SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 2222....4444
รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555
หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 2222 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุตฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุตฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุตฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุต////เอาต์พุตเอาต์พุตเอาต์พุตเอาต์พุต
4444ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง –––– เขียนฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุต/เอาต์พุตได้
ฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซีฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซีฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซีฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซี
ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน clrscr[ ];clrscr[ ];clrscr[ ];clrscr[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบจอภาพ
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ clrscr();
ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน printf[ ];printf[ ];printf[ ];printf[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ออกจอภาพ
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ 1111 printf(“ข้อความ”)
ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง printf(“Lampang”); ความหมายความหมายความหมายความหมาย แสดงข้อความ Lampang ออกทางจอภาพ
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ 2222 printf(“รหัสรูปแบบ”,ตัวแปร);
ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง printf(“%d”,num); ความหมายความหมายความหมายความหมาย แสดงค่าตัวแปร num ในรูปเลขจํานวนเต็ม
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ 3333 printf(“ข้อความ รหัสรูปแบบ”,ตัวแปร);
ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง printf(“5.2f”,area); ความหมายความหมายความหมายความหมาย แสดงค่าที่เก็บอยู่ในตัวแปร area โดยจองพื้นที่ไว้ 5 ช่อง
ทศนิยม 2 ตําแหน่ง
รหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบ ((((Format Code)Format Code)Format Code)Format Code) ที่ใช้ในการแสดงผล จะต้องอยู่ในตําแหน่งหลังเครื่องหมาย % รหัสรูปแบบข้อมูล
ที่นิยมใช้ได้แก่
รหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบ ใช้กับตัวแปรที่เก็บค่าใช้กับตัวแปรที่เก็บค่าใช้กับตัวแปรที่เก็บค่าใช้กับตัวแปรที่เก็บค่า
%c ตัวอักษรเพียงตัวเดียว
%s เป็นข้อความที่เก็บอยู่ในอาเรย์
%d เลขจํานวนเต็ม
%u จํานวนเต็มบวก
%f เลขทศนิยม
%e เลขทศนิยมในรูป e ยกกําลัง
%x เลขฐานสิบหก
%o เลขฐานแปด
%p ตัวชี้ตําแหน่งพอยน์เตอร์
ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน scanf[ ];scanf[ ];scanf[ ];scanf[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ scanf(“รหัสรูปแบบ”,ตัวแปร);
ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง scanf(“%d”,&num); ความหมายความหมายความหมายความหมาย รับค่าตัวเลขจํานวนเต็มแล้วนํามาเก็บไว้ในตัวแปร num
ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน getch[ ];getch[ ];getch[ ];getch[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรอรับการกดแป้นพิมพ์หนึ่งครั้ง โดยไม่ต้องกดปุ่ม Enter และตัวอักษรที่
ป้อนเข้ามาจะไม่ปรากฏบนจอภาพ
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ getch();
ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน getchar[ ]getchar[ ]getchar[ ]getchar[ ];;;; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้ามาทางแป้นพิมพ์ทีละ 1 ตัวอักษร แล้วกด Enter 1 ครั้ง
ข้อมูลที่ป้อนจะแสดงบนจอภาพ
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ getchar();
ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน gets[ ];gets[ ];gets[ ];gets[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลที่เป็นข้อความจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปรแบบอาเรย์
การใช้ฟังก์ชัน gets(); จะต้องมีการประกาศตัวแปรแบบอาเรย์ และกําหนดจํานวนตัวอักษรที่ต้องการป้อน โดย
คอมพิวเตอร์จะจองพื้นที่ไว้ตามจํานวนตัวอักษร แต่จะป้อนได้น้อยกว่าที่จองไว้ 1 ตัว เพื่อให้ตัวแปรเก็บ 0 อีก 1
ตัว
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ char ตัวแปร[จํานวนตัวอักษร];
get(ตัวแปร);

More Related Content

More from dechathon

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
dechathon
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
dechathon
 

More from dechathon (20)

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
Unit 4 12
Unit 4  12Unit 4  12
Unit 4 12
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
Unit5 14
Unit5 14Unit5 14
Unit5 14
 
Unit3 10
Unit3 10Unit3 10
Unit3 10
 
Unit3 9
Unit3 9Unit3 9
Unit3 9
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
Unit2 7
Unit2 7Unit2 7
Unit2 7
 

ฟังกชัน

  • 1. ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 2222....4444 รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555 หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 2222 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุตฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุตฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุตฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุต////เอาต์พุตเอาต์พุตเอาต์พุตเอาต์พุต 4444ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง –––– เขียนฟังก์ชันเกี่ยวกับอินพุต/เอาต์พุตได้ ฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซีฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซีฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซีฟังก์ชันในโปรแกรมภาษาซี ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน clrscr[ ];clrscr[ ];clrscr[ ];clrscr[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบจอภาพ รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ clrscr(); ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน printf[ ];printf[ ];printf[ ];printf[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ออกจอภาพ รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ 1111 printf(“ข้อความ”) ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง printf(“Lampang”); ความหมายความหมายความหมายความหมาย แสดงข้อความ Lampang ออกทางจอภาพ รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ 2222 printf(“รหัสรูปแบบ”,ตัวแปร); ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง printf(“%d”,num); ความหมายความหมายความหมายความหมาย แสดงค่าตัวแปร num ในรูปเลขจํานวนเต็ม รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ 3333 printf(“ข้อความ รหัสรูปแบบ”,ตัวแปร); ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง printf(“5.2f”,area); ความหมายความหมายความหมายความหมาย แสดงค่าที่เก็บอยู่ในตัวแปร area โดยจองพื้นที่ไว้ 5 ช่อง ทศนิยม 2 ตําแหน่ง รหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบ ((((Format Code)Format Code)Format Code)Format Code) ที่ใช้ในการแสดงผล จะต้องอยู่ในตําแหน่งหลังเครื่องหมาย % รหัสรูปแบบข้อมูล ที่นิยมใช้ได้แก่ รหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบรหัสรูปแบบ ใช้กับตัวแปรที่เก็บค่าใช้กับตัวแปรที่เก็บค่าใช้กับตัวแปรที่เก็บค่าใช้กับตัวแปรที่เก็บค่า %c ตัวอักษรเพียงตัวเดียว %s เป็นข้อความที่เก็บอยู่ในอาเรย์ %d เลขจํานวนเต็ม %u จํานวนเต็มบวก %f เลขทศนิยม %e เลขทศนิยมในรูป e ยกกําลัง %x เลขฐานสิบหก %o เลขฐานแปด %p ตัวชี้ตําแหน่งพอยน์เตอร์
  • 2. ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน scanf[ ];scanf[ ];scanf[ ];scanf[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ scanf(“รหัสรูปแบบ”,ตัวแปร); ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง scanf(“%d”,&num); ความหมายความหมายความหมายความหมาย รับค่าตัวเลขจํานวนเต็มแล้วนํามาเก็บไว้ในตัวแปร num ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน getch[ ];getch[ ];getch[ ];getch[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรอรับการกดแป้นพิมพ์หนึ่งครั้ง โดยไม่ต้องกดปุ่ม Enter และตัวอักษรที่ ป้อนเข้ามาจะไม่ปรากฏบนจอภาพ รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ getch(); ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน getchar[ ]getchar[ ]getchar[ ]getchar[ ];;;; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้ามาทางแป้นพิมพ์ทีละ 1 ตัวอักษร แล้วกด Enter 1 ครั้ง ข้อมูลที่ป้อนจะแสดงบนจอภาพ รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ getchar(); ฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชันฟังก์ชัน gets[ ];gets[ ];gets[ ];gets[ ]; เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลที่เป็นข้อความจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปรแบบอาเรย์ การใช้ฟังก์ชัน gets(); จะต้องมีการประกาศตัวแปรแบบอาเรย์ และกําหนดจํานวนตัวอักษรที่ต้องการป้อน โดย คอมพิวเตอร์จะจองพื้นที่ไว้ตามจํานวนตัวอักษร แต่จะป้อนได้น้อยกว่าที่จองไว้ 1 ตัว เพื่อให้ตัวแปรเก็บ 0 อีก 1 ตัว รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ char ตัวแปร[จํานวนตัวอักษร]; get(ตัวแปร);