุมครองทางสุขภาพใหกับประชาชน
2. สรางเสริมเพิ่มการเขาถึงในการบริการทางสาธารณสุข และทางวิทยาศาสตรการแพทย
3. เพิ่มการบริการดานสาธารณสุขของประชาชนใหทั่วถึงและเพียงพอตอความตองการ
ของประชาชนในพื้นที่
1. สรางเสริม อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
2. สงเสริมและประชาสัมพันธการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล
3. พัฒนาและสงเสริมการบริหารจัดการมลพิษในพื้นที่รอบโรงไฟฟา
4. เสริมสรางจิตสำนึกในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
5. สงเสริมสนับสนุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
พัฒนาและและยกระดับคุณภาพของ
ชีวิตประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา
อยางยั่งยืน
มีระบบการจัดการดานการบริการ
สาธารณสุขไดอยางเพียงพอตอความ
ตองการของประชาชนในพื้นที่
รอบโรงไฟฟา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมได
รับการสงวนรักษาไวใชประโยชนอยาง
เหมาะสมและสมดุลยั่งยืน
1. พัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนพื้นที่รอบโรงไฟฟา
2. สงเสริมสุขภาวะ และมีความพรอมในการ
ใหบริการสาธารณสุข
3. รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหดำรงอยู
อยางยั่งยืน
กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัทกัลฟเจพีเอ็นเอ็นเคจำกัด26
ประเด็น
ยุทธศาสตร
โครงการ / กิจกรรม ตัวชี้วัด
2559 2560 2561
5. โครงการ/กิจกรรม
งบดำเนินการ
ในแตละปงบประมาณ
(ลานบาท)
สอดคลองกับแผนพัฒนาชุมชนระดับหมูบาน/
ตำบลในยุทธศาสตรใด
1) พัฒนาและ
สงเสริมคุณภาพ
ชีวิต ของประชาชน
พื้นที่รอบโรงไฟฟา
คก. เสริมสรางและพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา
คก.สงเสริมและสนับสนุนโอกาสของ
ประชาชนในการเขาถึงการศึกษา ความรู
อาชีพ สุขภาพ และถายทอดความรูภูมิ
ปญญาทองถิ่นสามารถเขาถึงแหลงความรู
และแหลงอาชีพที่เหมาะสม เพื่อการดำรง
ชีวิตที่ดี
คก. เสริมสราง พัฒนา และฟนฟูระบบ
สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก
ใหมีประสิทธิภาพและเพียงพอ
คก.สนับสนุนการศึกษาวิจัย ผลกระทบ
ดานตางๆ จากการดำเนินงานของโรงไฟฟา
อยางตอเนื่อง
คก. สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถใน
การแขงขันใหกับชุมชนและประชาชนใน
พื้นที่เพื่อใหเกิดการสรางงาน สรางรายได
และความมั่นคงดานอาชีพของประชาชน
1. พัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคอยางทั่วถึง
2. สงเสริมและสนับสนุน
ใหประชาชนไดรับความรู
และเสริมทักษะ ในการ
ประกอบอาชีพอยางทั่วถึง
4.00 4.00 4.00 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและเทิดทูนพิทักษรักษาสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย ของ อบต.คลองนครเนื่องเขต
2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ของ อบต.คลองนครเนื่องเขต
3. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและเทิดทูนพิทักษรักษาสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย ของ อบต.บางเตย
4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ของ อบต.บางเตย
5. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและเทิดทูนพิทักษรักษาสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย ของ อบต.ทาไข
6. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ของ อบต.ทาไข
7. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ของ อบต.วังตะเคียน
กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัทกัลฟเจพีเอ็นเอ็นเคจำกัด27
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่

More Related Content

What's hot

แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TVแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TVVictor Ronin
 
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)Victor Ronin
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีFishFly
 
รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552
รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552
รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552Ying Kanya
 
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลFURD_RSU
 

What's hot (9)

แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TVแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TV
 
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
 
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนาAi ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
 
รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552
รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552
รายงานการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกัยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2552
 
รายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคมรายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคม
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
 

Similar to ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพWC Triumph
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54auy48
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระtongsuchart
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10Sirirat Faiubon
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 

Similar to ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่ (20)

8
88
8
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 
1
11
1
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
4 page1
4 page14 page1
4 page1
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 

ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่

  • 1.
  • 2. ÊÒúÑÞ สารจากประธานกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา 3 ความเปนมาของกองทุนพัฒนาไฟฟา 4 แนวทางในการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา 6 การบริหารเงินกองทุนเพื่อกิจการ ตามมาตรา 97(3) 7 การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ตามมาตรา 97(3) 7 ประเภทของกองทุนพัฒนาไฟฟา 8 รูปแบบการบริหารและคณะกรรมการกองทุน 8 คณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา 10 ยุทธศาสตรของกองทุนพัฒนาไฟฟา สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน 12 สวนที่ 2 การวิเคราะหปจจัยแวดลอม 24 สวนที่ 3 แผนยุทธศาสตรกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ 25 กรอบงบประมาณประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2558 29 โครงการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2558 29 ผลการดำเนินงานโครงการชุมชนประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2558 31 รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต 52 งบแสดงฐานะการเงิน 53 งบรายไดและคาใชจาย 54 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในเงินกองทุน 55 งบกระแสเงินสด 56 หมายเหตุประกอบการเงิน 57
  • 3.
  • 4. (นายไพศาล วิมลรัตน) รองผูวาราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา ประธานกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด3 ÊÒèҡ... »Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹ ã¹¾×é¹·ÕèÃͺâç俿‡Ò ตามที่กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด ไดรับอนุมัติงบประมาณประจำป พ.ศ. 2558 จากคณะกรรมการกำกับ กิจการพลังาน (กกพ.) จำนวน 25 โครงการ เปนเงิน 5,709,100 บาท เพื่อดำเนินการพัฒนาในดานตางๆ ในพื้นที่ประกาศกองทุนพัฒนาไฟฟา ประกอบดวยตำบลคลองนครเนื่องเขต ตำบลบางเตย ตำบลทาไข ตำบลหนามแดง และตำบลวังตะเคียน อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยการดำเนินการทั้ง 25 โครงการไดสำเร็จ ลุลวง กอใหเกิดประโยชนกับประชาชนในพื้นที่ประกาศ และ ประชาชนทั่วไป โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2559-2561 กองทุนพัฒนา ไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด ไดกำหนดยุทธศาสตร การพัฒนา โดยเนนทางดานสุขภาพ การศึกษา และการพัฒนา คุณภาพชีวิต ตามวิสัยทัศนที่วา “สรางสรรคสังคมอยาง มีคุณภาพเพื่อชุมชนอยูดีมีสุข” ทั้งนี้การพัฒนาจะเกิดผล สัมฤทธิ์กับประชาชนมากนอยเพียงใด ทุกภาคสวนตองมี สวนรวมในการดำเนินการ เพื่อใหเกิดการสรางชุมชน เขมแข็งไดอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต
  • 5. Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ¡Ó¡Ñº¡Ô¨¡ÒþÅѧ§Ò¹ ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò à¾×èÍ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹·ÕèÂÑè§Â×¹ ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò à¾×èÍ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹·ÕèÂÑè§Â×¹ กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด เงินกองทุนพัฒนาไฟฟาตามมาตรา 97(3) หรือเงินกองทุนในพื้นที่ประกาศ เปนเงินไดที่ กกพ. เรียกเก็บจาก ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา ตามมติของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ในการประชุมเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2552 เพื่อนำสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟา โดยเรียกเก็บจาก 1. ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการผลิตไฟฟา รายใหม หมายถึง ผูรับใบอนุญาตฯ ที่ไดรับใบอนุญาต ปลูกสรางอาคารหรือการตั้งโรงงานตั้งแตวันที่ระเบียบ กกพ. เรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการนำสงเงินและ การใชจายเงินกองทุนพัฒนาไฟฟามีผลบังคับใชเปนตนไป นำสงเงินเขากองทุน ดังนี้ ชวงระหวางการกอสราง (นับตั้งแตวันที่เริ่มดำเนินการกอสรางโรงไฟฟาตามสัญญาวาจางผูรับเหมาเพื่อ ดำเนินการกอสราง จนถึงวันที่เริ่มจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย (Commercial Operation Date: COD) ใหจายเงิน เปนรายปตามกำลังการผลิตติดตั้งของโรงไฟฟา ในอัตรา 50,000 บาท/เมกะวัตต/ป โดยในปแรกใหจายภายใน 5 วันทำการนับจากวันที่เริ่มดำเนินการกอสรางโรงไฟฟา สำหรับปถัดปถัดไป ใหจายภายใน 5 วันทำการแรกของป ชวงระหวางการผลิตไฟฟา (นับตั้งแตวันที่เริ่ม COD เปนตนไป) ใหจายเงินเขากองทุนเปนรายเดือนตาม ปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟาตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟา โดยจำแนกตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช ในการผลิตไฟฟาในอัตราดังนี้ 2. ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการผลิตไฟฟา รายปจจุบัน หมายถึง ผูรับใบอนุญาตฯ ที่ไดรับใบอนุญาต ในการปลูกสรางอาคารหรือการตั้งโรงงานกอนวันที่ระเบียบ กกพ. ดังกลาวมีผลบังคับใช กำหนดใหจายเงินเขากองทุน พัฒนาไฟฟาเฉพาะชวงระหวางการผลิตไฟฟาเทานั้น 3. ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการจำหนายไฟฟา นำสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟาเปนรายเดือน โดยหักจากอัตราคาบริการ ตามอัตราที่ กกพ. ประกาศกำหนด ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò อัตราการเก็บเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟา ตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ประเภทเชื้อเพลิง กาซธรรมชาติ น้ำมันเตา, ดีเซล ถายหิน, ลิกไนต พลังหมุนเวียน ประเภทลมและแสงอาทิตย พลังหมุนเวียน ประเภทพลังน้ำ พลังหมุนเวียน ประเภทอื่น เชน กาซชีวภาพ ชีวมวล กากและเศษวัสดุเหลือใช ชยะชุมชนและอื่นๆ 1.0 1.5 2.0 1.0 2.0 1.0 สตางค/หนวยไฟฟาที่ผลิตไดในแตละเดือน กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด4
  • 6. ทั้งนี้ปริมาณเงินที่นำสงเขากองทุน จะตองสอดคลองกับการดำเนินงานของผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการ ไฟฟาที่ใหบริการแกผูใชไฟฟาที่ดอยโอกาสหรือใหมีการใหบริการไฟฟาอยางทั่วถึงหรือเพื่อสงเสริมนโยบายในการกระจาย ความเจริญไปสูภูมิภาค รวมทั้ง ตองสอดคลองกับโครงสรางอัตราคาไฟฟาและแผนการลงทุนในกิจการไฟฟาตามที่ กพช. กำหนด โดยคำนึงถึงผลกระทบตอผูใชไฟฟาที่จะตองรับภาระในการที่ผูรับอนุญาตประกอบกิจการไฟฟานำสงเงิน เขากองทุนดวย โดย สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.) จะจัดสรรใหกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ ใชจายเพื่อการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบ จากการดำเนินงานของโรงไฟฟา ตามมาตรา 97 (3) โดยแยก เปนรายบัญชีตามโรงไฟฟา และใหตอทายดวยชื่อของโรงไฟฟา หรือชื่อตำบล หรือชื่ออำเภอ หรือชื่อจังหวัด ที่โรงไฟฟาตั้งอยู กกพ. ไดกำหนดนโยบายในการบริหารกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ โดยมีหลักการในการบริหารเงินกองทุน ดังนี้ 1. มีการกระจายอำนาจการบริหารจัดการสูชุมชน เพื่อใหมีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาลโปรงใส ตรวจสอบได 2. สงเสริม สนับสนุนใหมีการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน โดยชุมชนเพื่อชุมชน เนนการมีสวนรวมของชุมชน เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาศักยภาพชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสรางระบบสวัสดิการของ ประชาชนและชุมชนอยางมีคุณภาพ เพื่อใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น 3. สงเสริม สนับสนุนใหเกิดความรวมมือ การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางชุมชนภายในพื้นที่ประกาศ เพื่อใหเกิด การเชื่อมโยงและบูรณาการ การทำงานรวมกันกับภาคีตาง ๆ ไดแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานราชการ องคกรชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน เปนตน 4. สงเสริม สนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงขอมูล การเรียนรู การบริหารจัดการ การติดตามตรวจสอบ การประชาสัมพันธสูสาธารณชน การพัฒนาระบบขอมูลระหวางกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศทุกระดับพื้นที่ เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน 5. มีการชดเชยเพื่อเยียวยาใหผูไดรับผลกระทบโดยตรงจากการดำเนินงานของโรงไฟฟา ทั้งดานสุขภาพ อาชีพ และสิ่งแวดลอม 6. สงเสริม สนับสนุน การฟนฟูธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม การเฝาระวังทางสังคม สุขภาวะ สิ่งแวดลอม หลักการสำคัญในการบริหารเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด5
  • 7. แนวทางในการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา สำหรับเงินกองทุนในสวนที่จัดสรรใหใชในกิจการของกองทุนพัฒนาไฟฟาในแตละพื้นที่ประกาศที่โรงไฟฟาของผูรับ ใบอนุญาตผลิตไฟฟานั้น ๆ ตั้งอยูนั้น ใหจัดสรรเปน 2 สวน สวนที่ 1 ไมเกินรอยละ 15 เปนคาใชจายในการบริหารจัดการประจำปสำหรับกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ ประกาศ สวนที่ 2 ไมนอยกวารอยละ 85 เปนเงินอุดหนุนการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจาก การดำเนินงานของโรงไฟฟา โดยการเสนอโครงการชุมชนเพื่อประโยชนของประชาชนในพื้นที่ประกาศตามระเบียบ กองทุนพัฒนาไฟฟา ไดกำหนดให สกพ. ไดกันเงินไวไมเกินรอยละ 5 เพื่อดำเนินการในกิจการ ดังนี้ 1. สำรองไวใชในกรณีฉุกเฉิน เพื่อเยียวยาหรือบรรเทาความเสียหายในเบื้องตนจากผลกระทบที่มีสาเหตุ จากโรงไฟฟาตามที่ กกพ. เห็นสมควร 2. อุดหนุนใหกับการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟาที่ไดรับการ จัดสรรเงินจำนวนนอยไมเพียงพอตอการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่น ทั้งนี้ จำนวนเงินที่จะสนับสนุนใหกับแตละทองถิ่น ใหขึ้นอยูกับความเหมาะสมตามที่ กกพ. กำหนด 3. เพื่อการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาไฟฟา กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด6
  • 8. เงินที่การไฟฟา/โรงไฟฟา (ผูรับใบอนุญาตผลิตไฟฟา) นำสงเขากองทุน การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ตามมาตรา 97(3) สกพ. ดำเนินการ 1. สำรองไวใชในกรณีฉุกเฉิน 2. อุดหนุนใหกับกองทุนขนาดเล็ก 3. เพื่อการบริหารจัดการกองทุน คาบริหาร จัดการ ไมเกิน 15% โครงการชุมชน ไมนอยกวา 85% เงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ในพื้นที่ประกาศ 95% กพรฟ. 5% สกพ.5% สกพ. ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด7
  • 9. »ÃÐàÀ·¢Í§¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡Ò 1. กองทุนประเภท ก สำหรับพื้นที่ที่ไดรับการจัดสรรเงินเพื่อการพัฒนาพื้นที่มากพอตอการบริหารจัดการ ไดเต็มรูปแบบ โดยมีปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟามากกวาหาพันลานกิโลวัตต - ชั่วโมงตอป หรือมีรายไดมากกวา หาสิบลานบาทตอปขึ้นไป 2. กองทุนประเภท ข สำหรับพื้นที่ที่ไดรับการจัดสรรเงินเพื่อการพัฒนาพื้นที่เพียงพอตอการบริหารจัดการ ในระดับปานกลาง โดยมีปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟาไมเกินหาพันลานกิโลวัตต - ชั่วโมง และมีรายไดมากกวา หนึ่งลานบาทแตไมเกินหาสิบลานบาทตอป 3. กองทุนประเภท ค สำหรับพื้นที่ที่ไดรับการจัดสรรเงินนอย ควรมีการบริหารจัดการอยางจำกัด โดยมี ปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟาไมเกินหนึ่งรอยลานกิโลวัตต - ชั่วโมงตอป และมีรายไดไมเกินหนึ่งลานบาทตอป ประเภทกองทุน กองทุนประเภท ก เงินที่ไดรับการจัดสรร มาก (มากกวา 50 ลานบาท ตอป) ปานกลาง (มากกวา 1 - 50 ลานบาท ตอป) นอย (ไมเกิน 1 ลานบาท ตอป) ปริมาณการผลิตพลังงาน ไฟฟา องคประกอบการบริหาร กองทุน 1. เงินหรือทรัพยสินที่ไดรับ การจัดสรรจากกองทุน พัฒนาไฟฟา 2. คพรฟ. และ คพรต. 3. การจัดสรรเงิน และการ อนุมัติโครงการ 4. การพัสดุ 5. การเงินและบัญชี 6. การตรวจสอบ การติดตาม ประเมินผล 7. การประชาสัมพันธ 1. เงินหรือทรัพยสินที่ไดรับ การจัดสรรจากกองทุน พัฒนาไฟฟา 2. คพรฟ. 3. การจัดสรรเงิน และการอนุมัติ โครงการ 4. การพัสดุ 5. การเงินและบัญชี 6. การตรวจสอบ การติดตาม ประเมินผล 7. การประชาสัมพันธ ผูแทนเทศบาลหรือ อบต. จำนวนไมเกิน 3 คน เปนผู พิจารณาอนุมัติโครงการ ชุมชนตามที่ สกพ. กำหนด มากกวา 5,000 ลาน กิโลวัตต - ชั่วโมงตอป ตั้งแต 100 - 5,000 ลาน กิโลวัตต - ชั่วโมงตอป ไมเกิน 100 ลาน กิโลวัตต - ชั่วโมงตอป กองทุนประเภท ข กองทุนประเภท ค กองทุนประเภท ก มีคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา (คพรฟ.) ทำหนาที่บริหารการใชจายเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา เพื่อการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟาในเขตพื้นที่ประกาศ และ มีคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟาตำบล (คพรต.) ทำหนาที่ในการบริหารเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ในเขตพื้นที่ประกาศประเภท ก ของแตละพื้นที่ปกครองเขตตำบล กองทุนประเภท ข มีคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา (คพรฟ.) ทำหนาที่บริหารการใชจายเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา เพื่อการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟาในเขตพื้นที่ประกาศ ÃٻẺ¡ÒúÃÔËÒÃáÅФ³Ð¡ÃÃÁ¡Òáͧ·Ø¹ กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด8
  • 10. กองทุนประเภท ค มีผูแทนจากเทศบาลหรือองคการบริหารสวนตำบล ในพื้นที่ประกาศ จำนวนไมเกินสามคน เปนผูพิจารณา อนุมัติโครงการชุมชนเพื่อพัฒนาและฟนฟูทองถิ่น ตามที่ กกพ. กำหนด กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด จัดเปนกองทุนพัฒนาไฟฟา ประเภท ข ที่มีเงินที่ไดรับ การจัดสรร มากกวา 1 ลานบาท แตไมเกิน 50 ลานบาทตอปี โดยคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา (คพรฟ.) เปนผูบริหารกองทุนฯ กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด9
  • 11. ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒþѲ¹ÒªØÁª¹ã¹¾×é¹·ÕèÃͺâç俿‡Ò (¤¾Ã¿.) ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡ÒºÃÔÉÑ· ¡ÑÅ¿Š à¨¾Õ àÍç¹àÍç¹à¤ ¨Ó¡Ñ´ นายสมศักดิ์ แฉงชัยศรี อบต.นครเนื่องเขต นายอาษา จันทรพิทักษ อบต.นครเนื่องเขต นางจิรญาภา ลายประดิษฐ อบต.นครเนื่องเขต นายศุภฤกษ คงวิมล อบต.นครเนื่องเขต นายพรเลิศ โชคชัย นายอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา รองประธานกรรมการคนที่ 1 นายมานิตย จินดามงคล ผูแทนภาคประชาชนตำบลบางเตย รองประธานกรรมการคนที่ 2 นายไพศาล วิมลรัตน รองผูวาราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา ประธานกรรมการ นางชนกพร สกุลพุทธรักษา ทต.นครเนื่องเขต กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด10
  • 12. นายทวิน บุญญาวัฒน ตำบลทาไข นายมงคล สกุลรุจินันท พลังงานจังหวัดฉะเชิงเทรา นายภุชงค รังสินธุ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ นายชัยวัฒน ชลชาญ ผูแทนสำนักงาน กกพ. นายวิรัตน ศรีอุไร นายก อบต.คลองนครเนื่องเขต นายเลอสรร สายวาณิชย นายก ทต.นครเนื่องเขต นายเกษม จินาพันธ ตำบลบางเตย นายวินัย ศรีประวัติ ตำบลบางเตย นายสามารถ ทองมณี ตำบลหนามแดง นายชะโลม ดีสีสุก ตำบลวังตะเคียน นายประดิษฐ ประสมบุญ ตำบลวังตะเคียน นายสัญชาน สกาญจนชัย ตำบลวังตะเคียน นางชลลดา บุญหอ ผูแทนโรงไฟฟา นายจิรศักดิ์ ศรีคชา ที่ปรึกษา นางอารียา โลณะปาลวงษ ที่ปรึกษา (ตรวจสอบภายใน) นางสาวพัทยา โพธิิศิริ ตำบลวังตะเคียน กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด11
  • 13. ÂØ·¸ÈÒʵϢͧ¡Í§·Ø¹¾Ñ²¹Òä¿¿‡ÒÏ ¾.È. 2559 - 2561 สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน 1. ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด เปนกองทุนประเภท ข โดยมีพื้นที่ประกาศครอบคลุม พื้นที่ 5 ตำบล ของอำเภอเมืองจังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบดวย ตำบลหนามแดง ตำบลทาไข ตำบลบางเตย ตำบลวังตะเคียน และตำบลคลองนครเนื่องเขต มีผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา ประเภทใบอนุญาตผลิตไฟฟา จำนวน 1 แหง คือ บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด มีคณะกรรมการกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ จำนวน 24 คน จำแนกเปน ภาคประชาชน 14 คน ตำบลหนามแดง 1 คน ตำบลทาไข 1 คน ตำบลบางเตย 3 คน ตำบลวังตะเคียน 4 คน ตำบลคลองนครเนื่องเขต 5 คน (เขตเทศบาลตำบลนครเนื่องเขต จำนวน 1 คน และ เขตองคการบริหารสวนตำบลคลองนครเนื่องเขต 4 คน) ภาครัฐ 6 คน ผูทรงคุณวุฒิ 1 คน และผูแทนโรงไฟฟา 1 คน ที่ปรึกษา 2 คน โดยมีรองผูวาราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา เปนประธาน คพรฟ. พื้นที่ประกาศกองทุนพัฒนาไฟฟา กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด12
  • 14. ตำบลหนามแดง เปนพื้นที่ราบลุมแมน้ำบางปะกงตอเนื่องกับตำบลคลองนครเนื่องเขต และ ตำบลคลองอุดมชลจร ประกอบดวยคลอง สำคัญหลายสาย เชน คลองหนามแดง คลองบางปลานัก คลองขวางลาง คลองแพรกบางหมู คลองแพรกอายพรอ คลองเหลานี้มีโครงขายเชื่อมโยงติดตอกับพื้นที่ขางเคียง ซึ่งเปนพื้นที่ราบ เปนแหลงน้ำเพื่อการเกษตร เพื่อการอุปโภคบริโภคเพื่อการคมนาคม และชวยระบายน้ำดวย ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลคลองนครเนื่อง และ ตำบลคลองอุดมชลจร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต ติดกับ ตำบลบางเตย อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลคลองนครเนื่องเขต และ ตำบลบางเตย อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลคลองเปรง และ ตำบลคลองอุดมชลจร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ตำบลหนามแดง เปนตำบลที่แยกมาจากตำบลคลองนครเนื่องเขต อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา เหตุที่ชื่อ ตำบลหนามแดง เนื่องจากวาเมื่อกอนในตำบลนี้มีตนไมชนิดหนึ่งเปนไมยืนตนทรงพุมขนาดกลาง จำนวน 2-3 ตน ขึ้นอยู ลักษณะเดน คือ มีสีแดง และมีหนามเปนจำนวนมาก ตอมาชาวบานจึงเรียกชื่อตำบลวา “ตำบลหนามแดง” โดยแบงเขตการปกครอง เปน 7 หมูบาน ไดแก หมู 1 คลองขวางลาง หมู 2 คลองขวางลาง หมู 3 บึงหนามแดง หมู 4 บางปลานัก หมู 5 บางปลานัก หมู 6 บางปลานัก หมู 7 แพรกบางหมู ตำบลทาไข เปนพื้นที่ราบลุมตอเนื่องกับตำบลวังตะเคียน ตำบลคลองนครเนื่องเขตและตำบลบางขวัญ เปนพื้นที่ตอนในของอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลบางขวัญ และ ตำบลคลองนครเนื่องเขต ทิศใต ติดกับ เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลบางขวัญ และ ตำบลบานใหม ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลวังตะเคียน และ ตำบลคลองนครเนื่องเขต ตำบลทาไข แตเดิมไดมีคนเลาขานตอๆ มาวา เปนทองถิ่นที่มีการประกอบอาชีพทางเลี้ยงเปดไข ไกไขมากที่สุด มีพอคาแมคาทั้งตางถิ่นและในตำบลตางๆ หลั่งไหลกันเขามาซื้อไขในตำบลแหงนี้ เพื่อนำไปจำหนายทั้งปลีกและสง มีทาขึ้นไขแทบจะทุกหมูบาน บางหมูบานมีถึง 1 - 3 ทา เมื่อการปกครองแยกเปนจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมูบาน ทองที่แหงนี้จึงมีชื่อวาตำบล "ทาขึ้นไข" ตอมาจึงเปลี่ยนเปนตำบล "ทาไข" ในปจจุบัน โดยแบงเขตการปกครอง เปน 17 หมูบาน ประกอบดวย หมู 1 บานประตูน้ำทาไข หมู 2 บานคลองเกา หมู 3 บานคลองบางลำภู 2. Åѡɳзҧ¡ÒÂÀҾͧ¾×é¹·Õè»ÃСÒÈ กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด13
  • 15. หมู 4 บานทาไข หมู 5 บานทาไข หมู 6 บานคลองบางขวัญ หมู 7 บานคลองบางขวัญ หมู 8 บานคลองสี่แยก หมู 9 บานคลองกลาง หมู 10 บานคลองกลาง หมู 11 บานเอวจระเข หมู 12 บานคลองเอวจระเข หมู 13 บานคลองขุดใหม หมู 14 บานสมเสร็จ หมู 15 บานทาไข หมู 16 บานริมคลองขุดใหม หมู 17 บานหลังวัดประตูน้ำ ตำบลบางเตย เปนชุมชนเมืองผสมความเปนอยูแบบชนบท การคมนาคมสะดวก สองฝงถนนจะเปน รานคา บานเรือน สลับกับทุงนา ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลหนามแดง และ ตำบลวังตะเคียน อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต ติดกับ ตำบลเกาะไร ตำบลเทพราช อำเภอบานโพธิ์ และ ตำบลบางกะไห อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลวังตะเคียน และ ตำบลโสธร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลคลองเปรง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ในอดีตทองที่บริเวณนี้มีตนหนามเตย ซึ่งสามารถที่จะนำไปจักสานได ลำตนขนาดใหญขึ้นอยูเยอะมาก แตในปจจุบันมีพบเห็นนอยมาก จึงเปนที่มาของชื่อตำบล โดยตำบลบางเตย ตั้งอยูในเขตการปกครองของ อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา แบงเขตการปกครอง เปน 13 หมูบาน ประกอบดวย หมู 1 บานดอนคา หมู 2 บานหัวแดน หมู 3 บานคลองขุด หมู 4 บานบางกะโหลก หมู 5 บานเกาะดอน หมู 6 บานบางกระรุ หมู 7 บานคลองแขวงกลั่น หมู 8 บานบางเตย หมู 9 บานคลองแขวงกลั่น หมู 10 บานบางปลานัก หมู 11 บานแพรกวิหารแกว กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด14
  • 16. หมู 12 บานแพรกอายพรอ หมู 13 บานแพรกชุมรุม ตำบลวังตะเคียน ตั้งอยูบนพื้นที่ราบลุมแมน้ำบางปะกงสูงจากน้ำทะเล โดยเฉลี่ยประมาณ 1 - 9 เมตร ภายในตำบลประกอบดวยคลองหลายสาย โดยมีคลองที่สำคัญ คือ คลองวังตะเคียน คลองทาไข คลองลาว เปนตน โดยคลองดังกลาวนี้เปนหัวใจสำคัญที่ราษฎรใชเปนแหลงน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคของตำบลวังตะเคียน ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลนครเนื่องเขต อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต ติดกับ ตำบลโสธร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลทาไข อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลบางเตย อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เดิมพื้นที่ตำบลนี้เปนพื้นที่ปาไม มีตนตะเคียนจำนวนมาก มีคลองน้ำไหลผาน และมีตนตะเคียนใหญอยู คุงวังน้ำวน ชาวบานจึงเรียกบริเวณนี้วา ตำบลวังตะเคียน แบงเขตการปกครอง เปน 10 หมูบาน ประกอบดวย หมู 1 บานคลองวังตะเคียน หมู 2 บานคลองลาว หมู 3 บานคลองลาว หมู 4 บานแพรกวังตะเคียน หมู 5 บานวังตะเคียน หมู 5 บานคลองเกา หมู 7 บานคลองเกา หมู 8 บานวังตะเคียน หมู 9 บานบึงสามเสร็จ หมู 10 บานคลองนา ตำบลคลองนครเนื่องเขต มีพื้นที่ราบอันเปนสวนหนึ่งของที่ราบลุมแมน้ำบางปะกงตอเนื่องกับ ตำบลโพรงอากาศ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว และตำบลบางขวัญ คลองทาไข คลองขวาง คลองบางใหญ คลองวังตะเคียน เปนตนคลองเปนแหลงน้ำที่มีความสำคัญ คือ เปนแหลงน้ำเพื่อการเกษตร และเพื่อการอุปโภคบริโภคอีกทั้งยังมี รองน้ำลึก มีโครงขายเชื่อมโยงกับพื้นที่ขางเคียง จึงใชประโยชนเพื่อการระบายน้ำ และการคมนาคม สามารถเดินทาง ติดตอกับตำบลใกลเคียง และกรุงเทพฯ ไดสะดวก ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลโพรงอากาศ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต ติดกับ ตำบลวังตะเคียน อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลบางขวัญ และตำบลทาไข อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลหนามแดง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ตำบลคลองนครเนื่องเขต เปนตำบลที่มีบานเรือนราษฎรตั้งอยูบนสองฝงคลองนครเนื่องเขต และเปนลำคลอง ที่เปนสายหลักของตำบล จึงนำชื่อคลองมาตั้งเปนชื่อตำบล แบงเขตการปกครอง เปน 17 หมูบาน ประกอบดวยหมูบาน หมู 1 บานบึงสามเสร็จ หมู 2 บานคลองนครเนื่องเขต หมู 3 บานคลองนครเนื่องเขต กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด15
  • 17. หมู 4 บานคลองนครเนื่องเขต หมู 5 บานหลอดยายสุข หมู 6 บานคลองนครเนื่องเขต หมู 7 บานวัดชนะสงสาร หมู 8 บานคลองนครเนื่องเขต หมู 9 บานคลองนครเนื่องเขต หมู 10 บานคลองขวางลาง หมู 11 บานคลองนครเนื่องเขต หมู 12 บานสี่แยกทาไข หมู 13 บานสี่แยกทาไข หมู 14 บานคลองนครเนื่องเขต หมู 15 บานคลองขวางบน หมู 16 บานบางใหญ หมู 17 บานคลองนครเนื่องเขต เขตปกครองในรูปแบบเทศบาล 1 แหง คือ เทศบาลตำบลนครเนื่องเขต มีการแบงชุมชนออกเปน 4 ชุมชน ดังนี้ 1. ชุมชนนครเนื่องเขต ไดแก หมู 7 และหมู 9 2. ชุมชนสวนมะมวง ไดแก หมู 10 และหมู 11 3. ชุมชนโรงหมู ไดแก หมู 6 , หมู 8 และหมู 12 4. ชุมชนคลองบางขวาง ไดแก หมู 13 และหมู 14 3. ÅѡɳлÃЪҡÃã¹¾×é¹·Õè»ÃСÒÈ ตำบลหนามแดง ประกอบดวยประชากร 7 หมูบาน ประมาณ 3,055 คน 676 ครัวเรือน อาชีพหลัก ทำนา เลี้ยงกุง เลี้ยงปลา และมีอาชีพเสริม รับจาง การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็กและ เยาวชนไดรับ การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม ตำบลทาไข ประกอบดวยประชากร 17 หมูบาน ประมาณ 10,179 คน 3,651 ครัวเรือน อาชีพหลัก อาชีพเกษตรกรรม 70% รับจาง 20% รับราชการ 5% คาขาย 5% การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็กและ เยาวชนไดรับ การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม ตำบลบางเตย ประกอบดวยประชากร 13 หมูบาน ประมาณ 5,957 คน 1,474 ครัวเรือน อาชีพหลัก เกษตรกรรม 93% คาขายและรับจาง 5% อื่นๆ 2% การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็กและ เยาวชนไดรับ การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด16
  • 18. 4. ÇѲ¹¸ÃÃÁ ÊÀÒ¾ªØÁª¹ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÈÒʹʶҹ ขอมูลโดยสรุป ดังนี้ หนามแดง 7 หมูบาน 1,507 1,548 676 ทาไข 17 หมูบาน 4,806 5,274 3,492 บางเตย 13 หมูบาน 2,895 3,050 1,433 วังตะเคียน 10 หมูบาน 2,953 3,199 2,602 คลองนครเนื่องเขต 17 หมูบาน 3,128 3,039 1,831 ทต.นครเนื่องเขต 4 ชุมชน 757 831 1,588 ตำบล จำนวนหมูบาน/ชุมชน ประชากรชาย ประชากรหญิง ครัวเรือน ตำบลหนามแดง - วัฒนธรรมและสภาพชุมชน พิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดง จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2547 ณ วัดหนามแดง หมูที่ 2 ตำบลหนามแดง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา โดยการริเริ่มของพระครูพิพิธสารกิจวิมล เจาคณะตำบลหนามแดง เจาอาวาสวัดหนามแดง รวมกับชุมชนตำบลหนามแดง โดยการเก็บรวบรวมสิ่งประดิษฐทางวัฒนธรรม ไดแก เครื่องมือเครื่องใชในวิถีชีวิตและ เครื่องมือทางการเกษตรของชุมชนตำบลหนามแดง ที่ใชมาตั้งแตอดีตและจัดแสดงไวในพิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดง เปนแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม เพื่อใหเด็ก เยาวชน และประชาชน ในชุมชนและนอกชุมชนไดศึกษาเรียนรูถึงวิถีชีวิต ในอดีตของชุมชนตำบลหนามแดงและตำบลใกลเคียง พิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดงดำเนินงานในรูปคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ โดยมี นายสมพงษ บุญศรีสุข เปนประธานคณะกรรมการดำเนินงาน พิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดงไดรับการสนับสนุนการดำเนินงาน จากหนวยงาน/องคกรทุกฝายมีการพัฒนาอยางตอเนื่องสม่ำเสมอจนทำใหไดรับการประเมินจากคณะกรรมการประเมิน แหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมดีเดนจังหวัดฉะเชิงเทราประจำป 2554 ตำบลวังตะเคียน ประกอบดวยประชากร 10 หมูบาน ประมาณ 6,152 คน 2,602 ครัวเรือน อาชีพหลัก เลี้ยงสัตวน้ำ อาชีพเสริม จักสาน การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็ก และเยาวชนไดรับ การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม ตำบลคลองนครเนื่องเขต ประกอบดวยประชากร 17 หมูบาน ประมาณ 6,167 คน 1,831 ครัวเรือน อาชีพหลัก เกษตรกรรม ไดแกทำนา เลี้ยงปลาเลี้ยงกุง และอื่นๆ เชน รับจางและเปนพนักโรงงาน การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็ก และเยาวชนไดรับ การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม เทศบาลตำบลนครเนื่องเขต ประกอบดวยประชากร 4 หมูบาน ประมาณ 1,588 คน 462 ครัวเรือน อาชีพหลัก ทำนา เลี้ยงกุง อาชีพเสริม รับจาง การศึกษา ในดานการศึกษา ประชาชนใหความสำคัญกับการศึกษาของบุตรหลาน เด็ก และเยาวชนไดรับ การศึกษาตามเกณฑที่เหมาะสม กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด17
  • 19. ปจจุบันพิพิธภัณฑทองถิ่นตำบลหนามแดงเปนแหลงเรียนรูและแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมที่เปดบริการ ใหเด็กเยาวชน และประชาชนทั่วไป เขาศึกษาเรียนรูไดทุกวันไมเวนวันหยุดราชการ - สถาบันและองคกรทางศาสนา วัด จำนวน 1 แหง คือ วัดหนามแดง ตำบลทาไข - สภาพชุมชน พื้นที่ของตำบลทาไข มีโอกาสขยายตัวเปนชุมชนเมืองโดยเฉพาะเขตที่อยูติดกับเขตเทศบาล มีการพัฒนา ทางดานการศึกษาสูงขึ้น มีการพัฒนาทางดานการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาทางดานการประกอบอาชีพ เพิ่มขึ้น มีแนวโนมการเขามาลงทุนของภาคเอกชนสูงขึ้น - สถาบันและองคกรทางศาสนา วัด จำนวน 4 แหง o วัดประตูน้ำทาไข o วัดอุดมมงคล o วัดถวิลศิลามงคล o วัดนิโครธาราม - วัฒนธรรม มีประเพณีที่สำคัญ ไดแก วันสงกรานต งานลอยกระทง ตำบลบางเตย - วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น ประเพณีวันสงกรานตผูสูงอายุ จัดเปนประจำทุกป โดยมีกิจกรรมทำบุญตักบาตร สรงน้ำพระ รดน้ำขอพร จากผูสูงอายุ และการแขงขันกีฬาพื้นบาน ประเพณีทำบุญถวายเทียนพรรษาใหกับวัดในเขตตำบลบางเตย ไดแก วัดราษฎรบำรุงวนาราม (วัดเกาะ) วัดแพรกนกเอี้ยง วัดบางปลานัก เพื่อเปนพุทธบูชา และแสงสวางในการดำเนินชีวิต มีการจัดการแขงขันกีฬาตำบล “บางเตยคัพ” เปนประจำทุกป เพื่อสรางความสามัคคีของประชาชน ในตำบลบางเตย - สถาบันและองคกรทางศาสนา วัด จำนวน 3 แหง o วัดราษฎรบำรุงวนาราม (วัดเกาะ) o วัดแพรกนกเอี้ยง o วัดบางปลานัก ตำบลวังตะเคียน - วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น o กิจกรรมหรือประเพณีตางๆ รวมถึงวันสำคัญตางๆ เชน วันเขาพรรษา วันสงกรานต ประเพณีลอยกระทง o กิจกรรมบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน o กิจกรรมคายเยาวชนตางๆ กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด18
  • 20. - สภาพชุมชน พื้นที่อยูไมหางจากกรุงเทพมหานคร การคมนาคมสะดวกสามารถรองรับการขยายตัวกรุงเทพมหานครไดเปน อยางดี ทั้งสภาพสถานประกอบการ และที่พักอาศัย - สถาบันและองคกรทางศาสนา วัด จำนวน 3 แหง o วัดแพรกวังตะเคียน o วัดนครเนื่องเขต (ตนตาล) o วิหารแกวพระโพธิสัตวกวนอิม ตำบลคลองนครเนื่องเขต ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลนครเนื่องเขต สวนใหญเปนชาวเชื้อสายไทยภาคกลาง และชาวจีนบางสวน สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาคริสต ปะปนอยูบางประมาณ รอยละ 10 ของประชากรทั้งหมด งานและประเพณีที่สำคัญของทางศาสนาและเทศกาลประจำป ยังถือปฏิบัติเปนประจำ เชน งานประเพณีลอยกระทง งานประเพณีวันขึ้นปใหม งานประเพณีสงกรานต เปนตน - วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น o ประเพณีสงกรานต เดือน เมษายน o ประเพณีแหเทียนพรรษา เดือน กรกฎาคม o ประเพณีวันออกพรรษา (ตักบาตรเทโว) เดือน ตุลาคม o ประเพณีวันลอยกระทง เดือน พฤศจิกายน o ประเพณีบวชนาค ตลอดทั้งป ยกเวนระยะเวลาเขาพรรษา 3 เดือน - สถาบันและองคกรทางศาสนา วัด จำนวน 4 แหง o วัดชนะสงสารพิทยาธร o โบสถวัดเซนตร็อค o โบสถวัดแมพระแหงเหรียญอัศจรรย o สถานสงเคราะหบานหทัยการุณย ศูนยสงเคราะหเด็ก มิสซังโรมันคาทรอลิกกรุงเทพฯ 5. ÃкºÊÒ¸ÒóٻâÀ¤¾×é¹°Ò¹ ตำบลหนามแดง - การคมนาคม การจราจร ติดตอระหวางอำเภอ จังหวัด ใชเสนทางสุวินทวงศ กรุงเทพ – ฉะเชิงเทรา ระยะทางหางจากอำเภอเมือง ประมาณ 20 กิโลเมตร การสัญจรภายในตำบลมีถนนลาดยางแอสฟสทติก - การติดตอสื่อสาร o ที่ทำการไปรษณียเลขยอย o ตูโทรศัพทสาธารณะใหบริการ จำนวน 4 ตู กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด19
  • 21. - ไฟฟา ทุกหมูบานมีไฟฟาใชแตยังไมครบทุกครัวเรือน สาเหตุอันเนื่องมาจากบางครัวเรือนปลูกสรางบานเรือนในที่ดิน ที่หนวยงานราชการไมสามารถออกบานเลขที่ใหได - แหลงน้ำธรรมชาติ o คลองขวางลาง o คลองหนามแดง o คลองบึงหนามแดง o คลองแพรกบางหมู o คลองบางปลานัก o คลองแพรกอายพรอ ทาไข - การคมนาคม ถนนสายหลัก 2 สาย o เริ่มจาก หมูที่ 1 ซึ่งเปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนลาดยางแอสฟลทติกคอนกรีตเชื่อมติดตอเขต เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา เขาสูหมูที่ 14, 13, 12, 11, 3 และไปจรดกับถนนสายบายพาสสุวินทวงศ – บางน้ำเปรี้ยว หมูที่ 4 o ถนนลาดยางสายบายพาสสุวินทวงศ – บางน้ำเปรี้ยว เริ่มจากเชิงสะพานขางคลองบางขวัญ ไปจรดสะพาน ขามคลองทาไข สามารถใชเดินทางสูถนนสุวินทวงศ และถนนสายฉะเชิงเทรา – บางน้ำเปรี้ยว ถนนสายรอง o ถนนเชื่อมตอระหวางหมูบานเปนถนนลาดยางแอสฟลทติกคอนกรีต ถนนหินคลุก และถนนลูกรัง จำนวน 11 สาย - แหลงน้ำธรรมชาติ o ลำคลองหลัก 5 สาย คือ คลองทาไข คลองขุดใหม คลองบางขวัญ คลองเอวตะเข และคลองบางลำพู o ลำคลองยอย 9 สาย - การไฟฟา จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช รอยละ 100 - น้ำประปา จำนวนครัวเรือนที่มีน้ำประปาใช รอย 40 บางเตย - การคมนาคม การจราจร ติดตอระหวางอำเภอ จังหวัด ใชเสนทางสุวินทวงศ กรุงเทพ – ฉะเชิงเทรา การสัญจรภายในตำบล มีถนนลาดยาง ถนนหินคลุก ถนนลูกรัง - การโทรคมนาคม o ชุมสายโทรศัพท 1 แหง o หอกระจายขาว 12 แหง กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด20
  • 22. o ศูนยอินเตอรเน็ตตำบล 1 แหง (ตั้งอยูที่ อบต.บางเตย) - การไฟฟา มีไฟฟาใช จำนวน 13 หมูบาน และมีประชากรผูใชไฟฟา จำนวน 5,932 คน - แหลงน้ำธรรมชาติ ลำคลอง 24 สาย - แหลงน้ำที่สรางขึ้น บอน้ำสาธารณะ 2 แหง ตำบลวังตะเคียน - การคมนาคม o ถนนลาดยาง จำนวน 23 สาย o ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน 2 สาย o ถนนหินคลุก จำนวน 7 สาย o ถนนลูกรัง จำนวน 3 สาย - การโทรคมนาคม โทรศัพทสาธารณะในหมูบาน จำนวน 14 เครื่อง - การไฟฟา จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช จำนวน 2,350 ครัวเรือน - แหลงน้ำธรรมชาติ คลอง 9 สาย ไดแก o คลองวังตะเคียน o คลองนครเนื่องเขต o คลองลาว o คลองตัน o คลองรถไฟ o คลองบึงสามเสร็จ o คลองหลอดตาพูล o คลองหลอดตารื่น o คลองนา ตำบลคลองนครเนื่องเขต - การคมนาคม สามารถสัญจรไดทั้งทางบกและทางน้ำ สามารถติดตอระหวางหมูบานและอำเภอไดสะดวก แบงไดดังนี้ การคมนาคมทางบก จากตัวอำเภอเมืองฉะเชิงเทราถึงตำบลคลองนครเนื่องเขต มีทางหลวงแผนดิน หมายเลข 304 (ถนนสุวินทวงศ) ถึงตำบลระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร สวนการคมนาคมภายในตำบลระหวาง หมูบานตางๆ มีถนนแยกจากทางหลวงหมายเลข 304 เขาไปภายในตำบล ดังนี้ o ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด21
  • 23. o ถนนลาดยาง o ถนนลูกรัง o ถนนหินคลุก การคมนาคมทางน้ำ ประชาชนในพื้นที่สามารถสัญจรทางน้ำโดยอาศัยคลองตางๆ หลายสาย ดังนี้ o คลองนครเนื่องเขต o คลองขวางบน o คลองขวางลาง o คลองบึงเทพยา o คลองอดุลยราษฎร – รัฐพัฒนา o คลองบึงหลวง o คลองหลอด o คลองบึงสมเด็จ o คลองบึงทางหลวงยายเมฆ o คลองหลอดตาขิง o คลองหลอดแพรกนางนวล - โทรคมนาคม o สถานีโทรคมนาคม 1 แหง - การไฟฟา o ประชากรในเขตตำบลคลองนครเนื่องเขต มีไฟฟาใชครบทุกหมูบาน o จำนวนไฟฟาสาธารณะและไฟทางตามถนนไมเพียงพอที่ประชากรตองการ - แหลงน้ำธรรมชาติ มีแหลงน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ประชากรในพื้นที่สามารถใชอุปโภคบริโภคได แบงเปน o ลำน้ำ ลำหวย 4 แหง o บึง หนอง และอื่นๆ 8 แหง - แหลงน้ำที่สรางขึ้น o สระน้ำ o ถังเก็บน้ำฝน 6. ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒáÅСÒÃÊÒ¸ÒóÊØ¢ ตำบลหนามแดง - การศึกษา มีสถานศึกษา จำนวน 1 แหง ไดแก โรงเรียนวัดหนามแดง - การสาธารณสุข จำนวน 1 แหง ไดแก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับตำบล ตำบลทาไข - การศึกษา กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด22
  • 24. o ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน จำนวน 3 แหง o โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 3 แหง o ศูนยใหบริการของศูนยการศึกษานอกโรงเรียน จำนวน 1 แหง o ศูนยเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อการเกษตร จำนวน 1 แหง - การสาธารณสุข o โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลทาไข 1 แหง o อัตราการมีและใชสวมราดน้ำ รอยละ 100 ตำบลบางเตย - สถานศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา มี จำนวน 4 แหง ไดแก o โรงเรียนวัดเกาะ o โรงเรียนวัดแพรกนกเอี้ยง o โรงเรียนวัดบางปลานัก o โรงเรียนบานแขวงกลั่น (จี๊ดนอยใจบุญบำรุง 2) โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 1 แหง คือ o โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ศูนยบางเตย - การสาธารณสุข โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แหง ไดแก o โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบางเตย o โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพบานแขวงกลั่น อัตราการมีและใชสวมราดน้ำ รอยละ 100 การกำจัดขยะมูลฝอย พื้นที่ตำบลบางเตยไมมีแหลงทิ้งขยะ เนื่องจากแตละครัวเรือนกำจัดกันเองโดยวิธีเผา ฝงกลบ และอบต. ไดดำเนินการรณรงคและประชาสัมพันธใหราษฎรกำจัดขยะถูกตองตามหลักสุขาภิบาล ตำบลวังตะเคียน - การศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 2 แหง o โรงเรียนบานวังตะเคียน o โรงเรียนวัดนครเนื่องเขต ที่อานหนังสือพิมพประจำหมูบาน 2 แหง - ศูนยสงเสริมการเรียนรูของชุมชน - การสาธารณสุข o สถานีอนามัยประจำตำบล 1 แหง o อัตราการมีและใชสวมราดน้ำ รอยละ 100 กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด23
  • 25. สวนที่ 2 การวิเคราะหปจจัยแวดลอม 1. ปจจัยแวดลอมภายใน (ใหระบุประเด็นที่เปนจุดแข็ง-จุดออน โดยพิจารณาจากปจจัยภายใน เชน โครงสราง ชุมชน วัฒนธรรมชุมชน ความเขมแข็งของชุมชน การประกอบอาชีพ หนวยงานที่เกี่ยวของ เปนตน) 1) ภาคเกษตรกรรมในพื้นที่สามารถพึ่งตนเองได มีพื้นที่ ผลิตสินคาดานเกษตรกรรม 2) มีที่ตั้งเชิงยุทธศาสตรในดานเศรษฐกิจที่สำคัญ สามารถ เอื้อประโยชนทุกดาน 3) สถาบันศาสนาเปนศูนยรวมจิตใจ 4) มีแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ แหลงทองเที่ยวเชิง อนุรักษที่สำคัญ และมีวัฒนธรรมและเพณีที่เกาแกเปน เอกลักษณ 5) มีลำคลองเพื่อการเกษตรพาดผานตำบล 6) มีโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่หลายแหงที่พรอมในการ ใหความรวมมือกับชุมชน 1) ระบบโครงสรางพื้นฐานไมเพียงพอตอการขยายตัวของ การเจริญเติบโตของเมือง รวมทั้งขอจำกัดดาน ผังเมือง 2) ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย/ปญหามลภาวะจาก สิ่งแวดลอม/การกัดเซาะชายฝง/ปญหาขยะมลพิษ ขาดการจัดการที่เหมาะสม 3) ปญหาดานประชากรแฝงในพื้นที่คอนขางมาก 4) การสนับสนุนดานการศึกษายังไมเพียงพอ ขาดบุคลากร ทางการศึกษา สื่อการเรียนการสอน 5) ขาดพื้นที่ใชสอยและงบประมาณในการดำเนินการ ดาน สาธารณประโยชน จุดแข็ง (Strength) จุดออน (Weakness) ตำบลคลองนครเนื่องเขต - การศึกษา สถาบันการศึกษา มีโรงเรียนในเขตพื้นที่ จำนวน 3 แหง ดังนี้ o โรงเรียนวัดชนะสงสาร o โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ 3 o โรงเรียนดาราสมุทร o ศูนยพัฒนาเด็กเล็กองคการบริหารสวนตำบลคลองนครเนื่องเขต - การสาธารณสุข o มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจำตำบล จำนวน 1 แหง o อัตราการมีและการใชสวมราดน้ำ รอยละ 100 กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด24
  • 26. สวนที่ 3 แผนยุทธศาสตรกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ 2. ปจจัยแวดลอมภายนอก (ใหระบุประเด็นที่เปนโอกาส-อุปสรรค โดยพิจารณาจากปจจัยภายนอก เชน ปจจัยดานการเมือง ดานเทคโนโลยี กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของ เปนตน) 1) มีโอกาสขยายฐานการผลิตและการใหบริการทุกดาน โดยเฉพาะใหบริการดานการขนสง 2) อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศสูงขึ้น ในดานการเกษตรกรรม และการทองเที่ยว 3) มีโอกาสในการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ 4) มีโอกาสในการพัฒนาไปสูการเปนเมืองนาอยูอาศัย และการลงทุน 5) มีความมั่นคงดานการเมืองทองถิ่น 6) สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานใหมีทักษะเพิ่มขึ้น รองรับโรงงานในพื้นที่ 1) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีแนวโนมเสื่อมโทรมลง เนื่องจากการบุกรุก 2) ความไมแนนอนของตลาดสินคาเกษตรและมาตรฐานสินคา เกษตรอุตสาหกรรม 3) การเตรียมการของผูประกอบการและแรงงาน รองรับ การเขาสูประชาคมอาเซียนในป 2015 4) มีปญหาที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่สงผลตอผลผลิตในการ เกษตร เชน ภัยแลง น้ำทวม 5) คาครองชีพที่สูงขึ้นในภาวะปจจุบัน 6) มีคานิยมดานวัตถุนิยม โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threat) (อุปสรรค หรือขอจำกัด) 1. วิสัยทัศน (สิ่งที่อยากใหกองทุนฯ จะเปนในอีก 3 ปขางหนา) “สรางสรรคสังคมอยางมีคุณภาพ เพื่อชุมชนอยูดีมีเปนสุข ” 2. เปาหมาย (ตัวเลข คาของเปาหมาย หรือคาของตัวชี้วัด ที่กองทุนฯ จะตองไปใหถึง) 1) สังคมคุณภาพ เปาหมาย คือ ยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี พัฒนาคุณภาพคนและสังคมใหเกิดการเรียนรู เสริมสรางสุขภาวะใหแข็งแรง มีครอบครัวและชุมชนที่เข็มแข็ง 2) เพื่อชุมชนอยูดีมีสุข เปาหมาย คือ พัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสรางความมั่นคงดานทรัพยากรและ สิ่งแวดลอม เสริมสรางความมั่นคงในระบบการบริหารบนพื้นฐานแหงความพอเพียง และมีธรรมาภิบาล โดยเนนการ มีสวนรวมของทุกภาคสวน 3. พันธกิจ (กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหนวยงาน) 1) สงเสริมใหประชาชนมีความรูดานสุขภาวะ และหนวยงานสาธารณสุขในพื้นที่มีความพรอมในการใหบริการ 2) พัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา ยกระดับความรูและทักษะในการ ประกอบอาชีพ สงเสริมเศรษฐกิจชุมชน เพื่อเพิ่มรายไดใหกับชุมชน 3) สงเสริมและสนับสนุนดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติใหกับ ประชาชนในพื้นที่ รอบโรงไฟฟา 4) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการดำเนินงานดานตางๆ ในเขตพื้นที่รอบโรงไฟฟาแบบบูรณาการ กองทุนพัฒนาไฟฟา บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอ็นเค จำกัด25
  • 27. ประเด็นยุทธศาสตร (ประเด็นที่ตองคำนึงถึงพัฒนา มุงเนน) เปาประสงค (สิ่งที่กองทุนฯ อยากจะบรรลุ) กลยุทธ (สิ่งที่จะทำเพื่อใหบรรลุเปาประสงค) 4. ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธ 1. เสริมสรางและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา 2. เสริมสราง พัฒนา และฟนฟูระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกใหมี ประสิทธิภาพและเพียงพอ 3. สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับชุมชนและประชาชนในพื้นที่เพื่อ ใหเกิดการสรางงาน สรางรายได และความมั่นคงดานอาชีพของประชาชน 4. สงเสริมและสนับสนุนโอกาสของประชาชนในการเขาถึงการศึกษา ความรู อาชีพ สุขภาพ และถายทอดความรูภูมิปญญาทองถิ่นสามารถเขาถึงแหลงความรูและแหลง อาชีพที่เหมาะสม เพื่อการดำรงชีวิตที่ดี 5. สนับสนุนการศึกษาวิจัย ผลกระทบดานตางๆ จากการดำเนินงานของโรงไฟฟาอยาง ตอเนื่อง 1. เสริมสรางระบบความชวยเหลือและคุมครองทางสุขภาพใหกับประชาชน 2. สรางเสริมเพิ่มการเขาถึงในการบริการทางสาธารณสุข และทางวิทยาศาสตรการแพทย 3. เพิ่มการบริการดานสาธารณสุขของประชาชนใหทั่วถึงและเพียงพอตอความตองการ ของประชาชนในพื้นที่ 1. สรางเสริม อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. สงเสริมและประชาสัมพันธการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3. พัฒนาและสงเสริมการบริหารจัดการมลพิษในพื้นที่รอบโรงไฟฟา 4. เสริมสรางจิตสำนึกในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5. สงเสริมสนับสนุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม พัฒนาและและยกระดับคุณภาพของ ชีวิตประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา อยางยั่งยืน มีระบบการจัดการดานการบริการ สาธารณสุขไดอยางเพียงพอตอความ ตองการของประชาชนในพื้นที่ รอบโรงไฟฟา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมได รับการสงวนรักษาไวใชประโยชนอยาง เหมาะสมและสมดุลยั่งยืน 1. พัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตของ ประชาชนพื้นที่รอบโรงไฟฟา 2. สงเสริมสุขภาวะ และมีความพรอมในการ ใหบริการสาธารณสุข 3. รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหดำรงอยู อยางยั่งยืน กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัทกัลฟเจพีเอ็นเอ็นเคจำกัด26
  • 28. ประเด็น ยุทธศาสตร โครงการ / กิจกรรม ตัวชี้วัด 2559 2560 2561 5. โครงการ/กิจกรรม งบดำเนินการ ในแตละปงบประมาณ (ลานบาท) สอดคลองกับแผนพัฒนาชุมชนระดับหมูบาน/ ตำบลในยุทธศาสตรใด 1) พัฒนาและ สงเสริมคุณภาพ ชีวิต ของประชาชน พื้นที่รอบโรงไฟฟา คก. เสริมสรางและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา คก.สงเสริมและสนับสนุนโอกาสของ ประชาชนในการเขาถึงการศึกษา ความรู อาชีพ สุขภาพ และถายทอดความรูภูมิ ปญญาทองถิ่นสามารถเขาถึงแหลงความรู และแหลงอาชีพที่เหมาะสม เพื่อการดำรง ชีวิตที่ดี คก. เสริมสราง พัฒนา และฟนฟูระบบ สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก ใหมีประสิทธิภาพและเพียงพอ คก.สนับสนุนการศึกษาวิจัย ผลกระทบ ดานตางๆ จากการดำเนินงานของโรงไฟฟา อยางตอเนื่อง คก. สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถใน การแขงขันใหกับชุมชนและประชาชนใน พื้นที่เพื่อใหเกิดการสรางงาน สรางรายได และความมั่นคงดานอาชีพของประชาชน 1. พัฒนาระบบ สาธารณูปโภคอยางทั่วถึง 2. สงเสริมและสนับสนุน ใหประชาชนไดรับความรู และเสริมทักษะ ในการ ประกอบอาชีพอยางทั่วถึง 4.00 4.00 4.00 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและเทิดทูนพิทักษรักษาสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ของ อบต.คลองนครเนื่องเขต 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ของ อบต.คลองนครเนื่องเขต 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและเทิดทูนพิทักษรักษาสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ของ อบต.บางเตย 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ของ อบต.บางเตย 5. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและเทิดทูนพิทักษรักษาสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ของ อบต.ทาไข 6. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ของ อบต.ทาไข 7. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ของ อบต.วังตะเคียน กองทุนพัฒนาไฟฟาบริษัทกัลฟเจพีเอ็นเอ็นเคจำกัด27