SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
1
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ. 2546 ได้ตราขึ้นตาม กฎหมาย ข้อใด
ก. กฎหมายรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ.2539
ข. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ. 2539
ค. กฎหมายรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ง. ถูกทุกข้อ
2. ในทางปฏิบัติราชการส่วนใดจะปฏิบัติเมื่อใดต้องมีเงื่อนไขอย่างไร ใครเป็นผู้กาหนดให้ปฏิบัติตามพระราช กฤษฎีกานี้
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ค. นายกรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี
3. ใครมีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะ (แก่คณะรัฐมนตรี) ก่อนจะปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในการที่จะให้ส่วน ราชการปฏิบัติ
เมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใดบ้าง
ก. คณะรัฐมนตรี ข. ก.พ.
ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ.อ.
4. คาว่า "ส่วนราชการ" ตามความหมายพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ.
2546 นั้นให้ความหมายถึงส่วนราชการตามกฎหมายข้อใด
ก. ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ข. ตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ค. ตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม
ง. ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้นจะต้องบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายทั้งหมดกี่ประการ
ก. 7 ประการ ข. 6 ประการ
ค. 5 ประการ ง. 4 ประการ
6. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้นเป้าหมายสูงสุดคือข้อใด
ก. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ข. เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชน
ค. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
ง. เกิดผลคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
7. ความบริหารของการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดผลตามข้อใด
ก. ความผาสุขของประชาชน ข. ความอยู่ดีของประชาชน
ค. ความสงบสุขเรียบร้อยของประชาชน ง. ถูกต้องทั้งหมด
8. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนส่วนราชการจะต้องดาเนินการโดยเอาอะไรเป็น ศูนย์กลางในการ
บริหารกิจการ
ก. หน่วยราชการ ข. ประเทศ
ค. สังคมและชุมชน ง. ประชาชน
9. ในการกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการจะต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ความสุขของประชาชนและจะ สอดคล้อง
ตามข้อใด
ก. สอดคล้องกับกฎหมายรัฐธรรมนูญและ ก.พ.ร.กาหนด
ข. สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี
ค. สอดคล้องกับนโยบายของคณะรัฐมนตรีและแนสนโยบายกระทรวง
ง. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ
10. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนนั้นส่วนราชการจะต้องต้องมีแนวทางในการบริหาร ราชการกี่
ประการ
ก. 5 ประการ ข. 6 ประการ
ค. 7 ประการ ง. 8 ประการ
2
11. ส่วนราชการใดที่จะต้องดาเนินการให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนนั้นจะต้องมีการกาหนดแนวทางการ บริหาร
ราชการตามข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. กาหนดภารกิจการบริหารกิจการราชการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐ
ข. จะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีผลเสียให้ครบทุกด้านที่กระทบต่อประชาชน
ค. ศึกษาปัญหาและอุปสรรคก่อนการดาเนินการแล้วปรับปรุงโดยเร็ว
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
12. ในทางปฏิบัติหากมีกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการให้ส่วนราชการปฏิบัติตามข้อใด
ก. แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว
ข. แจ้งเรียนส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้องได้ทราบปัญหา
ค. แจ้ง ก.พ.ร. ให้รับทราบ
ง. แจ้งผู้บังคับบัญชาให้แก้ไขระเบียบข้อบังคับมันโดยเร็ว
13. ในการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐส่วนราชการจะต้องปฏิบัติภารกิจนั้นจะต้อง ดาเนินการตาม
ข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. จัดทาแบบปฏิบัติราชการโดยมีรายละเอียดของขั้นตอนระยะเวลาและงบประมาณตลอดจนเป้าหมายของ ภารกิจนั้น
ข. รับความฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการมาศึกษาวิเคราะห์แล้วกาหนดภารกิจ
ค. จัดให้มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามภารกิจหลักเกณฑ์และวิธีที่ส่วนราชการกาหนดขึ้น
ง. กาหนดภารกิจการบริหารราชการให้สอดคล้องกับ แนวนโยบายของรัฐ
14. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับแผนการปฏิบัติราชการแผ่นดิน โดยจัดทา
เป็นแผนตามข้อใด
ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี
15. หน่วยงานใดขาดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดาเนินการอยู่
ก. สานักงบประมาณ
ข. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ค. ก และ ข ถูก
ง. ถูกเฉพาะข้อ ข เท่านั้น
16. ในการลดขั้นตอยการปฏิบัติงานนั้นส่วนราชการจะทาตามข้อใด
ก. กระจายอานาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่งการอนุญาติการอนุมัติให้แก่ผู้ดาเนินการเรื่องนั้นได้โดดยตรง
ข. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไม่จาเป็นและเพิ่มภารกิจที่บริการให้มากที่สุด
ค. ให้ประชาชนผู้ร่วมบริการรวมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วมและศูนย์บริการเพียงแห่งเดียว
ง. ถูกทุกข้อ
17. ในการปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนราชการ
จะจัดให้มีตามข้อใด
ก. กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงานและประกาศให้ประชาชนได้ทราบทั่วกัน
ข. ให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการหรือข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ราชการของ
ส่วนราชการนั้น
ค. ให้มีอานาจออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศเพื่อบังคับใช้
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
18. ผู้ที่ทาหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการคือข้อใด
ก. คณะ ก.ร.ม. ข. ก.พ.ร.
ค. ก.พ. ง. คณะผู้ประเมินอิสระ
19. ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการอาจจัดให้มีการประเมินข้อใดบ้าง
ก. ผู้บังคับบัญชา ข. หน่วยงานในส่วนราชการ
ค. ข้าราชการ ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
20. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องจัดทาหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของภารกิจนี้ อย่าง
น้อยจะต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวข้องกับข้อใดบ้าง
ก. การลดขั้นตอน การปฏิบัติงานและการอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
3
ค. เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนและไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติเกินความจาเป็น
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
21. ผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทาหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้ คือ
ก. สานักปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ข. สานักนายกรัฐมนตรี
ค. กระทรวงมหาดไทย
ง. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
1. ค 2. ง 3. ค 4. ค 5. ก 6. ข 7. ง 8. ง 9. ข 10. ก 11. ก 12. ก 13. ก 14. ค 15. ค 16. ก 17. ง 18. ง 19. ง
20. ก 21. ค
116. ในกรปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารประชาชนหรือติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน อะไรเป็นสิ่ง
สาคัญที่ส่วนราชการควรกาหนดและประกาศให้ประชาชนทราบ
ก. ระยะเวลาแล้วเสร็จของแต่ละงาน ข. จานวนเงินงบประมาณของแต่ละงาน
ค. จานวนบุคลากรของแต่ละงาน ง. วัตถุประสงค์ของแต่ละงาน
ตอบ ก. (หมวดที่ 7 มาตรา 37)
117. ผู้ใดมีหน้าที่ตรวจสอบ ว่างานเสร็จตามเวลาที่กาหนดหรือไม่
ก. ผู้บังคับบัญชา ข. ปลัดกระทรวง
ค. นายกรัฐมนตรี ง. อธิบดี
ตอบ ก. ผู้บังคับบัญชา (หมวดที่ 7 มาตรา 37 วรรคสอง)
118. เมื่อส่วนราชการใด ได้ติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชน เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นต้องตอบ คาถามหรือ
แจ้งให้ทราบภายในกี่วัน
ก. 15 วัน ข. ภายในกาหนดเวลาที่กาหนด
ค. ทั้งข้อ ก และ ข ง. 30 วัน
119. การจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ต้องจัดตามระบบ
เดียวกับหน่วยงานใด
ก. ระบบเดียวกับที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและกานสื่อสาร
ข. ระบบเดียวกับที่สานักนายกรัฐมนตรีประกาศใช้
ค. ระบบเดียวกับคณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการ
ง. ระบบเดียวกับที่กระทรวงคมนาคมรับรอง
ตอบ ก. (หมวดที่ 7 มาตรา 39)
120. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ได้จัดการอย่างไร เพื่ออานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชน ในการ
ติดต่อกับส่วนราชการทุกแห่ง
ก. จัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศกลางขึ้น
ข. จัดให้มีระบบสารบัญอิเล็กทรอนิกส์กลางขึ้น
ค. จัดให้มีระบบศูนย์เครือข่ายบริการประชาชนกลางขึ้น
ง. จัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศภาคประชาชนขึ้น
ตอบ ก. จัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศกลางขึ้น (หมวดที่ 7 มาตรา 40)
121. ในกรณีที่ส่วนราชการใดไม่อาจจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการได้ให้ทาอย่างไร
ก. ให้กระทรวงต้นสังกัดของหน่วยงานจัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ข. ให้สานักงานพัฒนาระบบราชการไทยดาเนินการจัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ค. ร้องขอให้กระทรวงเทคโนโลยีฯ ดาเนินการจัดระเบียบเครือข่ายสารสนเทศ
ง. ร้องขอให้สานักงบประมาณจัดงบประมาณให้จัดระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ตอบ ค. (หมวดที่ 7 มาตรา 40)
122. กรณีที่ส่วนราชการ ได้รับคาร้องเรียน เสนอแนะ เป็นหน้าที่ของใคร ที่จะต้องพิจารณาดาเนินการ
ก. ผู้บังคับบัญชา ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ส่วนราชการนั้น ง. ปลัดกระทรวง
ตอบ ค. ส่วนราชการนั้น (หมวดที่ 7 มาตรา 41)
4
123. กรณีได้รับคาร้องเรียน เสนอแนะ จากข้าราชการ หรือส่วนราชการอื่น ให้ผู้ออกกฎระเบียบ พิจารณาชี้แจงให้ทราบ
ภายในกี่วัน
ก. 5 วัน ข. 10 วัน
ค. 15 วัน ง. 20 วัน
ตอบ ค. 15 วัน (หมวดที่ 7 มาตรา 42(2) )
124. ตามข้อ 123 การร้องเรียน หรือเสนอแนะ ส่วนราชการ จะแจ้งผ่านหน่วยงานใดได้อีก
ก. แจ้งผ่าน ก.พ.ร. ได้
ข. แจ้ง ผ่านสานักนายกฯ ได้
ค. แจ้งผ่าน ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนได้
ง. แจ้งผ่าน คมช. ได้
ตอบ ก. แจ้งผ่าน ก.พ.ร. ได้ (หมวดที่ 7 มาตรา 42 วรรคสาม)
125. การปฏิบัติราชการในเรื่องใด ๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่ข้อใด
ก. เพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ
ข. เพื่อความจาเป็นต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ค. การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล จึงกาหนดให้เป็นความลับได้เท่าที่จาเป็น
ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 43)
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 43)
126. เรื่องใด ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผย
ก. ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี
ข. รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อ หรือจัดจ้างที่จะดาเนินการในปีงบประมาณนั้น
ค. สัญญาใด ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้จัดซื้อจัดจ้างแล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 44)
127. ในการจัดทาสัญญาจัดซื้อหรือจัดจ้าง ห้ามมีข้อความใดบ้าง
ก. ห้ามมิให้เปิดเผยข้อความหรือข้อตกลงในสัญญาดังกล่าว
ข. ควรเปิดเผยสัญญา
ค. ควรเปิดเผยข้อตกลงในสัญญา
ง. ไม่มีข้อห้ามทุกข้อ
ตอบ ก. (หมวดที่ 7 มาตรา 44)
128. ส่วนราชการต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ งบประมาณรายจ่าย การจัดซื้อจัดจ้าง และสัญญาใด เว้นแต่
ก. เป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมาย
ข. เป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้ กฎ ระเบียบ
ค. เป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองความลับทางราชการ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 44)
129. การกาหนดระยะเวลาปฏิบัติงาน การจัดระบบสารสนเทศ เป็นการบริหารราชการแบบใด
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ
ค. การอานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน
ง. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ตอบ ค. (หมวดที่ 7 มาตรา 37 - 40)
130. การรับฟังข้อร้องเรียน การเปิดเผยข้อมูล เป็นการบริหารราชการแบบใด
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ
ค. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ง. การอานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน
ตอบ ง. (หมวดที่ 7 มาตรา 41 - 44)
5
131. การประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวข้องกับข้อใด
ก. เกิดผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
ข. คุณภาพการให้บริการ
ค. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 8 มาตรา 45)
132. ตามข้อ 131 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ผู้ใดกาหนด
ก. ก.พ.ร. ข. ครม.
ค. คมช. ง. รมว
ตอบ ก.พ.ร. (หมวดที่ 8 มาตรา 45)
133. การประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชาและละระดับหรือหน่วยงานในส่วนราชการจะต้องกระทาในลักษณะ ใด
ก. ต้องกระทาเป็นความลับ
ข. ต้องกระทาเพื่อประโยชน์แห่งความสามัคคีของข้าราชการ
ค. ต้องเปิดเผย
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ตอบ ง. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก (หมวดที่ 8 มาตรา 46)
134. การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการเพื่ออะไร
ก. เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล
ข. เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาระบบราชการ
ค. เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
ง. ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ก. เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล (หมวดที่ 8 มาตรา 47)
135. ในกรณีที่ส่วนราชการ ดาเนินการเป็นไปตามเป้าหมายกาหนด ให้ผู้ใด เสนอ ครม. จัดสรรเงินเพิ่มพิเศษให้ ส่วน
ราชการ
ก. ก.พ.ร. ข. ครม.
ค. คมช. ง. รมว.
ตอบ ก. ก.พ.ร. (หมวดที่ 8 มาตรา 48)
136. การจัดสรรเงินรางวัล ให้ข้าราชการในสังกัด เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ผู้ใดกาหนด
ก. ก.พ.ร. ข. ครม.
ค. คมช. ง. รมว.
ตอบ ก. ก.พ.ร. (หมวดที่ 8 มาตรา 48)
137. ตามข้อ 136 โดยความเห็นชอบของผู้ใด
ก. ก.พ.ร. ข. ครม.
ค. คมช. ง. รมว.
ตอบ ข. ครม. (หมวดที่ 8 มาตรา 49)
138. เมื่อส่วนราชการใดได้ดาเนินการไปตามเป้าหมายโดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายตามหลักเกณฑ์ ก.พ.ร. กาหนด แล้ว
ก.พ.ร. สามารถเสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรสิ่งใดให้หน่วยราชการนั้น
ก. เพื่อจัดสรรรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการนั้น
ข. เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการนั้นใช้เงินงบประมาณเหลือจ่ายของส่วนราชการนั้น
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ง. ข้อ ก. และ ข. ผิด
ตอบ ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก (หมวดที่ 8 มาตรา 49)
หลักเกณฑ์การบริหารบ้านเมืองที่ดี
1. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มีชื่อย่อ
ก. ก.พ. ข. ก.พ.ร.
ค. กพ. รร. ง. ก.ร.ร.
6
จ. ไม่มีข้อใดถูก
2. ก.พ.ร. ประกอบด้วยกรรมการจานวนไม่เกิน
ก. 11 คน ข. 12 คน
ค. 13 คน ง . 14 คน
จ. 15 คน
3. สานักงาน ก.พ.ร. ในปัจจุบันมีฐานะอย่างไร
ก. ไม่เป็นส่วนราชการ ไม่มีฐานะเป็นกรม
ข. ไม่เป็นส่วนราชการ แต่มีฐานะเทียบเท่ากรม
ค. เป็นส่วนราชการอิสระ ซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรม
ง. เป็นส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีฐานะเป็นกรม
จ. เป็นส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรม
4. ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร.
ก. เสนอแนะ และให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ การพัฒนาระบบราชการ
ข. ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม
ค. เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการ
ที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น
ง. ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
จ. เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบ การพิจารณา
5. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ
ก. 2 ปี ข. 3 ปี
ค. 4 ปี ง. 5 ปี
จ. 6 ปี
6 .เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็น
ก. ข้าราชการการเมือง
ข. ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ค. ข้าราชการวิสามัญ
ง. พนักงานราชการ
จ. พนักงานของรัฐ
7. ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 3/1 ซึ่งเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดว่าในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยต้องคานึงถึง
ก. ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน
ข. การมีส่วนร่วมของประชาชน
ค. การเปิดเผยข้อมูล
ง. การติตามตรวจสอบและประเมินผลการ ปฏิบัติงาน
จ. ถูกทุกข้อ
8. ข้อใดถูกต้อง
ก. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2545
ข. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
ค. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2545
ง. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
จ. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการสร้างหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
9. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามพระราชกฤษฎีกา
ก. ประชาชนได้รับความอานวยสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
ข. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น
ค. การบริการประชาชนด้วยระบบอิเลคทรอนิคส์
ง. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
จ. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
10. การดาเนินการโดยถือว่า “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ที่จะได้รับการบริการจากรัฐ” อยู่ในหลักการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี ข้อใด
ก. ประชาชนได้รับความอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
7
ข. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น
ค. การบริการประชาชนด้วยระบบอิเลคทรอนิคส์
ง. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
จ. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
11. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้ว สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสานักงบประมาณจะต้องร่วมกันจัดทาแผน
การบริหารราชการแผ่นดิน เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาภายใน
ก. 30 วัน ข. 45 วัน
ค. 60 วัน ง. 90 วัน
จ. 120 วัน
12. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่ทาแผนนิติบัญญัติ
ก. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
13. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ให้จัดทาเป็นแผน
ก. 1 ปี ข. 2 ปี
ค. 3 ปี ง. 4 ปี
จ. 5 ปี
14. ให้ส่วนราชการจัดทา...................... ให้สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
ก. แผนการบริหารราชการแผ่นดินของส่วนราชการ
ข. แผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ค.แผนปฏิบัติราชการเพื่อของบประมาณ
ง .แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
จ. ไม่มีข้อใดถูก
15. สาระสาคัญในแผนปฏิบัติราชการประจาปี คือ
ก. นโยบายการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ
ข. เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน
ค. ประมาณการรายได้และรายจ่าย
ง. ทรัพยากรอื่นที่ต้องใช้
จ. ถูกทุกข้อ
16. หน่วยงานใดเป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทา “บัญชีต้นทุน” ในงานบริการสาธารณะ
ก. กรมบัญชีกลาง
ข. สานักงบประมาณ
ค. กระทรวงการคลัง
ง. ธนาคารแห่งประเทศไทย
จ. สานักงาน ก.พ.ร.
17. ใครบ้างที่ต้องดาเนินการเรื่อง ศูนย์บริการร่วม
ก. ปลัดกระทวง
ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค. นายอาเภอ
ง. ปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอ
จ. ถูกทุกข้อ
18. สิ่งใดบ้างที่ส่วนราชการต้องทาและเปิดเผยให้ประชาชนทราบ
ก. แผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาการดาเนินการ
ข. กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน
ค. ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณ รายจ่ายแต่ละปี
ง. เป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานหรือโครงการ และงบประมาณที่จะต้องใช้ในแต่ละงาน หรือ
โครงการ
จ. ถูกทุกข้อ
19.ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการจะประเมินเกี่ยวกับ
ก. ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
ข. คุณภาพการให้บริการ
ค. ความพึงพอใจของประชาชนผุ้รับบริการ
ง.ความคุ้มค่าในภารกิจ
จ. ถูกทุกข้อ
20. ข้อใดถูกต้องในการสั่งราชการ
8
ก. โดยปกติให้กระทาเป็นลายลักษณ์อักษร
ข. กรณีมีความจาเป็นผู้บังคับบัญชาอาจสั่งราชการด้วยวาจาก็ได้
ค. ถ้ามีการสั่งการด้วยวาจา ผู้รับคาสั่งต้องบันทึกคาสั่งนั้นเป็นลายลักษณ์อักษร
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
1.ข 2.ค 3.ง 4.ง 5.ค 6.ข 7.จ 8.ง 9.ค 10.จ
11.ง 12.ง 13.ง 14.ข 15.จ 16.ก 17.จ 18.จ 19.จ 20.จ
9
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
ฉบับแก้ไข (ฉบับ 2 ) พศ. 2548
ชุด 1 ข้อ 1 – 35
ข้อ 1 น้อง nest เขียนจดหมายมา 3 คันรถ ในจดหมายเขียนมาถามว่า ระเบียบนี้เรียกว่า อะไร ?
ก.เรียกว่า "ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2526
ข.เรียกว่า "ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
ค.เรียกว่า "ระเบียบงานสารบรรณของสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2526
ง.เรียกว่า "ระเบียบของสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
ตอบ ข.เรียกว่า "ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
(ข้อ 1) ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
ข้อ 2 ข้อ 2 ระเบียบดังกล่าวใช้บังคับเมื่อไร?
ก. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป
ข. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป
ค. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป
ง. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
ตอบ ตอบ ค. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป
ข้อ 3 ข้อ 3 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ ฉบับใดบ้างที่ถูกยกเลิก ข้อใดผิด ?
ก. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
ข.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2517
ค.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516
ง.ระเบียบสานักยกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูปงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
ตอบ ง.ระเบียบสานักยกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูปงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
ข้อ 3 ให้ยกเลิก
3.1 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
3.2 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2517
3.3 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ มติ
ของคณะรัฐมนตรี และคาสั่งอื่นใด ในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้
แทน เว้นแต่กรณีที่กล่าวในข้อ 5
ข้อ 4 หากหน่วยราชการใดมีความจาเป็นจะต้องปฏิบัตนอกเหนือไปจากที่ระเบียบนี้กาหนดควรทาอย่างไร?
ก.ขอทาความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้
ข.ขออนุมัติคณะรัฐมนตรี
ค.ขอทาความตกลงกับหน่วยงานนั้น
ง.ขอทาความตกลงกันระหว่างหน่วยงานที่ใช้ถึงกัน
ตอบ ก.ขอทาความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้
ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ
ส่วนราชการใดมีความจาเป็น ที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กาหนดไว้ในระเบียบนี้ให้ขอทาความตก
ลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้
ข้อ 5 ในกรณีที่กฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กาหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณไว้เป็น
อย่างอื่นหากต้องการปฏิบัติให้ทาอย่างไร?
ก.ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ข.ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบงานสารบัญกลาง
คให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น
ง.ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบว่าด้วยงานสารบัญ
ตอบ ค ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น
ข้อ 5* ในกรณีที่กฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กาหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณไว้
เป็นอย่างอื่น ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น
*แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32
ลงวันที่ 23 กันยายน 3548
10
ข้อ 6 ว่าที่ ร.ต.ต. decvaet อยากถามว่าข้อใดไม่ใช่ความหมาย คาว่างานสารบรรณ ?
ก. งานที่เกี่ยวกับการบริการงานเอกสาร
ข. งานที่เกี่ยวกับการ การจัดทา การรับ การส่ง
ค. งานที่เกี่ยวกับ การเก็บรักษา
ง. งานที่เกี่ยวกับ การยืม จนถึงการทาลาย
ตอบ ก. งานที่เกี่ยวกับการบริการงานเอกสาร (อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6)
ข้อ 6* ในระเบียบนี้
"งานสารบรรณ" หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่ การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ
ยืม จนถึงการทาลาย
"หนังสือ" หมายความว่า หนังสือราชการ
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง
แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น
(ข้อ*6แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32
ลงวันที่ 23 กันยายน 3548)
ข้อ 7 ข้อ 7 ว่าที่ ร.ต.ต.หญิง ขนมน้า อยากถามว่า คาว่างานสารบรรณ หมายความว่าอะไร?
ก. งานที่เกี่ยวกับการการจัดทาเอกสาร
ข. งานที่เกี่ยวกับการ การรับ การส่ง
ค. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทาลาย
ง. ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกหมดทุกข้อ (อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7
ข้อ 8 จงให้ความหมายของคาว่า “อิเล็กทรอนิกส์ ” ในขอบเขตเนื้อหาวิชานี้นะ น้อง von คุณแม่ขอร้อง ?
ก.หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางเทคโนโลยี่ และ วัตถุทางวิทยาศาสตร์
ข.หมายความว่าการประยุกต์ใช้ด้วยวิธีลาแสง และเสียงตามสาย ด้วยเทคโนโลยี่ สมัยใหม่
ค. หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธี
ต่าง ๆ เช่นว่านั้น
ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ค. หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการ
ประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น(อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7
ข้อ 9 ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ อีเล็กทรอนิกส์ ?
ก..หมายความว่าการประยุกต์ใช้ด้วยวิธีลาแสง และเสียงตามสาย ด้วยเทคโนโลยี่ อิเล็กทรอนิกส์
ข.หมายความว่า หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ค. หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน
ง.หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ
เช่นว่านั้น
ตอบ ก..หมายความว่าการประยุกต์ใช้ด้วยวิธีลาแสง และเสียงตามสาย ด้วยเทคโนโลยี่ อิเล็กทรอนิกส์
(ข้อนี้ขออนุญาตครับ แม้ว่า คาตอบจะตอบให้ความหมายที่ถูกหรือใกล้เคียงกันก็จริง แต่ คาตอบที่ถูกที่สุดก็คือทุกคาพูดที่
อ้างตรงกับตัวบท จึงจะถูกต้อง)(อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7
ข้อ 6* ในระเบียบนี้
"งานสารบรรณ" หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่ การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ
ยืม จนถึงการทาลาย
"หนังสือ" หมายความว่า หนังสือราชการ
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง
แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น
ข้อ 10 ถามแบบตรงไปตรงมา หนังสือหมายความว่าอะไร?
ก.หมายความว่าเอกสารทุกชนิด
ข.หมายความว่าหนังสือราชการ
ค.หมายความว่าเอกสารราชการ
ง.หมายความตามทุกข้อที่กล่าวมา
ตอบ ข.หมายความว่าหนังสือราชการ( อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7
ข้อ 11 ข้อใดเป็นความหมายของ”ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์”
ก.การรับส่งข้อมูลข่าวสาร
ข.หนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
11
ค..กระบวนการรับส่งข้อมูลโดยสารสนเทศ
ง.ถูกทั้ง ก และ ข
ตอบ ง.ถูกทั้ง ก และ ข (อ้างอิงจาก ระเบียบ ฯ ข้อ 6)
ข้อ 12 ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ "ส่วนราชการ" ?
ก. กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน
ข. หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนิ ท้องถิ่น
ค. หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ในต่างประเทศ
ง. ให้หมายความรวมถึงประธานคณะกรรมการด้วย
ตอบ ง. ให้หมายความรวมถึงประธานคณะกรรมการด้วย (อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6)
ข้อ 13 “ส่วนราชการ”ความหมายว่าอย่างไร ?
ก.กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน
ข.หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
ค.หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ในต่างประเทศ และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย
ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกหมดทุกข้อ (อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6)
ข้อ 14 ข้อใดไม่ใชความหมายของคาว่า "คณะกรรมการ"?
ก. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ
ข. หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทางาน
ค. หมายความรวมถึงคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ง. หมายความรวมถึงคณะประธานกรรมการ อื่นในลักษณะเดียวกัน
ตอบ ง. หมายความรวมถึงคณะประธานกรรมการ อื่นในลักษณะเดียวกัน(อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6)
ข้อ 15 “คณะกรรมการ” หมายความว่าอย่างไร?
ก. บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงอนุกรรมการ คณะทางาน
หรือ บุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ข. บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ บุคคล
ทางาน หรือบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ค. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ
คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ง. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ
บุคคลทางาน หรือบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ตอบ ค. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึง
คณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน(อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6)
ข้อ 6* ในระเบียบนี้
"งานสารบรรณ" หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่ การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ
ยืม จนถึงการทาลาย
"หนังสือ" หมายความว่า หนังสือราชการ
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง
แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น
“ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งข้อมูลข่าวสาร หรือ
หนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
"ส่วนราชการ" หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย
"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความ
รวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
(ข้อ 6 ได้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32
ลงวันที่ 23 กันยายน 3548)
ข้อ 16 ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้?
ก. นายกรัฐมนตรี
ข.รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ค.ปลัดสานักงานสารบัญนายกรัฐมนตรี
ง.ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ง.ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี (อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญข้อ 8)
12
ข้อ 17 ข้อใดไม่ใช่อานาจขอผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ?
ก.อานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
ข.การแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก
ค. จัดทาคาอธิบายกับให้มีหน้าที่ดาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานบริหารเอกสาร
ง. ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ค. จัดทาคาอธิบายกับให้มีหน้าที่ดาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานบริหารเอกสาร(อ้างอิงจากระเบียบงาน
สารบัญข้อ 8)
ข้อ 18 ผู้ใดเป็นผู้ให้ความเห็นในการตีความ การวินิจฉัยปัญหา และการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก และคาอธิบายแก่ปลัด
สานักนายกรัฐมนตรี ?
ก.คณะกรรมการพิจารณาพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ข.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ค.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและแก้ไขและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ง.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ง.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี(อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญ
ข้อ 8)
ข้อ 19 หนังสือราชการ คืออะไร?
ก. เอกสารที่เป็นข้ออ้างอิงในราชการ
ข. เอกสารที่เป็นหลักฐานข้อเท็จจริงในราชการ
ค. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
ง. เอกสารที่เป็นข้อเท็จจริงในราชการ
ตอบ ค. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ(อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญหมวดที่ 1 ข้อ 9)
ข้อ 20 ข้อใดไม่ใช่หนังสือราชการ?
ก. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
ข. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก
ค. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ง. หนังสือภายนอกที่จัดทาตามคาสั่ง หรือ ระเบียบงานสารบัญ
ตอบ ง. หนังสือภายนอกที่จัดทาตามคาสั่ง หรือ ระเบียบงานสารบัญ (อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญหมวดที่ 1
ข้อ 9)
ข้อ 21 ข้อใดเป็นหนังสือราชการ?
ก. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ
ข. เอกสารที่ทางราชการมิได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ
ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นตามคาสั่ง และคาแถลงการณ์
ง. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณเทคโนโลยี่
ตอบ ก. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการสารบัญ (อ้างอิง
จากระเบียบงานสารบัญหมวดที่ 1 ข้อ 9)
ข้อ 7 คาอธิบายซึ่งกาหนดไว้ท้ายระเบียบ ให้ถือว่าเป็นส่วนประกอบที่ใช้ในงานสารบรรณและให้ใช้เป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติ
ข้อ 8 ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจดีความ และวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
ระเบียบนี้ รวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวกและจัดทาคาอธิบายกับให้มีหน้าที่ดาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานสารบรรณ
การตีความ การวินิจฉัยปัญหา และการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก และคาอธิบายตามวรรคหนึ่งปลัดสานักนายกรัฐมนตรีจะขอ
ความเห็นจาก คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได้
(ข้อ 6 ได้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32
ลงวันที่ 23 กันยายน 3548)
หมวด 1
ชนิดของหนังสือ
ข้อ 9* หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่
9.1 หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
9.2 หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก
9.3 หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ
9.4 เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ
9.5 เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ
9.6 ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
13
ข้อ 22 หนังสือมีกี่ ชนิด มีอะไรบ้าง ?
ก. มี 5 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือประชาสัมพันธ์
ข. มี 5 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับ
ไว้เป็นหลักฐานในราชการ
ค. มี 6 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือประชาสัมพันธ์ / หนังสือที่
เจ้าหน้าที่ได้พิมพ์ขึ้น หรือบันทึกไว้เป็นหลักฐานในราชการ
ง. มี 6 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือประชาสัมพันธ์ / หนังสือที่
เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
ตอบ ง. มี 6 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือ
ประชาสัมพันธ์ / หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ (อ้างอิงจากระเบียบ มว.1 ข้อที่ 10
)
ข้อ 10 หนังสือมี 6 ชนิด คือ
10.1 หนังสือภายนอก
10.2 หนังสือภายใน
10.3 หนังสือประทับตรา
10.4 หนังสือสั่งการ
10.5 หนังสือประชาสัมพันธ์
10.2 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
ข้อ 23 ข้อใดไม่ใช้ลักษณะหนังสือภายนอก ?
ก.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี
ข.ใช้กระดาษบันทึกข้อความ
ค.เป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการ
ง. เป็นหนังสือติดต่อที่ส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก
ตอบ ข.ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (อ้างอิง ส่วนที่ 1 ข้อ 11)
ข้อ 24 กรณีของ สิ่งที่ส่งมาด้วย ของหนังสือภายนอกถ้ามี แต่ไม่สามารถส่งไปในซองเดียวกันได้ให้ทาอย่างไร?
ก. ให้ส่งมาภายหลัง
ข. ให้ส่งทางแอร์เมล์
ค. ให้แจ้งด้วยและให้ พลนาสารส่ง
ง. ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด
ตอบ ง. ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11)
ข้อ 25 หนังสือภายนอกถ้ามี การอ้างถึง จะต้องอ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือฉบับใด?
ก.ต้องอ้างถึงหนังสือที่เคยติดต่อส่วนราชการฉบับอื่น ๆ ด้วย
ข.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาแล้วแต่รอติดต่อกลับ
ค.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จากส่วนราชการเดียวกันกับผู้รับ
ง.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม
ตอบ ง.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม
( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11)
ข้อ 26 การอ้างถึง กรณีที่มีหนังสือ 5 ฉบับ จะต้องอ้างฉบับใด?
ก.ให้อ้างหนังสือฉบับแรกเพียงฉบับเดียว
ข.ให้อ้างหนังสือทุกฉบับที่เคยติดต่อ
ค.ให้อ้างหนังสือฉบับสุดท้ายเพียงฉบับเดียว
ง.ให้อ้างหนังสือฉบับแรกเรียงกันมาตามลาดับความสาคัญ
ตอบ ค.ให้อ้างหนังสือฉบับสุดท้ายเพียงฉบับเดียว( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11)
ข้อ 27 การอ้างถึงกรณีใดมีความจาเป็นต้องอ้างฉบับอื่น ๆ ด้วย
ก.มีเรื่องสาคัญมาที่ต้องทาเร่งด่วนที่สุด
ข.มีเรื่องที่เกี่ยวข้องที่จาเป็นต้องอ้างอิงโดยเฉพาะ
ค.มีเรื่องอื่นที่เป็นความลับมากจาเป็นต้องปิดเป็นความลับ
ง.มีเรื่องอื่นที่เป็นสาระสาคัญต้องนามาพิจารณา ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะ
ตอบ ง.มีเรื่องอื่นที่เป็นสาระสาคัญต้องนามาพิจารณา ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะ(( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11)
14
ส่วนที่ 1
หนังสือภายนอก
ข้อ 11 หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี โดยใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วน
ราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก ให้จัดทาตามแบบที่ 1 ท้าย
ระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้
11.1 ที่ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจาของเจ้าของเรื่อง ตามที่กาหนด ไว้ในภาคผนวก 1 ทับเลขทะเบียนหนังสือส่ง
สาหรับหนังสือของคณะกรรมการให้กาหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิ่มขึ้นได้ตามความจาเป็น
11.2 ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ให้ลงชื่อส่วนราชการ สถานที่ราชการหรือคณะกรรมการซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือนั้น และ
โดยปกติให้ลงที่ตั้งไว้ด้วย
11.3 วัน เดือน ปี ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ
11.4 เรื่อง ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่องโดยปกติให้ลงเรื่องของ
หนังสือฉบับเดิม
11.5 คาขึ้นต้น ให้ใช้คาขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามตารางการใช้คาขึ้นต้นสรรพนาม และคาลงท้าย ที่กาหนดไว้
ในภาคผนวก 2 แล้วลงตาแหน่งของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีถึงตัวบุคคลไม่เกี่ยวกับตาแหน่งหน้าที่
11.6 อ้างถึง (ถ้ามี) ให้อ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จะจาก
ส่วนราชการใดก็ตาม โดยให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของหนังสือและเลขที่หนังสือ วันที่ เดือน ปีพุทธศักราชของหนังสือนั้น
การอ้างถึง ให้อ้างถึงหนังสือฉบับสุดท้ายที่ติดต่อกันเพียงฉบับเดียว เว้นแต่มีเรื่องอื่น ที่เป็นสาระสาคัญต้องนามาพิจารณา
จึงอ้างถึงหนังสือฉบับอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะให้ทราบด้วย
11.7 สิ่งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี) ให้ลงชื่อสิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสารที่ส่งไปพร้อมกับหนังสือนั้นในกรณีที่ไม่สามารถส่งไป
ในซองเดียวกันได้ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด
11.8 ข้อความ ให้ลงสาระสาคัญของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย หากมีความประสงค์หลายประการให้แยกเป็นข้อ ๆ
11.9 คาลงท้าย ให้ใช้คาลงท้ายตามฐานะของผู้รับหนังสือ ตามตารางการใช้คาขึ้นต้น สรรพนาม และคาลงท้าย ที่กาหนด
ไว้ในภาคผนวก 3
11.10 ลงชื่อ ให้ลงลายมือชื่อเจ้าของหนังสือ และให้พิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อไว้ใต้ลายมือชื่อ ตามรายละเอียดที่
กาหนดไว้ในภาคผนวก 3
11.11 ตาแหน่ง ให้ลงตาแหน่งของเจ้าของหนังสือ
11.12 ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ ถ้าส่วนราชการที่ออก
หนังสืออยู่ในระดับกระทรวงหรือทบวง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการที่ออก
หนังสืออยู่ในระดับกรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องเพียงระดับกองหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
11.13 โทร. ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ และหมายเลขภายใน
ตู้สาขา (ถ้ามี) ไว้ด้วย
11.14 สาเนาส่ง (ถ้ามี) ในกรณีที่ผู้ส่งจัดทาสาเนาส่งไปให้ส่วนราชการ หรือบุคคลอื่นทราบ และประสงค์จะให้ผู้รับทราบว่า
ได้มีสาเนาส่งไปให้ผู้ใดแล้ว ให้พิมพ์ชื่อเต็มหรือชื่อย่อของส่วนราชการหรือชื่อบุคคลที่ส่งสาเนาไปให้ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจ
ระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ถ้าหากมีรายชื่อที่ส่งมากให้พิมพ์ว่าส่งไปตามรายชื่อที่แนบและแนบรายชื่อไปด้วย
ข้อ 28 ข้อใดไม่ใช่ หนังสือภายใน ?
ก.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีเหมือนกับหนังสือภายนอก
ข. เป็นหนังสือติดต่อภายในกระทรวงทบวงกรม
ค.เป็นหนังสือติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
ง. ใช้กระดาษบันทึกข้อความ
ตอบ ก.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีเหมือนกับหนังสือภายนอก (อ้างอิงจากระเบียบฯส่วนที่ 2 ข้อ 12 )
ข้อ 29 หนังสือภายใน ส่วนราชการ ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือโดยมีรายละเอียด
พอสมควร โดยปกติถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมขึ้นไป จะต้องลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องอย่างไร?
ก.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องระดับกรม พร้อมโทรศัพท์
ข.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องระดับกองเพียงอย่างเดียว
ค.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องระดับกรมหรือกองอย่างใดอย่างหนึ่ง
ง.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง
ตอบ ง.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง (อ้างอิงจากระเบียบฯส่วนที่ 2 ข้อ 12.1 )
ข้อ 30 ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับต่ากว่ากรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องอย่างไร?
ก.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรืองเพียงระดับกอง
ข.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรืองพร้อมทั้งหมายเลขโทรศัพท์ (ถ้ามี )
ค.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรืองทั้งกรมและกอง พร้อมทั้งหมายเลขโทรศัพท์ (ถ้ามี)
ง.ข้อ ก.และ ข ถุก
ตอบ ง. ข้อ ก และ ข.ถุก(อ้างอิงจากระเบียบฯส่วนที่ 2 ข้อ 12.1 )
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว
จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป  วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว

More Related Content

Viewers also liked

ประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdfประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdf
Kantisa Motalee
 
Resume view
Resume viewResume view
Resume view
'Ik Kun
 
ประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdfประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdf
Kantisa Motalee
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
singha_koy
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Montree Dangreung
 

Viewers also liked (15)

นางสาวนิตยา บุญเดช
นางสาวนิตยา  บุญเดชนางสาวนิตยา  บุญเดช
นางสาวนิตยา บุญเดช
 
Resume Khemkanit
Resume KhemkanitResume Khemkanit
Resume Khemkanit
 
resume
resumeresume
resume
 
ประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdfประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdf
 
Resume view
Resume viewResume view
Resume view
 
ประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdfประวัติส่วนตัว.Pdf
ประวัติส่วนตัว.Pdf
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
Resume jakkrit for photographer (resize)
Resume  jakkrit for photographer (resize)Resume  jakkrit for photographer (resize)
Resume jakkrit for photographer (resize)
 
Resume Pises Tantimala
Resume Pises TantimalaResume Pises Tantimala
Resume Pises Tantimala
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resumeเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 
Resume2
Resume2Resume2
Resume2
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 

Similar to จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว

ชุดที่18
ชุดที่18ชุดที่18
ชุดที่18
peter dontoom
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติแนวข้อสอบพระราชบัญญัติ
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ
phattiya
 

Similar to จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว (12)

แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
ชุดที่18
ชุดที่18ชุดที่18
ชุดที่18
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติแนวข้อสอบพระราชบัญญัติ
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออกแนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
แนวข้อสอบท้องถิ่น แนวข้อสอบเก่าทึ่่เคยออก
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
เจาะข้อสอบ พรบ
เจาะข้อสอบ พรบเจาะข้อสอบ พรบ
เจาะข้อสอบ พรบ
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
Ministerial Regulation
Ministerial RegulationMinisterial Regulation
Ministerial Regulation
 

More from นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
นายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
นายจักราวุธ คำทวี
 

More from นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

จักราวุธ แนวข้อสอบ ระเบียบ กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ความรู้ทั่วไป วิชาเฉพาะฯ (มีบางส่ว

  • 1. 1 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ. 2546 ได้ตราขึ้นตาม กฎหมาย ข้อใด ก. กฎหมายรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ.2539 ข. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ. 2539 ค. กฎหมายรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ง. ถูกทุกข้อ 2. ในทางปฏิบัติราชการส่วนใดจะปฏิบัติเมื่อใดต้องมีเงื่อนไขอย่างไร ใครเป็นผู้กาหนดให้ปฏิบัติตามพระราช กฤษฎีกานี้ ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ค. นายกรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี 3. ใครมีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะ (แก่คณะรัฐมนตรี) ก่อนจะปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในการที่จะให้ส่วน ราชการปฏิบัติ เมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใดบ้าง ก. คณะรัฐมนตรี ข. ก.พ. ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ.อ. 4. คาว่า "ส่วนราชการ" ตามความหมายพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ. 2546 นั้นให้ความหมายถึงส่วนราชการตามกฎหมายข้อใด ก. ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ข. ตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ค. ตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม ง. ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้นจะต้องบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายทั้งหมดกี่ประการ ก. 7 ประการ ข. 6 ประการ ค. 5 ประการ ง. 4 ประการ 6. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้นเป้าหมายสูงสุดคือข้อใด ก. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ข. เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชน ค. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ ง. เกิดผลคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ 7. ความบริหารของการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดผลตามข้อใด ก. ความผาสุขของประชาชน ข. ความอยู่ดีของประชาชน ค. ความสงบสุขเรียบร้อยของประชาชน ง. ถูกต้องทั้งหมด 8. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนส่วนราชการจะต้องดาเนินการโดยเอาอะไรเป็น ศูนย์กลางในการ บริหารกิจการ ก. หน่วยราชการ ข. ประเทศ ค. สังคมและชุมชน ง. ประชาชน 9. ในการกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการจะต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ความสุขของประชาชนและจะ สอดคล้อง ตามข้อใด ก. สอดคล้องกับกฎหมายรัฐธรรมนูญและ ก.พ.ร.กาหนด ข. สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี ค. สอดคล้องกับนโยบายของคณะรัฐมนตรีและแนสนโยบายกระทรวง ง. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ 10. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนนั้นส่วนราชการจะต้องต้องมีแนวทางในการบริหาร ราชการกี่ ประการ ก. 5 ประการ ข. 6 ประการ ค. 7 ประการ ง. 8 ประการ
  • 2. 2 11. ส่วนราชการใดที่จะต้องดาเนินการให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนนั้นจะต้องมีการกาหนดแนวทางการ บริหาร ราชการตามข้อใดเป็นอันดับแรก ก. กาหนดภารกิจการบริหารกิจการราชการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐ ข. จะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีผลเสียให้ครบทุกด้านที่กระทบต่อประชาชน ค. ศึกษาปัญหาและอุปสรรคก่อนการดาเนินการแล้วปรับปรุงโดยเร็ว ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 12. ในทางปฏิบัติหากมีกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการให้ส่วนราชการปฏิบัติตามข้อใด ก. แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ข. แจ้งเรียนส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้องได้ทราบปัญหา ค. แจ้ง ก.พ.ร. ให้รับทราบ ง. แจ้งผู้บังคับบัญชาให้แก้ไขระเบียบข้อบังคับมันโดยเร็ว 13. ในการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐส่วนราชการจะต้องปฏิบัติภารกิจนั้นจะต้อง ดาเนินการตาม ข้อใดเป็นอันดับแรก ก. จัดทาแบบปฏิบัติราชการโดยมีรายละเอียดของขั้นตอนระยะเวลาและงบประมาณตลอดจนเป้าหมายของ ภารกิจนั้น ข. รับความฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการมาศึกษาวิเคราะห์แล้วกาหนดภารกิจ ค. จัดให้มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามภารกิจหลักเกณฑ์และวิธีที่ส่วนราชการกาหนดขึ้น ง. กาหนดภารกิจการบริหารราชการให้สอดคล้องกับ แนวนโยบายของรัฐ 14. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับแผนการปฏิบัติราชการแผ่นดิน โดยจัดทา เป็นแผนตามข้อใด ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี 15. หน่วยงานใดขาดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดาเนินการอยู่ ก. สานักงบประมาณ ข. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ค. ก และ ข ถูก ง. ถูกเฉพาะข้อ ข เท่านั้น 16. ในการลดขั้นตอยการปฏิบัติงานนั้นส่วนราชการจะทาตามข้อใด ก. กระจายอานาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่งการอนุญาติการอนุมัติให้แก่ผู้ดาเนินการเรื่องนั้นได้โดดยตรง ข. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไม่จาเป็นและเพิ่มภารกิจที่บริการให้มากที่สุด ค. ให้ประชาชนผู้ร่วมบริการรวมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วมและศูนย์บริการเพียงแห่งเดียว ง. ถูกทุกข้อ 17. ในการปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนราชการ จะจัดให้มีตามข้อใด ก. กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงานและประกาศให้ประชาชนได้ทราบทั่วกัน ข. ให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการหรือข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ราชการของ ส่วนราชการนั้น ค. ให้มีอานาจออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศเพื่อบังคับใช้ ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 18. ผู้ที่ทาหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการคือข้อใด ก. คณะ ก.ร.ม. ข. ก.พ.ร. ค. ก.พ. ง. คณะผู้ประเมินอิสระ 19. ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการอาจจัดให้มีการประเมินข้อใดบ้าง ก. ผู้บังคับบัญชา ข. หน่วยงานในส่วนราชการ ค. ข้าราชการ ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 20. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องจัดทาหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของภารกิจนี้ อย่าง น้อยจะต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวข้องกับข้อใดบ้าง ก. การลดขั้นตอน การปฏิบัติงานและการอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
  • 3. 3 ค. เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนและไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติเกินความจาเป็น ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 21. ผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทาหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้ คือ ก. สานักปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ข. สานักนายกรัฐมนตรี ค. กระทรวงมหาดไทย ง. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 1. ค 2. ง 3. ค 4. ค 5. ก 6. ข 7. ง 8. ง 9. ข 10. ก 11. ก 12. ก 13. ก 14. ค 15. ค 16. ก 17. ง 18. ง 19. ง 20. ก 21. ค 116. ในกรปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารประชาชนหรือติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน อะไรเป็นสิ่ง สาคัญที่ส่วนราชการควรกาหนดและประกาศให้ประชาชนทราบ ก. ระยะเวลาแล้วเสร็จของแต่ละงาน ข. จานวนเงินงบประมาณของแต่ละงาน ค. จานวนบุคลากรของแต่ละงาน ง. วัตถุประสงค์ของแต่ละงาน ตอบ ก. (หมวดที่ 7 มาตรา 37) 117. ผู้ใดมีหน้าที่ตรวจสอบ ว่างานเสร็จตามเวลาที่กาหนดหรือไม่ ก. ผู้บังคับบัญชา ข. ปลัดกระทรวง ค. นายกรัฐมนตรี ง. อธิบดี ตอบ ก. ผู้บังคับบัญชา (หมวดที่ 7 มาตรา 37 วรรคสอง) 118. เมื่อส่วนราชการใด ได้ติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชน เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นต้องตอบ คาถามหรือ แจ้งให้ทราบภายในกี่วัน ก. 15 วัน ข. ภายในกาหนดเวลาที่กาหนด ค. ทั้งข้อ ก และ ข ง. 30 วัน 119. การจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ต้องจัดตามระบบ เดียวกับหน่วยงานใด ก. ระบบเดียวกับที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและกานสื่อสาร ข. ระบบเดียวกับที่สานักนายกรัฐมนตรีประกาศใช้ ค. ระบบเดียวกับคณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการ ง. ระบบเดียวกับที่กระทรวงคมนาคมรับรอง ตอบ ก. (หมวดที่ 7 มาตรา 39) 120. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ได้จัดการอย่างไร เพื่ออานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชน ในการ ติดต่อกับส่วนราชการทุกแห่ง ก. จัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศกลางขึ้น ข. จัดให้มีระบบสารบัญอิเล็กทรอนิกส์กลางขึ้น ค. จัดให้มีระบบศูนย์เครือข่ายบริการประชาชนกลางขึ้น ง. จัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศภาคประชาชนขึ้น ตอบ ก. จัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศกลางขึ้น (หมวดที่ 7 มาตรา 40) 121. ในกรณีที่ส่วนราชการใดไม่อาจจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการได้ให้ทาอย่างไร ก. ให้กระทรวงต้นสังกัดของหน่วยงานจัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศ ข. ให้สานักงานพัฒนาระบบราชการไทยดาเนินการจัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศ ค. ร้องขอให้กระทรวงเทคโนโลยีฯ ดาเนินการจัดระเบียบเครือข่ายสารสนเทศ ง. ร้องขอให้สานักงบประมาณจัดงบประมาณให้จัดระบบเครือข่ายสารสนเทศ ตอบ ค. (หมวดที่ 7 มาตรา 40) 122. กรณีที่ส่วนราชการ ได้รับคาร้องเรียน เสนอแนะ เป็นหน้าที่ของใคร ที่จะต้องพิจารณาดาเนินการ ก. ผู้บังคับบัญชา ข. นายกรัฐมนตรี ค. ส่วนราชการนั้น ง. ปลัดกระทรวง ตอบ ค. ส่วนราชการนั้น (หมวดที่ 7 มาตรา 41)
  • 4. 4 123. กรณีได้รับคาร้องเรียน เสนอแนะ จากข้าราชการ หรือส่วนราชการอื่น ให้ผู้ออกกฎระเบียบ พิจารณาชี้แจงให้ทราบ ภายในกี่วัน ก. 5 วัน ข. 10 วัน ค. 15 วัน ง. 20 วัน ตอบ ค. 15 วัน (หมวดที่ 7 มาตรา 42(2) ) 124. ตามข้อ 123 การร้องเรียน หรือเสนอแนะ ส่วนราชการ จะแจ้งผ่านหน่วยงานใดได้อีก ก. แจ้งผ่าน ก.พ.ร. ได้ ข. แจ้ง ผ่านสานักนายกฯ ได้ ค. แจ้งผ่าน ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนได้ ง. แจ้งผ่าน คมช. ได้ ตอบ ก. แจ้งผ่าน ก.พ.ร. ได้ (หมวดที่ 7 มาตรา 42 วรรคสาม) 125. การปฏิบัติราชการในเรื่องใด ๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่ข้อใด ก. เพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ ข. เพื่อความจาเป็นต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ค. การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล จึงกาหนดให้เป็นความลับได้เท่าที่จาเป็น ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 43) ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 43) 126. เรื่องใด ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผย ก. ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี ข. รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อ หรือจัดจ้างที่จะดาเนินการในปีงบประมาณนั้น ค. สัญญาใด ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้จัดซื้อจัดจ้างแล้ว ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 44) 127. ในการจัดทาสัญญาจัดซื้อหรือจัดจ้าง ห้ามมีข้อความใดบ้าง ก. ห้ามมิให้เปิดเผยข้อความหรือข้อตกลงในสัญญาดังกล่าว ข. ควรเปิดเผยสัญญา ค. ควรเปิดเผยข้อตกลงในสัญญา ง. ไม่มีข้อห้ามทุกข้อ ตอบ ก. (หมวดที่ 7 มาตรา 44) 128. ส่วนราชการต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ งบประมาณรายจ่าย การจัดซื้อจัดจ้าง และสัญญาใด เว้นแต่ ก. เป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมาย ข. เป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้ กฎ ระเบียบ ค. เป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองความลับทางราชการ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 7 มาตรา 44) 129. การกาหนดระยะเวลาปฏิบัติงาน การจัดระบบสารสนเทศ เป็นการบริหารราชการแบบใด ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ข. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ค. การอานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน ง. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ตอบ ค. (หมวดที่ 7 มาตรา 37 - 40) 130. การรับฟังข้อร้องเรียน การเปิดเผยข้อมูล เป็นการบริหารราชการแบบใด ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ข. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ค. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ง. การอานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน ตอบ ง. (หมวดที่ 7 มาตรา 41 - 44)
  • 5. 5 131. การประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวข้องกับข้อใด ก. เกิดผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ ข. คุณภาพการให้บริการ ค. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 8 มาตรา 45) 132. ตามข้อ 131 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ผู้ใดกาหนด ก. ก.พ.ร. ข. ครม. ค. คมช. ง. รมว ตอบ ก.พ.ร. (หมวดที่ 8 มาตรา 45) 133. การประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชาและละระดับหรือหน่วยงานในส่วนราชการจะต้องกระทาในลักษณะ ใด ก. ต้องกระทาเป็นความลับ ข. ต้องกระทาเพื่อประโยชน์แห่งความสามัคคีของข้าราชการ ค. ต้องเปิดเผย ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก ตอบ ง. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก (หมวดที่ 8 มาตรา 46) 134. การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการเพื่ออะไร ก. เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล ข. เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาระบบราชการ ค. เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ ง. ถูกหมดทุกข้อ ตอบ ก. เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล (หมวดที่ 8 มาตรา 47) 135. ในกรณีที่ส่วนราชการ ดาเนินการเป็นไปตามเป้าหมายกาหนด ให้ผู้ใด เสนอ ครม. จัดสรรเงินเพิ่มพิเศษให้ ส่วน ราชการ ก. ก.พ.ร. ข. ครม. ค. คมช. ง. รมว. ตอบ ก. ก.พ.ร. (หมวดที่ 8 มาตรา 48) 136. การจัดสรรเงินรางวัล ให้ข้าราชการในสังกัด เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ผู้ใดกาหนด ก. ก.พ.ร. ข. ครม. ค. คมช. ง. รมว. ตอบ ก. ก.พ.ร. (หมวดที่ 8 มาตรา 48) 137. ตามข้อ 136 โดยความเห็นชอบของผู้ใด ก. ก.พ.ร. ข. ครม. ค. คมช. ง. รมว. ตอบ ข. ครม. (หมวดที่ 8 มาตรา 49) 138. เมื่อส่วนราชการใดได้ดาเนินการไปตามเป้าหมายโดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายตามหลักเกณฑ์ ก.พ.ร. กาหนด แล้ว ก.พ.ร. สามารถเสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรสิ่งใดให้หน่วยราชการนั้น ก. เพื่อจัดสรรรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการนั้น ข. เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการนั้นใช้เงินงบประมาณเหลือจ่ายของส่วนราชการนั้น ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก ง. ข้อ ก. และ ข. ผิด ตอบ ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก (หมวดที่ 8 มาตรา 49) หลักเกณฑ์การบริหารบ้านเมืองที่ดี 1. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มีชื่อย่อ ก. ก.พ. ข. ก.พ.ร. ค. กพ. รร. ง. ก.ร.ร.
  • 6. 6 จ. ไม่มีข้อใดถูก 2. ก.พ.ร. ประกอบด้วยกรรมการจานวนไม่เกิน ก. 11 คน ข. 12 คน ค. 13 คน ง . 14 คน จ. 15 คน 3. สานักงาน ก.พ.ร. ในปัจจุบันมีฐานะอย่างไร ก. ไม่เป็นส่วนราชการ ไม่มีฐานะเป็นกรม ข. ไม่เป็นส่วนราชการ แต่มีฐานะเทียบเท่ากรม ค. เป็นส่วนราชการอิสระ ซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรม ง. เป็นส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีฐานะเป็นกรม จ. เป็นส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรม 4. ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร. ก. เสนอแนะ และให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ การพัฒนาระบบราชการ ข. ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม ค. เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการ ที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น ง. ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน จ. เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบ การพิจารณา 5. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี จ. 6 ปี 6 .เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็น ก. ข้าราชการการเมือง ข. ข้าราชการพลเรือนสามัญ ค. ข้าราชการวิสามัญ ง. พนักงานราชการ จ. พนักงานของรัฐ 7. ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 3/1 ซึ่งเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดว่าในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยต้องคานึงถึง ก. ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน ข. การมีส่วนร่วมของประชาชน ค. การเปิดเผยข้อมูล ง. การติตามตรวจสอบและประเมินผลการ ปฏิบัติงาน จ. ถูกทุกข้อ 8. ข้อใดถูกต้อง ก. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2545 ข. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ค. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2545 ง. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 จ. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการสร้างหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 9. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามพระราชกฤษฎีกา ก. ประชาชนได้รับความอานวยสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ ข. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น ค. การบริการประชาชนด้วยระบบอิเลคทรอนิคส์ ง. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ จ. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 10. การดาเนินการโดยถือว่า “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ที่จะได้รับการบริการจากรัฐ” อยู่ในหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ข้อใด ก. ประชาชนได้รับความอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
  • 7. 7 ข. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น ค. การบริการประชาชนด้วยระบบอิเลคทรอนิคส์ ง. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ จ. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 11. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้ว สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสานักงบประมาณจะต้องร่วมกันจัดทาแผน การบริหารราชการแผ่นดิน เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาภายใน ก. 30 วัน ข. 45 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน จ. 120 วัน 12. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่ทาแผนนิติบัญญัติ ก. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ข. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ค. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข. จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค. 13. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ให้จัดทาเป็นแผน ก. 1 ปี ข. 2 ปี ค. 3 ปี ง. 4 ปี จ. 5 ปี 14. ให้ส่วนราชการจัดทา...................... ให้สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ก. แผนการบริหารราชการแผ่นดินของส่วนราชการ ข. แผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ค.แผนปฏิบัติราชการเพื่อของบประมาณ ง .แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ จ. ไม่มีข้อใดถูก 15. สาระสาคัญในแผนปฏิบัติราชการประจาปี คือ ก. นโยบายการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ ข. เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน ค. ประมาณการรายได้และรายจ่าย ง. ทรัพยากรอื่นที่ต้องใช้ จ. ถูกทุกข้อ 16. หน่วยงานใดเป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทา “บัญชีต้นทุน” ในงานบริการสาธารณะ ก. กรมบัญชีกลาง ข. สานักงบประมาณ ค. กระทรวงการคลัง ง. ธนาคารแห่งประเทศไทย จ. สานักงาน ก.พ.ร. 17. ใครบ้างที่ต้องดาเนินการเรื่อง ศูนย์บริการร่วม ก. ปลัดกระทวง ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด ค. นายอาเภอ ง. ปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอ จ. ถูกทุกข้อ 18. สิ่งใดบ้างที่ส่วนราชการต้องทาและเปิดเผยให้ประชาชนทราบ ก. แผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาการดาเนินการ ข. กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน ค. ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณ รายจ่ายแต่ละปี ง. เป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานหรือโครงการ และงบประมาณที่จะต้องใช้ในแต่ละงาน หรือ โครงการ จ. ถูกทุกข้อ 19.ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการจะประเมินเกี่ยวกับ ก. ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ ข. คุณภาพการให้บริการ ค. ความพึงพอใจของประชาชนผุ้รับบริการ ง.ความคุ้มค่าในภารกิจ จ. ถูกทุกข้อ 20. ข้อใดถูกต้องในการสั่งราชการ
  • 8. 8 ก. โดยปกติให้กระทาเป็นลายลักษณ์อักษร ข. กรณีมีความจาเป็นผู้บังคับบัญชาอาจสั่งราชการด้วยวาจาก็ได้ ค. ถ้ามีการสั่งการด้วยวาจา ผู้รับคาสั่งต้องบันทึกคาสั่งนั้นเป็นลายลักษณ์อักษร ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข. จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค. 1.ข 2.ค 3.ง 4.ง 5.ค 6.ข 7.จ 8.ง 9.ค 10.จ 11.ง 12.ง 13.ง 14.ข 15.จ 16.ก 17.จ 18.จ 19.จ 20.จ
  • 9. 9 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ฉบับแก้ไข (ฉบับ 2 ) พศ. 2548 ชุด 1 ข้อ 1 – 35 ข้อ 1 น้อง nest เขียนจดหมายมา 3 คันรถ ในจดหมายเขียนมาถามว่า ระเบียบนี้เรียกว่า อะไร ? ก.เรียกว่า "ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2526 ข.เรียกว่า "ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ค.เรียกว่า "ระเบียบงานสารบรรณของสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2526 ง.เรียกว่า "ระเบียบของสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ตอบ ข.เรียกว่า "ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 (ข้อ 1) ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 2 ข้อ 2 ระเบียบดังกล่าวใช้บังคับเมื่อไร? ก. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป ข. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป ค. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป ง. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ตอบ ตอบ ค. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2526 เป็นต้นไป ข้อ 3 ข้อ 3 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ ฉบับใดบ้างที่ถูกยกเลิก ข้อใดผิด ? ก. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506 ข.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2517 ค.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 ง.ระเบียบสานักยกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูปงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ตอบ ง.ระเบียบสานักยกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูปงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 3 ให้ยกเลิก 3.1 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506 3.2 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2517 3.3 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ มติ ของคณะรัฐมนตรี และคาสั่งอื่นใด ในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้ แทน เว้นแต่กรณีที่กล่าวในข้อ 5 ข้อ 4 หากหน่วยราชการใดมีความจาเป็นจะต้องปฏิบัตนอกเหนือไปจากที่ระเบียบนี้กาหนดควรทาอย่างไร? ก.ขอทาความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ข.ขออนุมัติคณะรัฐมนตรี ค.ขอทาความตกลงกับหน่วยงานนั้น ง.ขอทาความตกลงกันระหว่างหน่วยงานที่ใช้ถึงกัน ตอบ ก.ขอทาความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ส่วนราชการใดมีความจาเป็น ที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กาหนดไว้ในระเบียบนี้ให้ขอทาความตก ลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ข้อ 5 ในกรณีที่กฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กาหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณไว้เป็น อย่างอื่นหากต้องการปฏิบัติให้ทาอย่างไร? ก.ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ข.ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบงานสารบัญกลาง คให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น ง.ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบว่าด้วยงานสารบัญ ตอบ ค ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น ข้อ 5* ในกรณีที่กฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กาหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณไว้ เป็นอย่างอื่น ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น *แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32 ลงวันที่ 23 กันยายน 3548
  • 10. 10 ข้อ 6 ว่าที่ ร.ต.ต. decvaet อยากถามว่าข้อใดไม่ใช่ความหมาย คาว่างานสารบรรณ ? ก. งานที่เกี่ยวกับการบริการงานเอกสาร ข. งานที่เกี่ยวกับการ การจัดทา การรับ การส่ง ค. งานที่เกี่ยวกับ การเก็บรักษา ง. งานที่เกี่ยวกับ การยืม จนถึงการทาลาย ตอบ ก. งานที่เกี่ยวกับการบริการงานเอกสาร (อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ข้อ 6* ในระเบียบนี้ "งานสารบรรณ" หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่ การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ ยืม จนถึงการทาลาย "หนังสือ" หมายความว่า หนังสือราชการ “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น (ข้อ*6แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32 ลงวันที่ 23 กันยายน 3548) ข้อ 7 ข้อ 7 ว่าที่ ร.ต.ต.หญิง ขนมน้า อยากถามว่า คาว่างานสารบรรณ หมายความว่าอะไร? ก. งานที่เกี่ยวกับการการจัดทาเอกสาร ข. งานที่เกี่ยวกับการ การรับ การส่ง ค. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทาลาย ง. ถูกหมดทุกข้อ ตอบ ง. ถูกหมดทุกข้อ (อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7 ข้อ 8 จงให้ความหมายของคาว่า “อิเล็กทรอนิกส์ ” ในขอบเขตเนื้อหาวิชานี้นะ น้อง von คุณแม่ขอร้อง ? ก.หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางเทคโนโลยี่ และ วัตถุทางวิทยาศาสตร์ ข.หมายความว่าการประยุกต์ใช้ด้วยวิธีลาแสง และเสียงตามสาย ด้วยเทคโนโลยี่ สมัยใหม่ ค. หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธี ต่าง ๆ เช่นว่านั้น ง.ถูกหมดทุกข้อ ตอบ ค. หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการ ประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น(อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7 ข้อ 9 ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ อีเล็กทรอนิกส์ ? ก..หมายความว่าการประยุกต์ใช้ด้วยวิธีลาแสง และเสียงตามสาย ด้วยเทคโนโลยี่ อิเล็กทรอนิกส์ ข.หมายความว่า หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ค. หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน ง.หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น ตอบ ก..หมายความว่าการประยุกต์ใช้ด้วยวิธีลาแสง และเสียงตามสาย ด้วยเทคโนโลยี่ อิเล็กทรอนิกส์ (ข้อนี้ขออนุญาตครับ แม้ว่า คาตอบจะตอบให้ความหมายที่ถูกหรือใกล้เคียงกันก็จริง แต่ คาตอบที่ถูกที่สุดก็คือทุกคาพูดที่ อ้างตรงกับตัวบท จึงจะถูกต้อง)(อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7 ข้อ 6* ในระเบียบนี้ "งานสารบรรณ" หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่ การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ ยืม จนถึงการทาลาย "หนังสือ" หมายความว่า หนังสือราชการ “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น ข้อ 10 ถามแบบตรงไปตรงมา หนังสือหมายความว่าอะไร? ก.หมายความว่าเอกสารทุกชนิด ข.หมายความว่าหนังสือราชการ ค.หมายความว่าเอกสารราชการ ง.หมายความตามทุกข้อที่กล่าวมา ตอบ ข.หมายความว่าหนังสือราชการ( อ้างอิงจากระเบียบข้อที่ 6) ดูคาเฉลยข้อที่ 7 ข้อ 11 ข้อใดเป็นความหมายของ”ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” ก.การรับส่งข้อมูลข่าวสาร ข.หนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
  • 11. 11 ค..กระบวนการรับส่งข้อมูลโดยสารสนเทศ ง.ถูกทั้ง ก และ ข ตอบ ง.ถูกทั้ง ก และ ข (อ้างอิงจาก ระเบียบ ฯ ข้อ 6) ข้อ 12 ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ "ส่วนราชการ" ? ก. กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน ข. หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนิ ท้องถิ่น ค. หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ในต่างประเทศ ง. ให้หมายความรวมถึงประธานคณะกรรมการด้วย ตอบ ง. ให้หมายความรวมถึงประธานคณะกรรมการด้วย (อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6) ข้อ 13 “ส่วนราชการ”ความหมายว่าอย่างไร ? ก.กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน ข.หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ค.หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ในต่างประเทศ และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย ง.ถูกหมดทุกข้อ ตอบ ง. ถูกหมดทุกข้อ (อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6) ข้อ 14 ข้อใดไม่ใชความหมายของคาว่า "คณะกรรมการ"? ก. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ ข. หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทางาน ค. หมายความรวมถึงคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ง. หมายความรวมถึงคณะประธานกรรมการ อื่นในลักษณะเดียวกัน ตอบ ง. หมายความรวมถึงคณะประธานกรรมการ อื่นในลักษณะเดียวกัน(อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6) ข้อ 15 “คณะกรรมการ” หมายความว่าอย่างไร? ก. บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงอนุกรรมการ คณะทางาน หรือ บุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ข. บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ บุคคล ทางาน หรือบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ค. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ง. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ บุคคลทางาน หรือบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ตอบ ค. คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความรวมถึง คณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน(อ้างอิงจาก ระเบียบฯ ข้อ 6) ข้อ 6* ในระเบียบนี้ "งานสารบรรณ" หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่ การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ ยืม จนถึงการทาลาย "หนังสือ" หมายความว่า หนังสือราชการ “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่าง ๆ เช่นว่านั้น “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งข้อมูลข่าวสาร หรือ หนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ "ส่วนราชการ" หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย "คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้หมายความ รวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน (ข้อ 6 ได้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32 ลงวันที่ 23 กันยายน 3548) ข้อ 16 ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้? ก. นายกรัฐมนตรี ข.รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ค.ปลัดสานักงานสารบัญนายกรัฐมนตรี ง.ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ตอบ ง.ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี (อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญข้อ 8)
  • 12. 12 ข้อ 17 ข้อใดไม่ใช่อานาจขอผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ? ก.อานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ข.การแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก ค. จัดทาคาอธิบายกับให้มีหน้าที่ดาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานบริหารเอกสาร ง. ถูกหมดทุกข้อ ตอบ ค. จัดทาคาอธิบายกับให้มีหน้าที่ดาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานบริหารเอกสาร(อ้างอิงจากระเบียบงาน สารบัญข้อ 8) ข้อ 18 ผู้ใดเป็นผู้ให้ความเห็นในการตีความ การวินิจฉัยปัญหา และการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก และคาอธิบายแก่ปลัด สานักนายกรัฐมนตรี ? ก.คณะกรรมการพิจารณาพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ข.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ค.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและแก้ไขและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ง.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ตอบ ง.คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี(อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญ ข้อ 8) ข้อ 19 หนังสือราชการ คืออะไร? ก. เอกสารที่เป็นข้ออ้างอิงในราชการ ข. เอกสารที่เป็นหลักฐานข้อเท็จจริงในราชการ ค. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ง. เอกสารที่เป็นข้อเท็จจริงในราชการ ตอบ ค. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ(อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญหมวดที่ 1 ข้อ 9) ข้อ 20 ข้อใดไม่ใช่หนังสือราชการ? ก. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ ข. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก ค. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ง. หนังสือภายนอกที่จัดทาตามคาสั่ง หรือ ระเบียบงานสารบัญ ตอบ ง. หนังสือภายนอกที่จัดทาตามคาสั่ง หรือ ระเบียบงานสารบัญ (อ้างอิงจากระเบียบงานสารบัญหมวดที่ 1 ข้อ 9) ข้อ 21 ข้อใดเป็นหนังสือราชการ? ก. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ ข. เอกสารที่ทางราชการมิได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นตามคาสั่ง และคาแถลงการณ์ ง. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณเทคโนโลยี่ ตอบ ก. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการสารบัญ (อ้างอิง จากระเบียบงานสารบัญหมวดที่ 1 ข้อ 9) ข้อ 7 คาอธิบายซึ่งกาหนดไว้ท้ายระเบียบ ให้ถือว่าเป็นส่วนประกอบที่ใช้ในงานสารบรรณและให้ใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบัติ ข้อ 8 ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจดีความ และวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ระเบียบนี้ รวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวกและจัดทาคาอธิบายกับให้มีหน้าที่ดาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานสารบรรณ การตีความ การวินิจฉัยปัญหา และการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก และคาอธิบายตามวรรคหนึ่งปลัดสานักนายกรัฐมนตรีจะขอ ความเห็นจาก คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได้ (ข้อ 6 ได้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง หน้า 32 ลงวันที่ 23 กันยายน 3548) หมวด 1 ชนิดของหนังสือ ข้อ 9* หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ 9.1 หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ 9.2 หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก 9.3 หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ 9.4 เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ 9.5 เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ 9.6 ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
  • 13. 13 ข้อ 22 หนังสือมีกี่ ชนิด มีอะไรบ้าง ? ก. มี 5 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือประชาสัมพันธ์ ข. มี 5 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับ ไว้เป็นหลักฐานในราชการ ค. มี 6 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือประชาสัมพันธ์ / หนังสือที่ เจ้าหน้าที่ได้พิมพ์ขึ้น หรือบันทึกไว้เป็นหลักฐานในราชการ ง. มี 6 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือประชาสัมพันธ์ / หนังสือที่ เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ตอบ ง. มี 6 ชนิด หนังสือภายนอก / หนังสือภายใน / หนังสือประทับตรา / หนังสือสั่งการ / หนังสือ ประชาสัมพันธ์ / หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ (อ้างอิงจากระเบียบ มว.1 ข้อที่ 10 ) ข้อ 10 หนังสือมี 6 ชนิด คือ 10.1 หนังสือภายนอก 10.2 หนังสือภายใน 10.3 หนังสือประทับตรา 10.4 หนังสือสั่งการ 10.5 หนังสือประชาสัมพันธ์ 10.2 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ข้อ 23 ข้อใดไม่ใช้ลักษณะหนังสือภายนอก ? ก.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี ข.ใช้กระดาษบันทึกข้อความ ค.เป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการ ง. เป็นหนังสือติดต่อที่ส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก ตอบ ข.ใช้กระดาษบันทึกข้อความ (อ้างอิง ส่วนที่ 1 ข้อ 11) ข้อ 24 กรณีของ สิ่งที่ส่งมาด้วย ของหนังสือภายนอกถ้ามี แต่ไม่สามารถส่งไปในซองเดียวกันได้ให้ทาอย่างไร? ก. ให้ส่งมาภายหลัง ข. ให้ส่งทางแอร์เมล์ ค. ให้แจ้งด้วยและให้ พลนาสารส่ง ง. ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด ตอบ ง. ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11) ข้อ 25 หนังสือภายนอกถ้ามี การอ้างถึง จะต้องอ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือฉบับใด? ก.ต้องอ้างถึงหนังสือที่เคยติดต่อส่วนราชการฉบับอื่น ๆ ด้วย ข.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาแล้วแต่รอติดต่อกลับ ค.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จากส่วนราชการเดียวกันกับผู้รับ ง.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม ตอบ ง.ต้องอ้างถึงหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม ( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11) ข้อ 26 การอ้างถึง กรณีที่มีหนังสือ 5 ฉบับ จะต้องอ้างฉบับใด? ก.ให้อ้างหนังสือฉบับแรกเพียงฉบับเดียว ข.ให้อ้างหนังสือทุกฉบับที่เคยติดต่อ ค.ให้อ้างหนังสือฉบับสุดท้ายเพียงฉบับเดียว ง.ให้อ้างหนังสือฉบับแรกเรียงกันมาตามลาดับความสาคัญ ตอบ ค.ให้อ้างหนังสือฉบับสุดท้ายเพียงฉบับเดียว( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11) ข้อ 27 การอ้างถึงกรณีใดมีความจาเป็นต้องอ้างฉบับอื่น ๆ ด้วย ก.มีเรื่องสาคัญมาที่ต้องทาเร่งด่วนที่สุด ข.มีเรื่องที่เกี่ยวข้องที่จาเป็นต้องอ้างอิงโดยเฉพาะ ค.มีเรื่องอื่นที่เป็นความลับมากจาเป็นต้องปิดเป็นความลับ ง.มีเรื่องอื่นที่เป็นสาระสาคัญต้องนามาพิจารณา ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะ ตอบ ง.มีเรื่องอื่นที่เป็นสาระสาคัญต้องนามาพิจารณา ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะ(( อ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อ 11)
  • 14. 14 ส่วนที่ 1 หนังสือภายนอก ข้อ 11 หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี โดยใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วน ราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก ให้จัดทาตามแบบที่ 1 ท้าย ระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ 11.1 ที่ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจาของเจ้าของเรื่อง ตามที่กาหนด ไว้ในภาคผนวก 1 ทับเลขทะเบียนหนังสือส่ง สาหรับหนังสือของคณะกรรมการให้กาหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิ่มขึ้นได้ตามความจาเป็น 11.2 ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ให้ลงชื่อส่วนราชการ สถานที่ราชการหรือคณะกรรมการซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือนั้น และ โดยปกติให้ลงที่ตั้งไว้ด้วย 11.3 วัน เดือน ปี ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ 11.4 เรื่อง ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่องโดยปกติให้ลงเรื่องของ หนังสือฉบับเดิม 11.5 คาขึ้นต้น ให้ใช้คาขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามตารางการใช้คาขึ้นต้นสรรพนาม และคาลงท้าย ที่กาหนดไว้ ในภาคผนวก 2 แล้วลงตาแหน่งของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีถึงตัวบุคคลไม่เกี่ยวกับตาแหน่งหน้าที่ 11.6 อ้างถึง (ถ้ามี) ให้อ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จะจาก ส่วนราชการใดก็ตาม โดยให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของหนังสือและเลขที่หนังสือ วันที่ เดือน ปีพุทธศักราชของหนังสือนั้น การอ้างถึง ให้อ้างถึงหนังสือฉบับสุดท้ายที่ติดต่อกันเพียงฉบับเดียว เว้นแต่มีเรื่องอื่น ที่เป็นสาระสาคัญต้องนามาพิจารณา จึงอ้างถึงหนังสือฉบับอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะให้ทราบด้วย 11.7 สิ่งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี) ให้ลงชื่อสิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสารที่ส่งไปพร้อมกับหนังสือนั้นในกรณีที่ไม่สามารถส่งไป ในซองเดียวกันได้ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด 11.8 ข้อความ ให้ลงสาระสาคัญของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย หากมีความประสงค์หลายประการให้แยกเป็นข้อ ๆ 11.9 คาลงท้าย ให้ใช้คาลงท้ายตามฐานะของผู้รับหนังสือ ตามตารางการใช้คาขึ้นต้น สรรพนาม และคาลงท้าย ที่กาหนด ไว้ในภาคผนวก 3 11.10 ลงชื่อ ให้ลงลายมือชื่อเจ้าของหนังสือ และให้พิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อไว้ใต้ลายมือชื่อ ตามรายละเอียดที่ กาหนดไว้ในภาคผนวก 3 11.11 ตาแหน่ง ให้ลงตาแหน่งของเจ้าของหนังสือ 11.12 ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ ถ้าส่วนราชการที่ออก หนังสืออยู่ในระดับกระทรวงหรือทบวง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการที่ออก หนังสืออยู่ในระดับกรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องเพียงระดับกองหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ 11.13 โทร. ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ และหมายเลขภายใน ตู้สาขา (ถ้ามี) ไว้ด้วย 11.14 สาเนาส่ง (ถ้ามี) ในกรณีที่ผู้ส่งจัดทาสาเนาส่งไปให้ส่วนราชการ หรือบุคคลอื่นทราบ และประสงค์จะให้ผู้รับทราบว่า ได้มีสาเนาส่งไปให้ผู้ใดแล้ว ให้พิมพ์ชื่อเต็มหรือชื่อย่อของส่วนราชการหรือชื่อบุคคลที่ส่งสาเนาไปให้ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจ ระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ถ้าหากมีรายชื่อที่ส่งมากให้พิมพ์ว่าส่งไปตามรายชื่อที่แนบและแนบรายชื่อไปด้วย ข้อ 28 ข้อใดไม่ใช่ หนังสือภายใน ? ก.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีเหมือนกับหนังสือภายนอก ข. เป็นหนังสือติดต่อภายในกระทรวงทบวงกรม ค.เป็นหนังสือติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน ง. ใช้กระดาษบันทึกข้อความ ตอบ ก.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีเหมือนกับหนังสือภายนอก (อ้างอิงจากระเบียบฯส่วนที่ 2 ข้อ 12 ) ข้อ 29 หนังสือภายใน ส่วนราชการ ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือโดยมีรายละเอียด พอสมควร โดยปกติถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมขึ้นไป จะต้องลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องอย่างไร? ก.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องระดับกรม พร้อมโทรศัพท์ ข.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องระดับกองเพียงอย่างเดียว ค.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องระดับกรมหรือกองอย่างใดอย่างหนึ่ง ง.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ตอบ ง.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง (อ้างอิงจากระเบียบฯส่วนที่ 2 ข้อ 12.1 ) ข้อ 30 ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับต่ากว่ากรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องอย่างไร? ก.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรืองเพียงระดับกอง ข.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรืองพร้อมทั้งหมายเลขโทรศัพท์ (ถ้ามี ) ค.ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรืองทั้งกรมและกอง พร้อมทั้งหมายเลขโทรศัพท์ (ถ้ามี) ง.ข้อ ก.และ ข ถุก ตอบ ง. ข้อ ก และ ข.ถุก(อ้างอิงจากระเบียบฯส่วนที่ 2 ข้อ 12.1 )