SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
เรื่อง เสียงวรรณยุกต์
ความยาวของเสียงหนึ่งช่วงพยางค์ คิดเป็นเปอร์เซ็นต์
แผนภาพแสดงระดับเสียงวรรณยุกต์
เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงที่มีทานองสูง ต่า เหมือนเสียงดนตรี เราจะ
ได้ยินเสียงวรรณยุกต์ขณะที่เราออกเสียงพยัญชนะหรือออกเสียงสระ เสียง
วรรณยุกต์ขณะออกเสียงจะใช้ลิ้นกล่อมเกลาเสียง จึงเกิดเป็ นเสียงสูงต่า
บางเสียงอยู่ระหว่างเสียงสูงกับเสียงต่า บางทีก็เป็ นเสียงต่าแล้วค่อย ๆ
เลื่อนไปสู่เสียงสูง เราเรียกเสียงสูงต่าเหมือนเสียงดนตรีนี้ว่า เสียง
วรรณยุกต์ หรือ เสียงดนตรี
ความถี่ของเสียงเป็นHz
เสียงวรรณยุกต์มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี
และเสียงจัตวา เสียงวรรณยุกต์มีความสาคัญมาก เพราะเสียงที่มีระดับ
เสียงต่าสูงต่างกัน ทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไป
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยมาตรฐาน มี ๕ เสียง คือ
๑. เสียงสามัญ คือ เสียงระดับปานกลางและมีระดับคงที่ตลอดไป
แต่ตกตอนท้ายนิดหนึ่ง เช่น กา นอน ใน รัง ไม่มีรูปวรรณยุกต์
ปรากฏเสียงสามัญเฉพาะในคาเป็นเท่านั้น คาตายไม่มีเสียงสามัญ
๒. เสียงเอก คือ เสียงที่เริ่มต้นระดับต่ากว่าเสียงสามัญเล็กน้อย
แล้วลดระดับต่ากว่าเสียงสามัญ
คาเป็น เสียงคงที่ชั่วระยะหนึ่งแล้วค่อยๆ ลดลงเล็กน้อย เช่น
ด่าง แข่ง ต่อ สู่ มีรูปวรรณยุกต์เอก ( ่่ )
คาตาย เสียงจะคงระดับตลอด เช่น เด็ก กัด จะ เจ็บ ไม่มีรูป
วรรณยุกต์
๓. เสียงโท คือ เสียงที่เริ่มต้นระดับสูงสุดแล้วค่อยๆ ลดระดับลงมาต่า
ที่สุด มีลักษณะดังนี้
พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางและสูงจะมีรูปวรรณยุกต์โท ( ่้ )
เช่น ด้าน ต้าน สู้ ห้า
พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าคาเป็นจะมีรูปวรรณยุกต์เอก ( ่่ )
เช่น ท่อ ที่ ย่า ล่าง ว่าน คู่ แม่ แน่น
พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าคาตายจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น ลาด
มาก
๔. เสียงตรี คือ เสียงที่เริ่มต้นสูงกว่าเสียงสามัญเล็กน้อย
คาตาย เสียงคงระดับสูงและตกลงตอนท้ายเล็กน้อย มีลักษณะดังนี้
พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางจะมีรูปวรรณยุกต์ตรี ( ่๊ ) เช่น ก๊าซ
จ๊ะ โต๊ะ โป๊ ะ
พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าคาตายจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น คิด ลึก นะ
คาเป็น เสียงคงระดับสูงไปตลอดในคาที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษร
กลางจะมีรูปวรรณยุกต์ตรี ( ่๊ ) เช่น ป๊ า ด๊า
พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าจะมีรูปวรรณยุกต์โท ( ่้ ) เช่น รู้ แล้ว
คล้อง ไว้ ค้าน แท้
๕. เสียงจัตวา คือ เสียงที่เริ่มในระดับต่าสุดแล้วลดต่าลงอีก ต่อจากนั้น
เปลี่ยนระดับขึ้นสูงสุด มีลักษณะดังนี้
พยัญชนะต้นอักษรกลางคาเป็นจะมีรูปวรรณยุกต์จัตวา ( ่๋ ) เช่น ป๋ า
ก๋า
พยัญชนะต้นเป็นอักษรสูงคาเป็นจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น หนู เห็น
เขา สูง ไหม
ลักษณะเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย มี ๒ พวก คือ
ก.วรรณยุกต์เสียงระดับ มีระดับเสียงค่อนข้างคงที่ไปตลอด มี ๓
เสียง คือ สามัญ เอก ตรี
ข.วรรณยุกต์เสียงเลื่อน มีการเปลี่ยนแปลงระดับเสียง มี ๒ เสียง คือ
โท เลื่อนจากสูงลงต่า และ จัตวา เลื่อนจากต่าขึ้นไปสูง
ความสาคัญของเสียงวรรณยุกต์
เสียงวรรณยุกต์เป็นตัวกาหนดความหมายของคาให้มีความแตกต่าง
กัน และช่วยให้สาเนียงการพูดมีระดับเสียงสูงต่าเกิดความไพเราะ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับวรรณยุกต์
๑. คาไทยทุกคาต้องมีเสียงวรรณยุกต์ คาที่ใช้ในภาษาไทย มีทั้งคาที่มี
และไม่มีรูปวรรณยุกต์กากับ แต่ทุกคาจะต้องมีเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งเสียง
วรรณยุกต์อาจไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์ที่กากับอยู่ก็ได้
๑.๑ คาที่มีรูปวรรณยุกต์และเสียงตรงกับรูปวรรณยุกต์ เช่น
คาว่า “ การ” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงสามัญ
คาว่า “ สิ่ง” มีรูปวรรณยุกต์เอก เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงเอก
คาว่า “ห้าม” มีรูปวรรณยุกต์โท เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงโท
คาว่า “โต๊ะ” มีรูปวรรณยุกต์ตรี เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงตรี
คาว่า “ป๋ า” มีรูปวรรณยุกต์จัตวา เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงจัตวา
๑.๒. คาที่ออกเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์ เช่น
คาว่า “แพร่ น่า เที่ยว” มีรูปวรรณยุกต์เอก แต่ออกเสียงเป็น
วรรณยุกต์โท
คาว่า “น้า ค้า ไม้” มีรูปวรรณยุกต์โท แต่ออกเสียงเป็นวรรณยุกต์
ตรี
๑.๓. คาในภาษาไทยทุกคาจะมีเสียงวรรณยุกต์ทั้งหมด แม้ว่าคา
นั้นจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ก็ตาม เช่น
คาว่า “ ยาย” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงสามัญ
คาว่า “ปัด” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงเอก
คาว่า “นาค” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงโท
คาว่า “คิด” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงตรี
คาว่า “สาย” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงจัตวา
๒. คาที่ประสมด้วยสระเสียงยาว เมื่อเติมวรรณยุกต์แล้ว อาจจะออก
เสียงสั้น หรืออาจจะคงเสียงยาวตามเดิมก็ได้
๒.๑. เติมรูปวรรณยุกต์แล้วออกเสียงสั้น เช่น เดน - เด่น, เลน -
เล่น
๒.๒. เติมรูปวรรณยุกต์แล้วยังคงออกเสียงยาวตามเดิม เช่น
หาม - ห้าม, ดวง - ด้วง

More Related Content

What's hot

ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิต
khanida
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
Areewan Plienduang
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
Aon Narinchoti
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
firstnarak
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
apple_clubx
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
Tapanee Sumneanglum
 

What's hot (20)

คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
 
Prob
ProbProb
Prob
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิต
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
Present perfect tense
Present  perfect  tensePresent  perfect  tense
Present perfect tense
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
แม่แบบโครงงาน 5 บท
แม่แบบโครงงาน 5 บทแม่แบบโครงงาน 5 บท
แม่แบบโครงงาน 5 บท
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 

Similar to เสียงวรรณยุกต์

การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียง
patnid
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 

Similar to เสียงวรรณยุกต์ (10)

การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียง
 
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
Sound
SoundSound
Sound
 

เสียงวรรณยุกต์

  • 1. เรื่อง เสียงวรรณยุกต์ ความยาวของเสียงหนึ่งช่วงพยางค์ คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ แผนภาพแสดงระดับเสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงที่มีทานองสูง ต่า เหมือนเสียงดนตรี เราจะ ได้ยินเสียงวรรณยุกต์ขณะที่เราออกเสียงพยัญชนะหรือออกเสียงสระ เสียง วรรณยุกต์ขณะออกเสียงจะใช้ลิ้นกล่อมเกลาเสียง จึงเกิดเป็ นเสียงสูงต่า บางเสียงอยู่ระหว่างเสียงสูงกับเสียงต่า บางทีก็เป็ นเสียงต่าแล้วค่อย ๆ เลื่อนไปสู่เสียงสูง เราเรียกเสียงสูงต่าเหมือนเสียงดนตรีนี้ว่า เสียง วรรณยุกต์ หรือ เสียงดนตรี ความถี่ของเสียงเป็นHz
  • 2. เสียงวรรณยุกต์มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา เสียงวรรณยุกต์มีความสาคัญมาก เพราะเสียงที่มีระดับ เสียงต่าสูงต่างกัน ทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไป เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยมาตรฐาน มี ๕ เสียง คือ ๑. เสียงสามัญ คือ เสียงระดับปานกลางและมีระดับคงที่ตลอดไป แต่ตกตอนท้ายนิดหนึ่ง เช่น กา นอน ใน รัง ไม่มีรูปวรรณยุกต์ ปรากฏเสียงสามัญเฉพาะในคาเป็นเท่านั้น คาตายไม่มีเสียงสามัญ ๒. เสียงเอก คือ เสียงที่เริ่มต้นระดับต่ากว่าเสียงสามัญเล็กน้อย แล้วลดระดับต่ากว่าเสียงสามัญ คาเป็น เสียงคงที่ชั่วระยะหนึ่งแล้วค่อยๆ ลดลงเล็กน้อย เช่น ด่าง แข่ง ต่อ สู่ มีรูปวรรณยุกต์เอก ( ่่ ) คาตาย เสียงจะคงระดับตลอด เช่น เด็ก กัด จะ เจ็บ ไม่มีรูป วรรณยุกต์ ๓. เสียงโท คือ เสียงที่เริ่มต้นระดับสูงสุดแล้วค่อยๆ ลดระดับลงมาต่า ที่สุด มีลักษณะดังนี้ พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางและสูงจะมีรูปวรรณยุกต์โท ( ่้ ) เช่น ด้าน ต้าน สู้ ห้า พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าคาเป็นจะมีรูปวรรณยุกต์เอก ( ่่ ) เช่น ท่อ ที่ ย่า ล่าง ว่าน คู่ แม่ แน่น พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าคาตายจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น ลาด มาก
  • 3. ๔. เสียงตรี คือ เสียงที่เริ่มต้นสูงกว่าเสียงสามัญเล็กน้อย คาตาย เสียงคงระดับสูงและตกลงตอนท้ายเล็กน้อย มีลักษณะดังนี้ พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางจะมีรูปวรรณยุกต์ตรี ( ่๊ ) เช่น ก๊าซ จ๊ะ โต๊ะ โป๊ ะ พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าคาตายจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น คิด ลึก นะ คาเป็น เสียงคงระดับสูงไปตลอดในคาที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษร กลางจะมีรูปวรรณยุกต์ตรี ( ่๊ ) เช่น ป๊ า ด๊า พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าจะมีรูปวรรณยุกต์โท ( ่้ ) เช่น รู้ แล้ว คล้อง ไว้ ค้าน แท้ ๕. เสียงจัตวา คือ เสียงที่เริ่มในระดับต่าสุดแล้วลดต่าลงอีก ต่อจากนั้น เปลี่ยนระดับขึ้นสูงสุด มีลักษณะดังนี้ พยัญชนะต้นอักษรกลางคาเป็นจะมีรูปวรรณยุกต์จัตวา ( ่๋ ) เช่น ป๋ า ก๋า พยัญชนะต้นเป็นอักษรสูงคาเป็นจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น หนู เห็น เขา สูง ไหม ลักษณะเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย มี ๒ พวก คือ ก.วรรณยุกต์เสียงระดับ มีระดับเสียงค่อนข้างคงที่ไปตลอด มี ๓ เสียง คือ สามัญ เอก ตรี ข.วรรณยุกต์เสียงเลื่อน มีการเปลี่ยนแปลงระดับเสียง มี ๒ เสียง คือ โท เลื่อนจากสูงลงต่า และ จัตวา เลื่อนจากต่าขึ้นไปสูง
  • 4. ความสาคัญของเสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์เป็นตัวกาหนดความหมายของคาให้มีความแตกต่าง กัน และช่วยให้สาเนียงการพูดมีระดับเสียงสูงต่าเกิดความไพเราะ ข้อสังเกตเกี่ยวกับวรรณยุกต์ ๑. คาไทยทุกคาต้องมีเสียงวรรณยุกต์ คาที่ใช้ในภาษาไทย มีทั้งคาที่มี และไม่มีรูปวรรณยุกต์กากับ แต่ทุกคาจะต้องมีเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งเสียง วรรณยุกต์อาจไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์ที่กากับอยู่ก็ได้ ๑.๑ คาที่มีรูปวรรณยุกต์และเสียงตรงกับรูปวรรณยุกต์ เช่น คาว่า “ การ” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงสามัญ คาว่า “ สิ่ง” มีรูปวรรณยุกต์เอก เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงเอก คาว่า “ห้าม” มีรูปวรรณยุกต์โท เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงโท คาว่า “โต๊ะ” มีรูปวรรณยุกต์ตรี เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงตรี คาว่า “ป๋ า” มีรูปวรรณยุกต์จัตวา เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงจัตวา ๑.๒. คาที่ออกเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์ เช่น คาว่า “แพร่ น่า เที่ยว” มีรูปวรรณยุกต์เอก แต่ออกเสียงเป็น วรรณยุกต์โท คาว่า “น้า ค้า ไม้” มีรูปวรรณยุกต์โท แต่ออกเสียงเป็นวรรณยุกต์ ตรี ๑.๓. คาในภาษาไทยทุกคาจะมีเสียงวรรณยุกต์ทั้งหมด แม้ว่าคา นั้นจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ก็ตาม เช่น คาว่า “ ยาย” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงสามัญ
  • 5. คาว่า “ปัด” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงเอก คาว่า “นาค” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงโท คาว่า “คิด” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงตรี คาว่า “สาย” ไม่มีรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงจัตวา ๒. คาที่ประสมด้วยสระเสียงยาว เมื่อเติมวรรณยุกต์แล้ว อาจจะออก เสียงสั้น หรืออาจจะคงเสียงยาวตามเดิมก็ได้ ๒.๑. เติมรูปวรรณยุกต์แล้วออกเสียงสั้น เช่น เดน - เด่น, เลน - เล่น ๒.๒. เติมรูปวรรณยุกต์แล้วยังคงออกเสียงยาวตามเดิม เช่น หาม - ห้าม, ดวง - ด้วง