SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
SOFTWAREJIRAPON CHADNGAN
JIRAPON CHADNGAN
นาย จิรพล จัดงาน เลขที่ 3 ชค.11
เนื้อหาทั้งหมด
ความหมายของซอฟท์แวร์
ประเภทของซอฟท์แวร์
ประเภทของโปรแกรมภาษา
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์
ความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม)
เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นอย่างมีลาดับขั้นตอน เพื่อควบคุมการ
ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้
คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรได้เลย
ประเภท
ของ
ซอฟต์แวร์ประเภทของซอฟต์แวร์มีอะไรบ้าง?
ซอฟต์แวร์ระบบ
(System Software)
เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ให้ประสานกันและควบคุมลาดับ
ขั้นตอนการทางานของระบบต่างๆ ได้แก่
1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System
Program) มีหน้าที่
– จองและกาหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
– จัดตารางงาน
– ติดตามผลระบบ
– ทางานหลายโปรแกรมพร้อมกัน
– การจัดแบ่งเวลา
– ประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน
ประเภทของโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ
1. โปรแกรมที่ทางานด้านควบคุม (Control
Programs) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทางาน
ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
supervisor และ โปรแกรมควบคุมงานด้านอื่นๆ
2. ระบบปฏิบัติการตามลักษณะการทางาน ได้แก่
ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์แบบ Stand-Alone,
ระบบปฏิบัติการแบบฝัง, ระบบปฏิบัติการเครือข่าย,
ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ,
ระบบปฏิบัติการแบบเปิด
3. ระบบปฏิบัติการของไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer
Operating System หรือ OS)หมายถึงโปรแกรมที่ทาหน้าที่ประสานการทางาน
ติดต่อการทางาน ระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
ใช้ Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทาหน้าที่ในการจัดการ ระบบ ดูแล
รักษาเครื่อง การแปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้
เครื่องอ่านได้เข้าใจ จะมีลักษณะเฉพาะโดยขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการและ
ฮาร์ดแวร์ ซึ่งจะไม่สามารถใช้งานข้ามระบบปฏิบัติการได้ โดยระบบปฏิบัติการที่
ใช่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ MS-DOS, Windows 3.X, Window 95,
Window 98, Window Millennian Edition, Window NT, Window 2000
Professional/Standard, Window XP, Mac OS, OS/2 Warp Client, Unix,
Linux, Solaris
2. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities Program)
เป็นโปรแกรมระบบอีกประเภทหนึ่งที่อานวยความสะดวกให้ผู้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ในระหว่างการประมวลผลข้อมูลหรือในระหว่างที่กาลังใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งโดยปกติแล้วโปรแกรมอรรถประโยชน์จะทางาน
ร่วมกับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของ
โปรแกรมระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมที่ทาหน้าที่จัดเตรียมเนื้อที่ในดิสก์ ทาให้
สามารถบันทึกข้อมูลลงบนดิสก์ได้ หรือโปรแกรมที่อานวยความสะดวก ใน
การทาสาเนาข้อมูลของโปรแกรมที่ต้องการเพื่อนาไปใช้ในที่ต่างๆ ได้หรือ
ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเขียนโปรแกรม สร้างแฟ้มข้อมูล หรือข้อความต่างๆ ลง
ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่
นิยมใช้กันได้แก่ โปรแกรม Sidekick, PC-Tool หรือ Norton Utility เป็น
ต้น
3. โปรแกรมแปลภาษา ( Translator) เป็นโปรแกรม
ซึ่งมักเขียนขึ้นมา โดยบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ หรือบริษัทผู้ผลิต
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งใน
ภาษาคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามที่
ผู้ใช้ต้องการโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ได้แก่ ภาษาเบสิก
ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล หรือภาษาซี เป็นต้น โปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะต้องใช้โปรแกรมแปลภาษาเพื่อทาการแปล
คาสั่งในภาษาเหล่านี้ให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งภาษาเครื่องเป็นภาษา
เดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถทางานได้ โปรแกรมแปลภาษาที่ใช้
กันในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
1.คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง หรือซอร์
สโปรแกรมให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง หรือออบเจ็กต์โปรแกรมในครั้งเดียว ในระหว่างการแปล
ให้เป็นภาษาเครื่องนั้นคอมไพเลอร์จะตรวจสอบความถูกต้องของการใช้คาสั่งแต่ละคาสั่งในภาษา
นั้นๆ ว่าถูกต้องตามกฎเกณฑ์ หลักไวยากรณ์ของภาษานั้นๆ หรือไม่ นอกจากนี้คอมไพเลอร์จะแปล
คาสั่งนั้นให้เป็นคาสั่งภาษาเครื่องได้ ถ้าพบว่ามีการใช้คาสั่งไม่ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของคาสั่งนั้น
(Syntax Error) คอมไพเลอร์ก็จะแจ้งข่าวสารข้อความ (Error Message) ให้ผู้เขียนโปรแกรม
ทราบถึงข้อผิดพลาดในคาสั่ง ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมจะต้องแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ของโปรแกรม
ให้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้เสียก่อน และจะต้องทาการแปลโปรแกรม
ดังกล่าวทั้งโปรแกรมใหม่จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด จึงได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สมบูรณ์และ
พร้อมที่จะทาการประมวลผลต่อไปได้
2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาอีกประเภทหนึ่งที่จะแปลคาสั่งที่เขียน
ด้วยภาษาระดับสูงครั้งละ 1 คาสั่ง ให้เป็นภาษาเครื่องแล้วนาคาสั่ง ที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทาการประมวลผล
ทันที หลังจากนั้นก็จะรับคาสั่งถัดไปในโปรแกรมเพื่อแปลเป็นคาสั่งภาษาเครื่อง แล้วทาการประมวลผล ทาเช่นนี้
เรื่อยไปจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลถ้าหากพบข้อผิดพลาดทางด้าน กฎเกณฑ์ของภาษาในคาสั่งที่
รับมาแปล อินเตอร์พรีเตอร์ก็จะหยุดการทางาน พร้อมทั้งแจ้งข้อผิดพลาด (Error Message) นั้นๆ ให้ผู้เขียน
โปรแกรมทราบ เพื่อทาการแก้ไขให้ถูกต้อง การแปลโปรแกรมด้วยอินเตอร์พรีเตอร์ ส่วนใหญ่ไม่มีการเก็บ
ออบเจ็กต์โปรแกรมไว้เหมือนกับคอมไพเลอร์ ดังนั้นเมื่อต้องการใช้งานโปรแกรมนั้นซ้าอีก จาเป็นต้องทาการ
แปลคาสั่งใน โปรแกรมนั้นใหม่ทุกครั้ง คอมไพเลอร์จะทาการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็น
ภาษาเครื่อง หรือออบเจ็กต์โปรแกรมในครั้งเดียว ในการแปลนี้คอมไพเลอร์จะตรวจสอบความผิดพลาดต่างๆ
ของโปรแกรมให้ด้วย และจะยอมให้ออบเจ็กต์ (Object Program) ทางานก็ต่อเมื่อโปรแกรมได้รับการแก้ไขจน
ไม่มีที่ผิดแล้วอินเตอร์พรีเตอร์จะทาการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง โดยแปลทีละคาสั่งแล้ว
ทางานตามคาสั่งนั้นทันทีและจะหยุดการทางานเมื่อสิ้นสุดโปรแกรม หรือเมื่ออินเตอร์พรีเตอร์พบข้อผิดพลาดใน
คาสั่งที่แปลนั้นๆ อินเตอร์พรีเตอร์จะไม่สร้างออบเจ็กต์โปรแกรมขึ้นมา
เป็นซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สร้าง
ขึ้น เพื่อทางานเฉพาะอย่างโดยประยุกต์ใช้ใน
งานด้านต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์คานวณ
เงินเดือนพนักงาน ซอฟต์แวร์ระบบบัญชีหรือ
ซอฟต์แวร์ระบบคลังสินค้า เป็นต้น โดย
ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ผู้ใช้พัฒนาขึ้นเอง (Customized Application
Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้มีความต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน
บางอย่างให้ ซึ่งเป็นงานที่ไม่เคยมีผู้ใดพัฒนาโปรแกรมสาหรับทางานลักษณะนี้
มาก่อน ผู้ใช้จึงต้องพัฒนาโปรแกรมนี้ขึ้นมาเอง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบบสาเร็จ (Package Application
Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประมวลผลงานลักษณะใด
ลักษณะหนึ่งซึ่งมีผู้พัฒนาไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้ที่ต้องการใช้ซอฟต์แวร์ใน
ลักษณะเดียวกันนี้เพียงแต่ไปซื้อหามาใช้งานได้ทันที โดยไม่ต้องพัฒนา
ซอฟต์แวร์เพื่อใช้เอง เราสามารถแบ่งซอฟต์แวร์สาเร็จรูปออกเป็น
ประเภทต่างๆ ดังนี้
ประเภท
ของ
โปรแกรม
ภาษา
ประเภทของโปรแกรมภาษา
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยมี
โครงสร้างและพื้นฐานเป็นเลขฐาน 2 และตัวสตริง (Strigs) ซึ่งเครื่องสามารถเข้าใจ
และพร้อมที่จะทาตามคาสั่งได้ทันที ไม่จาเป็นต้องมีโปรแกรมแปลภาษา ประกอบด้วย 2
ส่วนสาคัญ คือ
– ส่วนที่บอกประเภทของคาสั่ง (Operation Code หรือ Op-Code) เป็นส่วนที่จะบอกให้
เครื่องประมวลผล เช่น ให้ทาการ บวก ลบ คูณ หาร หรือเปรียบเทียบ เป็นต้น
– ส่วนที่บอกตาแหน่งของข้อมูล (Operand) เป็นส่วนที่บอกให้ทราบถึงตาแหน่งหน่วย
ของข้อมูลที่จะนามาคานวณว่าอยู่ในตาแหน่งใดของหน่วยความจา
2. ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Language) ได้ปรับปรุงให้ง่ายขึ้นโดย
สร้างรหัส (Mnemonic Code) และสัญลักษณ์ (Symbol) แทนตัวเลขซึ่ง
เรียกชื่อภาษาว่า ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ ลักษณะโครงสร้างของภาษาสัญลักษณ์
จะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก คือ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Op-Codeและ
Operands โดยใช้อักษรที่มีความหมายและเข้าใจง่ายแทนตัวเลข
ประเภทของโปรแกรมภาษา
3. ภาษาระดับสูง (High-Level Language) เนื่องจากภาษาที่ใช้สัญลักษณ์
ยังคงยากต่อการเข้าใจของมนุษย์ ประกอบกับความเจริญทางด้าน
ซอฟต์แวร์มีมากขึ้น จึงได้มีการพัฒนาให้เป็นคาสั่งที่มีความหมายเหมือนกับ
ภาษาที่มนุษย์ใช้กัน เพื่อให้สะดวกกับผู้เขียนโปรแกรม เช่น ใช้คาว่า PRINT
หรือ WRITE แทนการสั่งพิมพ์ หรือแสดงคาว่าใช้คาว่า READ แทนการรับค่า
ข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ภาษาระดับสูงตัวอย่างเช่น Visual
Basic, C, C++, Java เป็นต้น
ประเภทของโปรแกรมภาษา
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์
Age of computer language
ยุคของภาษา
ภาษาในยุคที่ 1 (First Generation Language:1GL) เรียกอีก
อย่างหนึ่งว่า “ภาษาระดับล่าง (Low-level Language)” เป็นภาษาที่
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านตัว
แปลภาษา ดังนั้นจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ภาษาเครื่อง (Machine
Language)” ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง (Binary Code) ที่ใช้เป็น
รหัสแทนตัวอักษรหรือข้อความต่างๆ
ยุคของภาษา
ภาษาในยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL)
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)”
เนื่องจากมีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง โดยสัญลักษณ์
นั้น ก็คือภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจจะเป็น 1 ตัวอักษร หรือกลุ่มตัวอักษรก็
ได้ เพื่อใช้แทนคาสั่ง 1 คาสั่ง เช่น ภาษาแอสเซมบลี Assembly ซึ่ง
คาสั่งของภาษาแอสเซมบลี จะถูกนาไปแปลด้วยตัวแปลภาษาที่
เรียกว่า “Assembler” เพื่อให้กลายเป็นภาษาที่เครื่องสามารถ
เข้าใจคาสั่งนั้นได้
ยุคของภาษา
ภาษาในยุคที่ 3 (Third Generation Language :
3GL) จัดว่าเป็นภาษาระดับสูง (High-level Language)
เนื่องจากมีการใช้ภาษาอังกฤษเขียนเป็นคาสั่งเป็นประโยคและ
กลุ่มคาที่มีความหมาย ซึ่งใกล้เคียงกับการใช้ภาษาของมนุษย์
จึงทาให้โปรแกรมเมอร์เข้าใจกฎในการเขียนคาสั่งได้ง่ายขึ้น
เช่น Basic, Pascal, Fortran, Cobol,C เป็นต้น
ยุคของภาษา
ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL)
จัดว่าเป็นภาษาระดับสูงเช่นเดียวกัน แต่มีการพัฒนาจากภาษาใน
ยุคที่ 3 ให้มีประสิทธิ ภาพเพิ่มมากขึ้น มีคาสั่งที่สามารถเขียนเป็น
ภาษาอังกฤษได้มากขึ้น และสามารถนามาใช้เขียนคาสั่งเพื่อ
เชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้ด้วย เช่น Java, Visual Basic
ยุคของภาษา
ภาษาในยุคที่ 5 (Fifth Generation Language :
5GL) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาธรรมชาติ (Natural
Language)” เนื่องจากมีการใช้ไวยากรณ์ที่มีโครงสร้าง
ใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์มากที่สุด จึงเป็นภาษาที่ใช้
สาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert
System :ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence : AI)

More Related Content

What's hot (9)

Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
ม.4 software
ม.4 softwareม.4 software
ม.4 software
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 

Similar to Software

ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์rungtip boontiengtam
 
บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1dechathon
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1Worapod Khomkham
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์sapol tamgsongcharoen
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5mina612
 
งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3kukkik1234
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือKaRn Tik Tok
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32katuckkt
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32galswen
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32Min Jidapa
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Tata Sisira
 

Similar to Software (20)

ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
 
Act1
Act1Act1
Act1
 
Act1
Act1Act1
Act1
 
บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
 
Application Software
Application SoftwareApplication Software
Application Software
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
Act1 m2-software
Act1 m2-softwareAct1 m2-software
Act1 m2-software
 
Unit2.1
Unit2.1Unit2.1
Unit2.1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ซอฟต แวร ประย_กต_
ซอฟต แวร ประย_กต_ซอฟต แวร ประย_กต_
ซอฟต แวร ประย_กต_
 
งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 

Software

  • 2. JIRAPON CHADNGAN นาย จิรพล จัดงาน เลขที่ 3 ชค.11
  • 4. ความหมายของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นอย่างมีลาดับขั้นตอน เพื่อควบคุมการ ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้ คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรได้เลย
  • 7. 1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System Program) มีหน้าที่ – จองและกาหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ – จัดตารางงาน – ติดตามผลระบบ – ทางานหลายโปรแกรมพร้อมกัน – การจัดแบ่งเวลา – ประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน
  • 9. 1. โปรแกรมที่ทางานด้านควบคุม (Control Programs) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ supervisor และ โปรแกรมควบคุมงานด้านอื่นๆ 2. ระบบปฏิบัติการตามลักษณะการทางาน ได้แก่ ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์แบบ Stand-Alone, ระบบปฏิบัติการแบบฝัง, ระบบปฏิบัติการเครือข่าย, ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ , ระบบปฏิบัติการแบบเปิด
  • 10. 3. ระบบปฏิบัติการของไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer Operating System หรือ OS)หมายถึงโปรแกรมที่ทาหน้าที่ประสานการทางาน ติดต่อการทางาน ระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ ใช้ Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทาหน้าที่ในการจัดการ ระบบ ดูแล รักษาเครื่อง การแปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้ เครื่องอ่านได้เข้าใจ จะมีลักษณะเฉพาะโดยขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการและ ฮาร์ดแวร์ ซึ่งจะไม่สามารถใช้งานข้ามระบบปฏิบัติการได้ โดยระบบปฏิบัติการที่ ใช่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ MS-DOS, Windows 3.X, Window 95, Window 98, Window Millennian Edition, Window NT, Window 2000 Professional/Standard, Window XP, Mac OS, OS/2 Warp Client, Unix, Linux, Solaris
  • 11. 2. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities Program) เป็นโปรแกรมระบบอีกประเภทหนึ่งที่อานวยความสะดวกให้ผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ในระหว่างการประมวลผลข้อมูลหรือในระหว่างที่กาลังใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งโดยปกติแล้วโปรแกรมอรรถประโยชน์จะทางาน ร่วมกับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของ โปรแกรมระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมที่ทาหน้าที่จัดเตรียมเนื้อที่ในดิสก์ ทาให้ สามารถบันทึกข้อมูลลงบนดิสก์ได้ หรือโปรแกรมที่อานวยความสะดวก ใน การทาสาเนาข้อมูลของโปรแกรมที่ต้องการเพื่อนาไปใช้ในที่ต่างๆ ได้หรือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเขียนโปรแกรม สร้างแฟ้มข้อมูล หรือข้อความต่างๆ ลง ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ นิยมใช้กันได้แก่ โปรแกรม Sidekick, PC-Tool หรือ Norton Utility เป็น ต้น
  • 12. 3. โปรแกรมแปลภาษา ( Translator) เป็นโปรแกรม ซึ่งมักเขียนขึ้นมา โดยบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ หรือบริษัทผู้ผลิต ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งใน ภาษาคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามที่ ผู้ใช้ต้องการโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล หรือภาษาซี เป็นต้น โปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะต้องใช้โปรแกรมแปลภาษาเพื่อทาการแปล คาสั่งในภาษาเหล่านี้ให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งภาษาเครื่องเป็นภาษา เดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถทางานได้ โปรแกรมแปลภาษาที่ใช้ กันในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
  • 13. 1.คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง หรือซอร์ สโปรแกรมให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง หรือออบเจ็กต์โปรแกรมในครั้งเดียว ในระหว่างการแปล ให้เป็นภาษาเครื่องนั้นคอมไพเลอร์จะตรวจสอบความถูกต้องของการใช้คาสั่งแต่ละคาสั่งในภาษา นั้นๆ ว่าถูกต้องตามกฎเกณฑ์ หลักไวยากรณ์ของภาษานั้นๆ หรือไม่ นอกจากนี้คอมไพเลอร์จะแปล คาสั่งนั้นให้เป็นคาสั่งภาษาเครื่องได้ ถ้าพบว่ามีการใช้คาสั่งไม่ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของคาสั่งนั้น (Syntax Error) คอมไพเลอร์ก็จะแจ้งข่าวสารข้อความ (Error Message) ให้ผู้เขียนโปรแกรม ทราบถึงข้อผิดพลาดในคาสั่ง ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมจะต้องแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ของโปรแกรม ให้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้เสียก่อน และจะต้องทาการแปลโปรแกรม ดังกล่าวทั้งโปรแกรมใหม่จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด จึงได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สมบูรณ์และ พร้อมที่จะทาการประมวลผลต่อไปได้
  • 14. 2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาอีกประเภทหนึ่งที่จะแปลคาสั่งที่เขียน ด้วยภาษาระดับสูงครั้งละ 1 คาสั่ง ให้เป็นภาษาเครื่องแล้วนาคาสั่ง ที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทาการประมวลผล ทันที หลังจากนั้นก็จะรับคาสั่งถัดไปในโปรแกรมเพื่อแปลเป็นคาสั่งภาษาเครื่อง แล้วทาการประมวลผล ทาเช่นนี้ เรื่อยไปจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลถ้าหากพบข้อผิดพลาดทางด้าน กฎเกณฑ์ของภาษาในคาสั่งที่ รับมาแปล อินเตอร์พรีเตอร์ก็จะหยุดการทางาน พร้อมทั้งแจ้งข้อผิดพลาด (Error Message) นั้นๆ ให้ผู้เขียน โปรแกรมทราบ เพื่อทาการแก้ไขให้ถูกต้อง การแปลโปรแกรมด้วยอินเตอร์พรีเตอร์ ส่วนใหญ่ไม่มีการเก็บ ออบเจ็กต์โปรแกรมไว้เหมือนกับคอมไพเลอร์ ดังนั้นเมื่อต้องการใช้งานโปรแกรมนั้นซ้าอีก จาเป็นต้องทาการ แปลคาสั่งใน โปรแกรมนั้นใหม่ทุกครั้ง คอมไพเลอร์จะทาการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็น ภาษาเครื่อง หรือออบเจ็กต์โปรแกรมในครั้งเดียว ในการแปลนี้คอมไพเลอร์จะตรวจสอบความผิดพลาดต่างๆ ของโปรแกรมให้ด้วย และจะยอมให้ออบเจ็กต์ (Object Program) ทางานก็ต่อเมื่อโปรแกรมได้รับการแก้ไขจน ไม่มีที่ผิดแล้วอินเตอร์พรีเตอร์จะทาการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง โดยแปลทีละคาสั่งแล้ว ทางานตามคาสั่งนั้นทันทีและจะหยุดการทางานเมื่อสิ้นสุดโปรแกรม หรือเมื่ออินเตอร์พรีเตอร์พบข้อผิดพลาดใน คาสั่งที่แปลนั้นๆ อินเตอร์พรีเตอร์จะไม่สร้างออบเจ็กต์โปรแกรมขึ้นมา
  • 15. เป็นซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สร้าง ขึ้น เพื่อทางานเฉพาะอย่างโดยประยุกต์ใช้ใน งานด้านต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์คานวณ เงินเดือนพนักงาน ซอฟต์แวร์ระบบบัญชีหรือ ซอฟต์แวร์ระบบคลังสินค้า เป็นต้น โดย ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
  • 16. 1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ผู้ใช้พัฒนาขึ้นเอง (Customized Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้มีความต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน บางอย่างให้ ซึ่งเป็นงานที่ไม่เคยมีผู้ใดพัฒนาโปรแกรมสาหรับทางานลักษณะนี้ มาก่อน ผู้ใช้จึงต้องพัฒนาโปรแกรมนี้ขึ้นมาเอง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
  • 17. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบบสาเร็จ (Package Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประมวลผลงานลักษณะใด ลักษณะหนึ่งซึ่งมีผู้พัฒนาไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้ที่ต้องการใช้ซอฟต์แวร์ใน ลักษณะเดียวกันนี้เพียงแต่ไปซื้อหามาใช้งานได้ทันที โดยไม่ต้องพัฒนา ซอฟต์แวร์เพื่อใช้เอง เราสามารถแบ่งซอฟต์แวร์สาเร็จรูปออกเป็น ประเภทต่างๆ ดังนี้
  • 19. ประเภทของโปรแกรมภาษา 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยมี โครงสร้างและพื้นฐานเป็นเลขฐาน 2 และตัวสตริง (Strigs) ซึ่งเครื่องสามารถเข้าใจ และพร้อมที่จะทาตามคาสั่งได้ทันที ไม่จาเป็นต้องมีโปรแกรมแปลภาษา ประกอบด้วย 2 ส่วนสาคัญ คือ – ส่วนที่บอกประเภทของคาสั่ง (Operation Code หรือ Op-Code) เป็นส่วนที่จะบอกให้ เครื่องประมวลผล เช่น ให้ทาการ บวก ลบ คูณ หาร หรือเปรียบเทียบ เป็นต้น – ส่วนที่บอกตาแหน่งของข้อมูล (Operand) เป็นส่วนที่บอกให้ทราบถึงตาแหน่งหน่วย ของข้อมูลที่จะนามาคานวณว่าอยู่ในตาแหน่งใดของหน่วยความจา
  • 20. 2. ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Language) ได้ปรับปรุงให้ง่ายขึ้นโดย สร้างรหัส (Mnemonic Code) และสัญลักษณ์ (Symbol) แทนตัวเลขซึ่ง เรียกชื่อภาษาว่า ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ ลักษณะโครงสร้างของภาษาสัญลักษณ์ จะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก คือ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Op-Codeและ Operands โดยใช้อักษรที่มีความหมายและเข้าใจง่ายแทนตัวเลข ประเภทของโปรแกรมภาษา
  • 21. 3. ภาษาระดับสูง (High-Level Language) เนื่องจากภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ ยังคงยากต่อการเข้าใจของมนุษย์ ประกอบกับความเจริญทางด้าน ซอฟต์แวร์มีมากขึ้น จึงได้มีการพัฒนาให้เป็นคาสั่งที่มีความหมายเหมือนกับ ภาษาที่มนุษย์ใช้กัน เพื่อให้สะดวกกับผู้เขียนโปรแกรม เช่น ใช้คาว่า PRINT หรือ WRITE แทนการสั่งพิมพ์ หรือแสดงคาว่าใช้คาว่า READ แทนการรับค่า ข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ภาษาระดับสูงตัวอย่างเช่น Visual Basic, C, C++, Java เป็นต้น ประเภทของโปรแกรมภาษา
  • 23. ยุคของภาษา ภาษาในยุคที่ 1 (First Generation Language:1GL) เรียกอีก อย่างหนึ่งว่า “ภาษาระดับล่าง (Low-level Language)” เป็นภาษาที่ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านตัว แปลภาษา ดังนั้นจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ภาษาเครื่อง (Machine Language)” ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง (Binary Code) ที่ใช้เป็น รหัสแทนตัวอักษรหรือข้อความต่างๆ
  • 24. ยุคของภาษา ภาษาในยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)” เนื่องจากมีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง โดยสัญลักษณ์ นั้น ก็คือภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจจะเป็น 1 ตัวอักษร หรือกลุ่มตัวอักษรก็ ได้ เพื่อใช้แทนคาสั่ง 1 คาสั่ง เช่น ภาษาแอสเซมบลี Assembly ซึ่ง คาสั่งของภาษาแอสเซมบลี จะถูกนาไปแปลด้วยตัวแปลภาษาที่ เรียกว่า “Assembler” เพื่อให้กลายเป็นภาษาที่เครื่องสามารถ เข้าใจคาสั่งนั้นได้
  • 25. ยุคของภาษา ภาษาในยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) จัดว่าเป็นภาษาระดับสูง (High-level Language) เนื่องจากมีการใช้ภาษาอังกฤษเขียนเป็นคาสั่งเป็นประโยคและ กลุ่มคาที่มีความหมาย ซึ่งใกล้เคียงกับการใช้ภาษาของมนุษย์ จึงทาให้โปรแกรมเมอร์เข้าใจกฎในการเขียนคาสั่งได้ง่ายขึ้น เช่น Basic, Pascal, Fortran, Cobol,C เป็นต้น
  • 26. ยุคของภาษา ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL) จัดว่าเป็นภาษาระดับสูงเช่นเดียวกัน แต่มีการพัฒนาจากภาษาใน ยุคที่ 3 ให้มีประสิทธิ ภาพเพิ่มมากขึ้น มีคาสั่งที่สามารถเขียนเป็น ภาษาอังกฤษได้มากขึ้น และสามารถนามาใช้เขียนคาสั่งเพื่อ เชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้ด้วย เช่น Java, Visual Basic
  • 27. ยุคของภาษา ภาษาในยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)” เนื่องจากมีการใช้ไวยากรณ์ที่มีโครงสร้าง ใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์มากที่สุด จึงเป็นภาษาที่ใช้ สาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System :ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI)