SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
Phubbing !
โทรศัพท์ทาลาย
ความสัมพันธ์
โครงงานวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ 6 (ง33202)
โครงงานประเภทงานศึกษา
Table of
Contents
01
Objective
วัตถุประสงค์
02
ORIGIN
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
03
MATERIAL
เนื้อหา
04
VIDEO
วิดิโอ
05
CREATO
R
ผู้จัดทา
06
REFEREN
CE
แหล่งอ้างอิง
Objective
วัตถุประสงค์
01
1.เพื่อศึกษาปัญหาของโรคติดโทรศัพท์
2.ต้องการที่จะรู้วิธีการแก้ปัญหาของอาการ phubbing
-ศึกษาเกี่ยวกับอาการของผู้ที่เป็นโรค
นี้/เข้าค่ายที่จะเป็นโรคนี้
-ศึกษาเกี่ยวกับวิธีทดสอบผู้ที่มีอาการ
ติดโทรศัพท์
-ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาโรค
Phubbing
Objecti
ve
Objective
-ศึกษาเกี่ยวกับอาการของผู้ที่เป็นโรคนี้/
เข้าค่ายที่จะเป็นโรคนี้
-ศึกษาเกี่ยวกับวิธีทดสอบผู้ที่มีอาการติด
โทรศัพท์
-ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาโรค Phubbing
Phubbing อาการติดโทรศัพท์ขั้นหนัก ไม่เพียงแค่ทาให้เสียสุขภาพ
แต่ยังร้ายแรงถึงความสัมพันธ์ ลองมาเช็กกันสิว่าคุณกาลังเป็น
หรือเปล่า ?
ทุกวันนี้สังคมของเรา ถูกขนานนามว่า สังคมก้มหน้า
เพราะต่างคนต่างก็ก้มหน้าก้มตาเล่นโทรศัพท์กันโดยไม่สนใจคน
อื่น ซึ่งการติดโทรศัพท์มาก ๆ ก็ไม่ได้ส่งผลแค่ปัญหาเรื่อง
สุขภาพ แต่ยังส่งผลเสียต่อสภาพจิต และก่อให้เกิดมารยาททาง
สังคมแบบผิด ๆ
Objective
เว็บไซต์ Thrillist ได้พูดถึงพฤติกรรมดังกล่าว
ว่าเกิดขึ้นอย่างแพร่หลายในออสเตรเลียและส
หราชอาณาจักร และงานวิจัยล่าสุดจาก
มหาวิทยาลัยเบย์เลอร์ที่ได้ทาการศึกษาเพื่อจะ
ยืนยันสิ่งที่เรารู้กันอยู่แล้วว่า การใช้
โทรศัพท์มือถือมากเกินความจาเป็นสามารถตัด
ความสัมพันธ์ให้สะบั้นลงได้จริง
ศาสตราจารย์เจมส์ เอ.โรเบิร์ตส์
(James A. Roberts) และผู้ช่วย
ศาสตราจารย์เมเรดิธ เดวิด (Meredith
David) จากมหาวิทยาลัยเบย์เลอร์ได้
เขียนงานวิจัยจากการสารวจแยกสอง
ครั้ง จากประชากรวัยกลางคนในสหรัฐ
กว่า 450 เพื่อดูว่าพวกเขาใช้หรือถูกทา
ให้เสียสมาธิจากโทรศัพท์มือถือบ่อยแค่
ไหนขณะที่กาลังใช้เวลากับคนรัก
ORIGIN
ที่มาและความสาคัญ
ของโครงงาน
02
ที่มาและ
ความสาคัญ
ของ
โครงงาน
ORIGIN
เกิดจากการสังเกตคนรอบข้างในอดีตและปัจจุบันที่มี
ความแตกต่างกันอย่างเชิงคือ
ในอดีตการจะชวนเพื่อนหรือแฟน รวมไปถึงคนใน
ครอบครัวเพื่อที่จะไปพบปะ สังสรร กินเลี้ยง
รับประทานอาหารกันนั้น เมื่อถึงเวลาที่อยู่พร้อม
หน้าพร้อมตากันจะมีการพูดคุยกัน บอกเล่า
เรื่องราวในชีวิตอย่างมีความสุข แต่ในปัจจุบันนี้
เมื่อการนัดกันเพื่อรับประทานอาหาร พบปะกัน
คนส่วนมาก(เกือบทุกคน)จะก้มหน้าก้มหน้าเล่น
โทรศัพท์ ตลอดเวลา โดยไม่สนใจคนรอบข้าง
ทาให้เกิดผลเสียต่อตนเองและยังทาลาย
MATERIAL
เนื้อหา
03
Phubbing อาการติดโทรศัพท์ขั้นหนัก ไม่
เพียงแค่ทาให้เสียสุขภาพ แต่ยังร้ายแรงถึง
ความสัมพันธ์ ลองมาเช็กกันสิว่าคุณกาลังเป็น
หรือเปล่า ?
ทุกวันนี้สังคมของเรา ถูกขนานนาม
ว่า สังคมก้มหน้า เพราะต่างคนต่างก็ก้มหน้าก้ม
ตาเล่นโทรศัพท์กันโดยไม่สนใจคนอื่น ซึ่งการ
ติดโทรศัพท์มาก ๆ ก็ไม่ได้ส่งผลแค่ปัญหาเรื่อง
สุขภาพ แต่ยังส่งผลเสียต่อสภาพจิต และ
ก่อให้เกิดมารยาททางสังคมแบบผิด ๆ อีกด้วย
วันนี้เราจะพามารู้จักกับอาการติดโทรศัพท์อย่าง
MATERIAL
● อาการติดโทรศัพท์เป็นอะไรที่แพร่หลายและเป็นไปอย่างธรรมชาติ
ในหมู่คนแทบทุกเพศทุกวัย สังเกตได้จากเวลาไปนั่งทานอาหาร
นอกบ้าน เกิน 50% ของคนในร้านไม่นับบริกรและพ่อครัว
จะต้องมีการควักเอามือถือ อวัยวะที่ 33 ออกมาเช็กอย่างไร้
เหตุผล แต่สาหรับทุกคนก็คงมีเหตุผลอะไรบางอย่างให้ต้องหลบ
เข้าไปในโลกอินเทอร์เน็ตทั้งที่เป็นช่วงเวลาที่ควรอยู่ในโลกแห่ง
ความจริงอย่างมากที่สุด
● อาจเป็นเรื่องธรรมดาของคนวัยทางานที่ใช้ข้ออ้างการเช็กงานหรือ
ทางานกลางโต๊ะกินข้าว เพราะติดนิสัยไปแล้ว แต่คนสูงวัยหรือ
เด็กตัวเล็กก็ยังคงต้องพึ่งอุปกรณ์สื่อสารเพื่อการมีสมาธิจดจ่ออยู่กับ
สิ่งหนึ่งขณะมื้ออาหารเช่นกัน
● สิ่งนี้เกิดขึ้นเป็นปกติ แม้ในเวลาที่ไม่ควรปกติอย่างตอนออกเดต
MATERIAL
● ฟับบิ้ง (Phubbing) แปลว่าอาการติดโทรศัพท์หรือ
โซเชียลขั้นรุนแรงจนกระทั่งไม่สนใจคนรอบข้าง
คาว่าฟับบิ้งเป็นคาที่มาจากการผสมกันระหว่างคา
ว่า Phone และ Snubbing ซึ่งสาเหตุของ
อาการฟับบิ้งก็คือ ความกลัวที่จะตกข่าว หรือ
ตามกระแสสังคมไม่ทันจนไม่ยอมควบคุมการเล่น
โทรศัพท์ตัวเอง ซึ่งส่งผลเสียต่อการทางานหรือ
ความสัมพันธ์ต่าง ๆ โดยผู้ที่มีอาการฟับบิ้งจะถูก
เรียกว่า ฟับเบอร์ (Phubber) และมักจะมีอาการ
MATERIAL
● อาการฟับบิ้งที่เห็นได้ชัดที่สุดนั่นก็คืออาการติด
โทรศัพท์ชนิดที่ว่าไม่สนใจคนรอบข้าง โดยสิ่งที่มักจะทา
อยู่ตลอดเวลาก็คือการจ้องหน้าจอโทรศัพท์ การอัพ
สถานะบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก อย่างเช่น ทวิตเตอร์ เฟ
ซบุ๊ก ฯลฯ หรือส่งข้อความคุยกับคนอื่นผ่านโปรแกรม
สนทนาอยู่ตลอดเวลา ง่วนกับการเล่นโทรศัพท์มากกว่า
คุยกับคู่สนทนาที่อาจจะนั่งอยู่ข้าง ๆ อย่างที่เราเห็น
บ่อย ๆ เวลาคนนั่งกันเป็นกลุ่ม แต่เกือบทุกคนจะก้ม
หน้าก้มตาเล่นโทรศัพท์ แทบไม่ได้คุยกันเหมือนแต่ก่อน
● ผลเสียที่ชัดเจนที่สุดของ
การฟับบิ้งคือปัญหาเรื่องความสัมพันธ์ เพราะการฟับบิ้ง
นั้นจะทาใหคนที่อยูใกล ๆ รูสึกอึดอัด และกอใหเกิด
MATERIAL
● ไม่เพียงเท่านั้น ยังมีการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร
Computers in Human Behavior แสดงให้เห็นถึงผลเสีย
อื่น ๆ อีกว่า อาการฟับบิ้ง ไม่เพียงแต่ทาลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเท่านั้น แต่ยังเป็นปัจจัยที่ทา
ให้เกิดภาวะซึมเศร้า และมีความพึงพอใจในชีวิตลดลง
อีกด้วย
● อาการฟับบิ้งจะไม่สามารถ
เกิดขึ้นได้หากเราสามารถควบคุมการใช้โทรศัพท์ของ
ตัวเองได้ โดยควรใช้แต่พอดี ทั้งนี้หากเป็นไปได้ไม่
ควรใช้โทรศัพท์มือถือขณะที่อยู่กับผู้อื่น หรือใช้เท่าที่
จาเป็นเทานั้น อีกทั้งยังควรหลีกเลี่ยงการเขาไปอยูใน
MATERIAL
MATERIAL
งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร Computers In Human Behavior บอกเรา
ว่า พฤติกรรมการ Phubbing นี้เกิดขึ้นกับคู่รักทั่วไป และไม่ว่าคุณ
จะเป็นผู้กระทาหรือถูกกระทาก็ตาม ความสัมพันธ์นี้กาลังน่าเป็นห่วง
โดย 46.3% ของผู้เข้าร่วมสารวจเผยว่า ถูกเมินจากคนรักของพวก
เขาที่กาลังง่วนอยู่กับการเช็กโทรศัพท์มือถือ และ 22.6% ในคนกลุ่ม
นั้นบอกว่า ทาให้เกิดปัญหาในความสัมพันธ์ นอกจากนั้นงานวิจัยยัง
บอกอีกว่า ความสัมพันธ์ของคนรักอาจเกิดผลลัพธ์ที่ไม่ดีนักจากการ
ถูกคั่นกลางระหว่างพวกเขาด้วยโทรศัพท์มือถือ และอาจทาให้คนใด
คนหนึ่งเกิดความรู้สึกไม่พอใจอีกฝ่ายมากขึ้นเรื่อยๆ
“โทรศัพท์มือถือถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นอุปกรณ์การสื่อสาร แต่ในอีกทาง
กลับเป็นตัวขัดแทนที่จะเป็น „ตัวกลาง‟ เพื่อการสื่อสารระหว่างคนรัก”
โรเบิร์ตสและเดวิดกล่าว
ในยุคที่เราใช้โทรศัพท์เพื่อติดต่องานขณะที่เราไม่ได้นั่งทางานที่ออฟฟิศ
มันอาจเป็นเรื่องยากที่จะวางไว้เฉยๆ ไม่เช็ก ไม่สนใจมัน ดังนั้นทาง
เว็บไซต์ Psychology Today ได้บอกเล่าเกี่ยวกับงานวิจัยว่า มีความเชื่อมโยงอยู่
ระหว่างพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือที่เพิ่มมากขึ้น แต่ระดับความสัมพันธ์กลับลดลง
สิ่งที่น่าสนใจคือ นี่เป็นงานวิจัยแรกที่บอกว่า ยิ่งเทคโนโลยีมีส่วนกับบุคคลมากเท่าไร
ยิ่งทาให้คนรักของเขาเป็นทุกข์ได้มากเท่านั้น
“ยิ่งเทคโนโลยีมีบทบาทกับชีวิตมากแค่ไหน ยิ่งมีส่วนทาให้เกิดความขัดแย้งใน
ความสัมพันธ์และน่าพึงพอใจน้อยลงด้วย ยิ่งไปกว่านั้น ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์มือถือหรือ
เทคโนโลยีใดก็ตามที่มีความสาคัญมากขึ้นในชีวิต ยิ่งทาให้คนรู้สึกหดหู่ง่ายขึ้น และมี
ความสุขน้อยลงด้วย”
แม้ว่าเราจะรู้ว่าโทรศัพท์คู่ใจอาจเป็นตัวทาลายความสัมพันธ์ แต่ถ้ารู้ตัวว่าขาดมันไม่ได้
ทางที่ดีควรหาสมดุลระหว่างความสัมพันธ์และการสื่อสารให้พอดิบพอดี สามารถทาได้
โดยอย่างแรกควรจะรู้ว่าเป็นการเสียมารยาทเมื่อคุณหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาต่อหน้าอีกฝ่าย
พฤติกรรมดังกล่าวนั้นทาให้ใครก็ตามที่อยู่กับเราขณะนั้นรู้สึกโดดเดี่ยว ทาตัวไม่ถูก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคนตรงข้ามเป็นคนรัก
MATERIAL
● อาการฟับบิ้งที่เห็นได้ชัดที่สุดนั่นก็คืออาการติดโทรศัพท์
ชนิดที่ว่าไม่สนใจคนรอบข้าง โดยสิ่งที่มักจะทาอยู่
ตลอดเวลาก็คือการจ้องหน้าจอโทรศัพท์ การอัพสถานะ
บนโซเชียลเน็ตเวิร์ก อย่างเช่น ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก
ฯลฯ หรือส่งข้อความคุยกับคนอื่นผ่านโปรแกรมสนทนา
อยู่ตลอดเวลา ง่วนกับการเล่นโทรศัพท์มากกว่าคุยกับคู่
สนทนาที่อาจจะนั่งอยู่ข้าง ๆ อย่างที่เราเห็นบ่อย ๆ
เวลาคนนั่งกันเป็นกลุ่ม แต่เกือบทุกคนจะก้มหน้าก้มตา
เล่นโทรศัพท์ แทบไม่ได้คุยกันเหมือนแต่ก่อน
นอกจากนี้ยังมักจะยิ้มหรือหัวเราะกับหน้าจอ
โทรศัพท และไมวาจะไปที่ไหนก็จะตองอัพสถานะเพื่อบง
Phubbing คืออะไร ?
แบบทดสอบอาการฟับบิ้งนี้จะช่วยให้คุณกลับมาย้อนมองตัวเองว่าตัวเองมี
พฤติกรรมเหล่านี้บ้างหรือเปล่า และค้นพบว่าตัวเองมีอาการฟับบิ้ง หรือสุ่มเสี่ยงกับ
อาการติดโทรศัพท์ขั้นหนักหรือไม่ โดยผ่านการตอบคาถามง่าย ๆ ว่า "ใช่" หรือ
"ไม่"
1. เมื่อรับประทานอาหารร่วมกับคนอื่น คุณมักจะลุกออกไปเช็กโทรศัพท์อยู่บ่อย ๆ
2. แม้ว่าคุณจะอยู่กับคนอื่น คุณก็ไม่เคยละสายตาออกจากโทรศัพท์เลย
3. ไม่ว่าจะอยู่กับใคร แต่โทรศัพท์ก็ยังอยู่ในมือตลอด
4. หากคุณได้ยินเสียงโทรศัพท์ หรือเสียงเตือนโทรศัพท์ดังขึ้น คุณจะหยิบขึ้นมา
ดูในทันทีแม้ว่าจะ
กาลังคุยกับผู้อื่นอยู่
แบบทดสอบอาการฟับบิ้ง เช็กให้รู้ คุณติดโทรศัพท์มากไปหรือเปล่า ?
5. คุณมักจะจ้องหน้าจอโทรศัพท์ตลอด แม้แต่ในเวลาที่กาลังคุยกับใครสัก
คน
6. แม้กาลังอยู่กับเพื่อน ๆ คุณก็ยังหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาเช็กเวลาเบื่อ ๆ
หรือเวลาที่มีเสียงแจ้งเตือน
ดังขึ้น
7. ต่อให้กาลังคุยอยู่กับเพื่อน คุณก็สามารถหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาใช้ได้
8. กาลังเดท หรืออยู่ในช่วงเวลาโรแมนติก คุณก็ยังหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาเช็ก
ได้
9. ถ้าหากคุณและคู่สนทนาอีกฝ่ายเริ่มไม่มีอะไรจะคุยกัน คุณจะเริ่มหันไปให้
ความสนใจกับโทรศัพท์
แทนที่จะคุยกับคู่สนทนาต่อ
แบบทดสอบอาการฟับบิ้ง เช็กให้รู้ คุณติดโทรศัพท์มากไปหรือเปล่า ?
Phubbing ส่งผลเสียอย่างไร ?
Jupiter
ผลเสียที่ชัดเจนที่สุดของการฟับบิ้งคือปัญหาเรื่องความสัมพันธ์
เพราะการฟับบิ้งนั้นจะทาให้คนที่อยู่ใกล้ ๆ รู้สึกอึดอัด และ
ก่อให้เกิดช่องว่างระหว่างความสัมพันธ์ขึ้น โดยมีการศึกษาหนึ่ง
พบว่า หากคนที่ไม่เคยมีพฤติกรรมติดโทรศัพท์นั้นถูกคนที่มี
อาการฟับบิ้ง แสดงอาการ Phub ใส่ก็จะทาให้คนคนนั้นมีอาการ
Phubbing ตามไปด้วย และจะไปแสดงอาการเดียวกันกับผู้อื่นต่อ
กลายเป็นวงจรแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ ไม่สิ้นสุด
ไม่เพียงเท่านั้น ยังมีการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร
Computers in Human Behavior แสดงให้เห็นถึงผลเสียอื่น ๆ
อีกว่า อาการฟับบิ้ง ไม่เพียงแต่ทาลายความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลเท่านั้น แต่ยังเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดภาวะซึมเศร้า และมี
ความพึงพอใจในชีวิตลดลงอีกด้วย
ซึ่งในการศึกษาดังกล่าวได้ทาการทดสอบกับอาสาสมัคร 453 คน โดยแบ่งคน
ออกเป็น 2 กลุ่ม อาสา สมัครกลุ่มแรก 308 คน ได้รับแบบสอบถามเรื่อง
อาการฟับบิ้งที่พวกเขาได้เจอจากคนใกล้ชิด ซึ่งได้คาตอบไม่ค่อยแตกต่างกัน
นัก ส่วนใหญ่มักตอบว่า เขามักเห็นคู่สนทนาของตนเองวางโทรศัพท์ไว้ในที่ที่
สามารถเห็นได้ตลอดเวลา และมักจะจ้องที่จอโทรศัพท์ขณะที่พูดคุยด้วย
ส่วนกลุ่มที่ 2 อาสาสมัคร 145 คน (ซึ่งอาสาสมัครในกลุ่มนี้จะเป็น
คนที่มีคนรักหรือแต่งงานแล้ว) โดยพวกเขาได้รับแบบสอบถามเกี่ยวกับ
ผลกระทบที่เกิดจากการถูก Phub ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความสัมพันธ์ ความพึง
พอใจในชีวิตคู่ ความรู้สึกหดหู่ และอารมณ์ซึมเศร้าที่เกิดจากพฤติกรรมฟับบิ้ง
ของอีกฝ่าย ผลที่ได้คือกว่า 46% เคยถูกอาการฟับบิ้งจากคนอื่น และ
22.6% ยอมรับว่าอาการฟับบิ้งเป็นสาเหตุที่นาไปสู่ปัญหาเรื่องความสัมพันธ์
Phubbing ส่งผลเสียอย่างไร ?
นอกจากนี้การศึกษายังได้เผยให้เห็นว่า 37% ของอาสาสมัครรู้สึกอึดอัด
เมื่อถูกอีกฝ่ายแสดงอาการ Phub ใส่ด้วยการก้มลงมองโทรศัพท์เพียง
แค่ไม่กี่นาที และเกิดความรู้สึกไม่ดีต่าง ๆ ขึ้น อันเป็นสาเหตุที่ทา
ให้ความรู้สึกพึงพอใจในความสัมพันธ์ลดลง
ทั้งนี้ อาการฟับบิ้งไม่ได้ส่งผลเสียในเรื่องความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลเท่านั้น แต่ยังส่งผลเสียให้เกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ
ตามมา ไม่ว่าจะเป็นอาการปวดคอ ปวดหลัง ปวดไหล่ รวมทั้ง
ปัญหาสายตาที่จะตามมาอีกมากมายจากแสงสีฟ้ า อาทิ โรคซีวีเอส
(Computer Vision Syndrome) ที่ทาให้เกิดอาการปวดตา แสบตา
ตามัว และอาการปวดหัว หรืออาการต้อหิน จอประสาทตาเสื่อม ที่
อาจทาให้ตาบอดได้
Phubbing ส่งผลเสียอย่างไร ?
Phubbing ป้ องกันได้อย่างไร
?
อาการฟับบิ้งจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากเราสามารถควบคุม
การใช้โทรศัพท์ของตัวเองได้ โดยควรใช้แต่พอดี ทั้งนี้หาก
เป็นไปได้ไม่ควรใช้โทรศัพท์มือถือขณะที่อยู่กับผู้อื่น หรือใช้
เท่าที่จาเป็นเท่านั้น อีกทั้งยังควรหลีกเลี่ยงการเข้าไปอยู่ในกลุ่ม
คนที่มีอาการฟับบิ้ง หรือถ้าหากเลี่ยงไม่ได้ ก็ลองหากิจกรรม
สนุก ๆ และชักชวนให้กลุ่มคนเหล่านั้นร่วมด้วย เช่นกัน
หากคุณไปรับประทานอาหารกับเพื่อนที่มีอาการดังกล่าว ก็ให้
เพื่อนหยิบโทรศัพท์มาวางรวมกัน ใครหยิบโทรศัพท์ออกไปเล่น
ก่อนต้องจ่ายค่าอาหารหรือชักชวนคู่สนทนาพูดคุยในเรื่องที่เขา
สนใจ ก็จะช่วยให้เขาหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาน้อยลง
VIDEO
วิดิโอ
04
Phubbing
โทรศัพท์ทาร้าย
ความสัมพันธ์
Phubbing
โทรศัพท์ทาร้าย
ความสัมพันธ์
CREATOR
นางสาวปานจันทร์ ปัท
มาลัย ชั้นม.6/12
เลขที่ 22
นางสาวกชพรรณ
พันธ์พิชัย ม.612
เลขที่ 42
แหล่งอ้างอิง
● www.baylor.edu/business/kellercenter/n
ews.php?action=story&story=175657
● www.sciencedirect.com/science/article/
pii/S0747563215300704
REFERENCE
THANKS

More Related Content

Similar to Final project-612-22-42

กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
tangkwakamonwan
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
natsun2424
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Autcharapun Kanya
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Autcharapun Kanya
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
bbeammaebb
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
bbeammaebb
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 

Similar to Final project-612-22-42 (20)

กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
 
Pingpong
PingpongPingpong
Pingpong
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Social Networking in Healthcare
Social Networking in HealthcareSocial Networking in Healthcare
Social Networking in Healthcare
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2
22
2
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

More from jeeranuntacharoen (16)

Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Finalguitar
FinalguitarFinalguitar
Finalguitar
 
Finalprojectjen
FinalprojectjenFinalprojectjen
Finalprojectjen
 
Am
AmAm
Am
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Presentation 12
Presentation 12Presentation 12
Presentation 12
 
Presentation 2
Presentation 2Presentation 2
Presentation 2
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
2562 final-project 612-42
2562 final-project 612-422562 final-project 612-42
2562 final-project 612-42
 
Kot
KotKot
Kot
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
Comchap
ComchapComchap
Comchap
 
Com
ComCom
Com
 
Jee
JeeJee
Jee
 

Final project-612-22-42