SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
การใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อส่งเสริมทักษะ
การรู้สารสนเทศสำาหรับเจนเนอเรชั่นวาย: ประสบการณ์จากความร่วมมือ
แบบไตรภาคี
โชคธำารงค์ จงจอหอ 1
และ ยศยาดา สิทธิวงษ์ 2
2* หัวหน้ากลุ่มภารกิจส่งเสริมการเรียนรู้ สำานักทรัพยากรสารสนเทศและการเรียนรู้
(สำานักวิทยาบริการ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1* นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตร ปร.ด. (สารสนเทศศึกษา) และ อาจารย์พิเศษ สำานัก
วิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 บทนำา
 วัตถุประสงค์
 ขอบเขตและข้อจำากัด
 ขั้นตอนและวิธีการดำาเนินงาน
 สรุปและอภิปรายผล
 ข้อเสนอแนะ
 การนำาไปใช้ประโยชน์
หัวข้อในการนำาเสนอหัวข้อในการนำาเสนอ
1.1. บทนำาบทนำา
 การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา จำาเป็นต้อง
พัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ เพราะถือเป็นเครื่อง
มือที่ช่วยให้เรียนรู้ด้วยตนเองภายใต้สภาพสังคม
เศรษฐกิจฐานความรู้ (เพ็ญพันธ์ เพชรศร, 2555)
 การเป็นผู้รู้สารสนเทศพิจารณาจากทักษะ 5
ประการ (สมาน ลอยฟ้า, 2544)
 มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้จัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศแก่นักศึกษาใน
ระดับปริญญาตรี อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันใช้ชื่อ
รายวิชาว่า 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ
(Information literacy skills) ซึ่งอยู่ในความรับ
ผิดชอบ ของ สำานักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัย หน้าหน้า
1.1. บทนำาบทนำา ((ต่อต่อ))
 สำานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัด
กิจกรรม Dialogue and Deep Listening เพื่อส่ง
เสริมทักษะการรู้สารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ ซึ่ง
กิจกรรมนี้พัฒนามาจากกระบวนทัศน์วิทยาศาสตร์
แนวใหม่ที่เห็นว่าสิ่งต่างๆ ล้วนสำาคัญและเชื่อมโยง
เป็นหนึ่งเดียวกัน ซึ่งองค์กรต่างๆ นิยมนำามาใช้
เป็นเครื่องมือสกัดความรู้ที่ฝังลึกในตัวบุคคล (ศิริ
รัตน์ จำาปีเรือง และคณะ, 2556)
 ช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองในการแก้ไขปัญหา
ต่างๆ แบบองค์รวม
 ช่วยให้รับฟังความคิดเห็นของกัน และกัน
อย่างเข้าใจมากยิ่งขึ้น หน้าหน้า
2.2. วัตถุประสงค์วัตถุประสงค์
 เพื่อรายงานผลการดำาเนินงานและถอดบทเรียน
ที่ได้รับ “จาก โครงการพัฒนากระบวนการเรียน
รู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นบนฐาน
ของทรัพยากรสารสนเทศโดยใช้กิจกรรม
สุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้ง (Dialogue
and Deep Listening: The powerful inspiration of
KKU library)”
หน้าหน้า
3.3. ขอบเขตและข้อจำากัดขอบเขตและข้อจำากัด
3.1) ข้อจำากัดด้านประชากร โดยกลุ่มเป้าหมาย
เป็นนักศึกษา มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น ที่ลงทะเบียนในวิชา 000130 ทักษะ
การรู้สารสนเทศ ของภาค
เรียนที่ 1/2557 พร้อมทั้งมีความสนใจสมัคร
เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งต้องมี
อาจารย์ผู้สอนเข้าร่วมสังเกตการณ์ในช่วงที่
ดำาเนินขับเคลื่อนกิจกรรม
3.2) ข้อจำากัดด้านระยะเวลา คือ จัดกิจกรรมช่วง
18-21 พฤศจิกายน 2557
3.3) ข้อจำากัดด้านกระบวนทัศน์ในการวิจัย ซึ่ง
เป็นแบบปรากฏการณ์นิยม
หน้าหน้า
4.4. ขั้นตอนและวิธีการดำาเนินงานขั้นตอนและวิธีการดำาเนินงาน
การจัดโครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ขอนแก่นบนฐานของทรัพยากรสารสนเทศโดย
ใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนา
และการฟังอย่างลึกซึ้ง (Dialogue and deep
listening : the powerful inspiration
of KKU library) เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศ
แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ
 ขั้นเตรียมการ (Preparing phase)
 ขั้นปฏิบัติการ (Action phase)
 ขั้นรับผลร่วมกัน (Reflection phase)
หน้าหน้า
4.14.1 ขั้นเตรียมการขั้นเตรียมการ (Preparing phase)(Preparing phase)
ผู้วิจัยได้เริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษากลุ่มเป้า
หมาย โดยได้แนะนำาตัวในฐานะอาจารย์ผู้สอน
ชี้แจงรายละเอียดของรายวิชา 000130 ทักษะ
การรู้สารสนเทศ โดยลำาดับ หลังจากนั้นได้
กำาหนดโดยให้นักศึกษากลุ่มเป้าหมายได้เข้าใช้
บริการต่างๆ ของสำานักวิทยบริการ ตามอัธยาศัย
ได้แก่
 กิจกรรม Library tour
 การสอนวิธีใช้ Web OPAC
 การแนะนำา E-Database และ E-book
หน้าหน้า
4.24.2 ขั้นปฏิบัติการขั้นปฏิบัติการ ((Action phase)Action phase)
เป็นขั้นตอนของการร่วมปรึกษาหารือระหว่าง
นักศึกษา อาจารย์ผู้สอนและบรรณารักษ์ เกี่ยวกับ
รูปแบบการจัดกิจกรรม ซึ่งใช้การสุนทรียสนทนา
(Dialogue) และการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep
Listening) เป็นเครื่องมือ จากนั้นจึงได้ประชุม
คณะทำางาน และจัดเตรียมสถานที่ แล้วจึงได้
ประชุมคณะทำางาน จัดเตรียมสถานที่ และดำาเนิน
การอย่างเต็มรูปแบบ โดยได้แบ่งช่วงเวลาออก
เป็น 3 ช่วง คือ
ช่วงที่ 1 เป็นช่วงการละลายพฤติกรรมและ
ทำาความรู้จักกับคน Gen Y
ช่วงที่ 2 เป็นช่วงแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน
หน้าหน้า
4.34.3 ขั้นรับผลร่วมกันขั้นรับผลร่วมกัน ((Reflection phase)Reflection phase)
เป็นขั้นตอนของการสรุปผลและสะท้อนผลที่
ได้จากผู้ร่วมกิจกรรมทุกฝ่าย ทั้งนักศึกษา
อาจารย์ และบรรณารักษ์ ต่างก็ได้เปิดใจรับฟัง
กันและกันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะนักศึกษาที่ได้
เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในประเด็นทักษะการ
รู้สารสนเทศ และประเด็นอื่นๆ
รวมทั้งได้...
 ได้รับคำาแนะนำาที่เป็นมิตรจาก
บรรณารักษ์
 ได้เห็นถึงหลากหลายของเพื่อนในชั้น
 ได้แลกเปลี่ยนความคิด-ทัศนคติ
 ได้เรียนรู้การทำางานเป็นทีม หน้าหน้า
5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 11 และและ 22))
กิจกรรมช่วงที่ 1 การละลายพฤติกรรมและ
ทำาความรู้กับคน Gen Y พบว่า
 นักศึกษาส่วนใหญ่ ชอบใช้เทคโนโลยี
ชอบความรวดเร็ว
 ชอบการติดต่อสื่อสาร ติดสังคมออนไลน์
ชอบอิสระ
 ต้องการความเอาใจใส่ ไม่ชอบรอคอย
นานๆ เป็นต้น
กิจกรรมช่วงที่ 2 ประสบการณ์ในการใช้
ทรัพยากรสารสนเทศ พบว่า
 นักศึกษารู้วิธีที่จะเข้าถึงสารสนเทศแบบ
ไม่ซับซ้อน หน้าหน้า
5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 11 และและ 22))
หน้าหน้า
5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33))
หน้าหน้า
กิจกรรมช่วงที่ 3 การจัดกิจกรรมสุนทียสนทนา
“และการฟังอย่างลึกซึ้งในประเด็น ห้องสมุดใน
ฝัน” พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มาห้องสมุดเพื่อ...
 อ่านหนังสือ
 ยืม-คืนทรัพยากรห้องสมุด
 มาทำาการบ้าน ทำารายงาน
 ค้นหาหนังสือและงานวิจัย
 มาใช้ Internet มาใช้ Free-WiFi
 มานั่งและงีบหลับเพราะแอร์เย็นสบาย
 มาเพื่อรอเวลาไปเรียน รอทำาภารกิจอื่น
หรือมาพบปะเพื่อน
 มานั่งรับประทานอาหารว่าง

5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33))
หน้าหน้า
นอกจากนี้ นักศึกษาได้เสนอความต้องการและ
ความคาดหวังต่อห้องสมุดในฝัน โดยแบ่งเป็นด้าน
ต่างๆ ดังนี้
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า นักศึกษา
ต้องการให้มีเครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติที่มีสายพาน
คัดแยกหนังสือ มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย
และมี Software ถูกลิขสิทธิ์ให้ใช้บริการ และ Hi-
speed Internet
5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33))
หน้าหน้า
ด้านอาคารสถานที่และสิ่งอำานวยความสะดวก
พบว่า นักศึกษาต้องการให้การพัฒนาห้องสมุด
ให้เป็น KKU Library plaza
 มีระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวด โดย
จัดโซนที่ชัดเจน เช่น โซนอ่าหนังสือ โซน
บันเทิง โซนออกกำาลังกายเบาๆ เป็นต้น
จัดภูมิทัศน์ให้เป็นธรรมชาติ มีสวนหย่อม
สวนนำ้า สวนสนุกเล็กๆ ในห้องสมุด เพราะ
อยากให้มีความรู้สึกว่าอยู่ท่ามกลาง
ธรรมชาติ
สร้างบรรยากาศในห้องสมุดให้เหมือนบ้าน
มีห้องนั่งเล่น ห้องรับแขก มีร้านอาหาร ร้าน
5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33))
หน้าหน้า
ด้านการจัดบริการ พบว่า นักศึกษาต้องการ
ให้มีศูนย์บริการทางการแพทย์ โรงภาพยนตร์ มี
Studio สำาหรับตัดต่อวีดีโอพร้อมทั้งอุปกรณ์ครบ
ชุด มีห้องเล่นเกม มีห้องติวพร้อม Projector มี
ร้านขายหนังสือ มีมุมขายของที่ระลึก มีบริการ
นวดสปา อบรมการเขียนรายการบรรณานุกรม
มีบริการเอกสารงานวิจัย/บทความที่นักศึกษา
โหลดไม่ได้ จัดหาหนังใหม่ series DVD และ
อยากให้ปรับปรุงหอจดหมายเหตุให้น่าเข้าใช้
มากขึ้น
5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33))
หน้าหน้า
ด้านทรัพยากรสารสนเทศ พบว่า พบว่า
นักศึกษาในสาขามนุษยศาสตร์ฯ ส่วนใหญ่ยัง
นิยมและต้องการอ่านหนังสือที่เป็นเล่มมากว่า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ซึ่งแตกต่าง
จากนักศึกษาสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความ
ต้องการอ่านทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ มากกว่า
แบบเล่ม
ด้านการจัดกิจกรรม พบว่า นักศึกษาต้องการให้
เชิญผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชามาให้ความ
รู้, จัดการจัดแข่งขันเกม E-Sport, Cover
dance, Cosplay ในระดับมหาวิทยาลัย
6.6. บทเรียนบทเรียน......ความร่วมมือแบบไตรภาคีความร่วมมือแบบไตรภาคี
18
การนำาเสนอรายงานหลังจากร่วมการนำาเสนอรายงานหลังจากร่วม
โครงการโครงการ
หน้าหน้า
7.7. อภิปรายผลอภิปรายผล
หน้าหน้า
สอดคล้องกับผลงานของ สันทนา กูลรัตน์
(2556) ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่าง
อาจารย์และบรรณารักษ์ในการส่งเสริมการรู้
สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มาก
ที่สุด คือ มหาวิทยาลัยกำาหนดหรือมีนโยบาย
การรู้สารสนเทศ / ผู้บริหารระดับคณะ ตระหนัก
ถึงความสำาคัญของความร่วมมือกันระหว่าง
อาจารย์และบรรณารักษ์ในการส่งเสริมทักษะ
การรู้สารสนเทศของนักศึกษา
สอดคล้องกับ Kuhlthau (1991) ซึ่งอธิบาย
ว่า อาชีพ (นักศึกษา) เป็นปัจจัยที่กำาหนด
พฤติกรรมการสารสนเทศของบุคคล รวมทั้ง
8.8. ข้อเสนอแนะข้อเสนอแนะ
หน้าหน้า
สำาหรับห้องสมุด คุณลักษณะพื้นฐานของห้อง
สมุด (Common) คือ
 เป็นสถานที่นัดหมายอันปลอดภัยและเป็น
มิตร
 เป็นสถานที่สำาหรับรวมตัวกันทำางาน
วิชาการและกิจกรรมอื่นๆ
 เอื้อให้นักศึกษาได้รับความบันเทิงและผ่อน
คลายความเครียด
 อุดมไปด้วยบริการและทรัพยากรที่มี
คุณภาพและทันสมัย
สำาหรับการศึกษาครั้งต่อไป
 การจัดบริการพื้นที่สูบบุหรี่ (Smoking
9.9. การนำาไปใช้ประโยชน์การนำาไปใช้ประโยชน์
หน้าหน้า
9.1) นักศึกษา ได้รู้จักบริการ/ทรัพยากรห้อง
สมุด ช่วยเสริมให้ใช้บริการได้อย่างถูกต้อง
รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อ
การเรียน และการใช้ชีวิต ทำาให้เป็นผู้ใฝ่รู้ซึ่ง
เป็นคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์
9.2) บรรณารักษ์ ได้รู้จักพฤติกรรมสารสนเทศ
(ความต้องการ ความคาดหวัง) ของนักศึกษา
Gen Y ซึ่งใช้ประกอบการให้บริการต่อไป
9.3) อาจารย์ผู้สอน ได้รับประโยชน์ในการ
วางแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้องตามความ
สนใจและพฤติกรรมสารสนเทศ ทั้งยังส่งเสริม
กิจกรรมนอกห้องเรียน โดยให้นักศึกษาได้
10.10. กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
หน้าหน้า
 ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญ
พันธ์ เพชรศร อาจารย์อาวุโสผู้ดูแลวิชา
ทักษะการรู้สารสนเทศ ของ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น
 ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.วนิดา
แก่นอากาศ ผู้อำานวยการสำานักวิทยบริการ
ที่ได้อนุเคราะห์งบประมาณ
 ขอขอบคุณ ทีมงานจากกลุ่มภารกิจส่งเสริม
การเรียนรู้ ที่ร่วมกันทำางานและขับเคลื่อน
กิจกรรมจนสำาเร็จผลในท้ายที่สุด
11.11. รายการอ้างอิงรายการอ้างอิง
หน้าหน้า
1) กลุ่มภารกิจส่งเสริมการเรียนรู้. (2557). โครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ขอนแก่นโดยใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้ง. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อัด
สำาเนา).
2) ทิพย์วัลย์ ตุลยะสุข & คณะ. (2548). เอกสารประกอบการสอนวิชา 412 102 การรู้สารสนเทศ. ขอนแก่น :
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3) ทิศนา แขมมณี. (2548). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ด่าน
สุธาการณ์การพิมพ์.
4) ปาริชาต เสารยะวิเศษ, สมาน ลอยฟ้า, & ดุษฎี อายุวัฒน์ (2553). ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้สารสนเทศ
ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในประเทศไทย. วารสารบรรณศาสตร์ มศว. 2, (1): 73-96.
5) เพ็ญพันธ์ เพชรศร & คณะ. (2552). เอกสารประกอบการเรียนรู้วิชา 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ. พิมพ์
ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: สำานักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
6) ภรณี ศิริโชติ & คณะ. (2543). เอกสารประกอบการสอนวิชา 412 102 ห้องสมุดและวิธีค้นคว้า. ขอนแก่น :
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
7) ศิริรัตน์ จำาปีเรือง, อมรรัตน์ วัฒนาธร, พูลสุข หิงคานนท์, & วารีรัตน์ แก้วอุไร. (2556). การพัฒนาหลักสูตรเสริม
สร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามกระบวนการสุนทรียสนทนาสำาหรับนักศึกษาพยาบาล. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร 15, (3): 9-15.
8) สมาน ลอยฟ้า. (2545). การสอนการใช้ห้องสมุด: พัฒนาการและแนวโน้ม. วารสารห้องสมุด 46, (2):20-30.
9) สันทนา กูลรัตน์. (2556). สภาพและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างอาจารย์และบรรณารักษ์ในการส่งเสริม
การรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 7, (2):
(บทคัดย่อ).
Thank you!Thank you!
Contact Email:
Chokthumrong@gmail.com
Tel: +66876587507

More Related Content

What's hot

ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
สุชาติ องค์มิ้น
 
คำชี้แจง
คำชี้แจงคำชี้แจง
คำชี้แจง
Amnuay
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sompoii Tnpc
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2
giftsuphattra
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Chantana Papattha
 
โครงการ Logistics
โครงการ Logisticsโครงการ Logistics
โครงการ Logistics
Que Kmutt Thaku
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
Pavit Wongkajit
 

What's hot (19)

ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
 
คำชี้แจง
คำชี้แจงคำชี้แจง
คำชี้แจง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
 
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCโครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 
การจัดทำข้อเสนอของโครงงานคอมพิวเตอร์
การจัดทำข้อเสนอของโครงงานคอมพิวเตอร์การจัดทำข้อเสนอของโครงงานคอมพิวเตอร์
การจัดทำข้อเสนอของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2
 
Introduction to internet
Introduction to internetIntroduction to internet
Introduction to internet
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
โครงการ Logistics
โครงการ Logisticsโครงการ Logistics
โครงการ Logistics
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
 

Similar to การใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศ

ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
Sirikanya Pota
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
huntertoy
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Atthaphon45614
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
Thank Chiro
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
Thank Chiro
 

Similar to การใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศ (20)

ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
 
ใบงาน K2
ใบงาน K2ใบงาน K2
ใบงาน K2
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
Yanisaand prapasiriproject2
Yanisaand prapasiriproject2Yanisaand prapasiriproject2
Yanisaand prapasiriproject2
 
Presentation Activity 3
Presentation Activity 3Presentation Activity 3
Presentation Activity 3
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418
 
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
Project
ProjectProject
Project
 
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 

การใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศ

  • 1. การใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อส่งเสริมทักษะ การรู้สารสนเทศสำาหรับเจนเนอเรชั่นวาย: ประสบการณ์จากความร่วมมือ แบบไตรภาคี โชคธำารงค์ จงจอหอ 1 และ ยศยาดา สิทธิวงษ์ 2 2* หัวหน้ากลุ่มภารกิจส่งเสริมการเรียนรู้ สำานักทรัพยากรสารสนเทศและการเรียนรู้ (สำานักวิทยาบริการ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1* นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตร ปร.ด. (สารสนเทศศึกษา) และ อาจารย์พิเศษ สำานัก วิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2.  บทนำา  วัตถุประสงค์  ขอบเขตและข้อจำากัด  ขั้นตอนและวิธีการดำาเนินงาน  สรุปและอภิปรายผล  ข้อเสนอแนะ  การนำาไปใช้ประโยชน์ หัวข้อในการนำาเสนอหัวข้อในการนำาเสนอ
  • 3. 1.1. บทนำาบทนำา  การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา จำาเป็นต้อง พัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ เพราะถือเป็นเครื่อง มือที่ช่วยให้เรียนรู้ด้วยตนเองภายใต้สภาพสังคม เศรษฐกิจฐานความรู้ (เพ็ญพันธ์ เพชรศร, 2555)  การเป็นผู้รู้สารสนเทศพิจารณาจากทักษะ 5 ประการ (สมาน ลอยฟ้า, 2544)  มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้จัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศแก่นักศึกษาใน ระดับปริญญาตรี อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันใช้ชื่อ รายวิชาว่า 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy skills) ซึ่งอยู่ในความรับ ผิดชอบ ของ สำานักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัย หน้าหน้า
  • 4. 1.1. บทนำาบทนำา ((ต่อต่อ))  สำานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัด กิจกรรม Dialogue and Deep Listening เพื่อส่ง เสริมทักษะการรู้สารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ ซึ่ง กิจกรรมนี้พัฒนามาจากกระบวนทัศน์วิทยาศาสตร์ แนวใหม่ที่เห็นว่าสิ่งต่างๆ ล้วนสำาคัญและเชื่อมโยง เป็นหนึ่งเดียวกัน ซึ่งองค์กรต่างๆ นิยมนำามาใช้ เป็นเครื่องมือสกัดความรู้ที่ฝังลึกในตัวบุคคล (ศิริ รัตน์ จำาปีเรือง และคณะ, 2556)  ช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองในการแก้ไขปัญหา ต่างๆ แบบองค์รวม  ช่วยให้รับฟังความคิดเห็นของกัน และกัน อย่างเข้าใจมากยิ่งขึ้น หน้าหน้า
  • 5. 2.2. วัตถุประสงค์วัตถุประสงค์  เพื่อรายงานผลการดำาเนินงานและถอดบทเรียน ที่ได้รับ “จาก โครงการพัฒนากระบวนการเรียน รู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นบนฐาน ของทรัพยากรสารสนเทศโดยใช้กิจกรรม สุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้ง (Dialogue and Deep Listening: The powerful inspiration of KKU library)” หน้าหน้า
  • 6. 3.3. ขอบเขตและข้อจำากัดขอบเขตและข้อจำากัด 3.1) ข้อจำากัดด้านประชากร โดยกลุ่มเป้าหมาย เป็นนักศึกษา มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ที่ลงทะเบียนในวิชา 000130 ทักษะ การรู้สารสนเทศ ของภาค เรียนที่ 1/2557 พร้อมทั้งมีความสนใจสมัคร เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งต้องมี อาจารย์ผู้สอนเข้าร่วมสังเกตการณ์ในช่วงที่ ดำาเนินขับเคลื่อนกิจกรรม 3.2) ข้อจำากัดด้านระยะเวลา คือ จัดกิจกรรมช่วง 18-21 พฤศจิกายน 2557 3.3) ข้อจำากัดด้านกระบวนทัศน์ในการวิจัย ซึ่ง เป็นแบบปรากฏการณ์นิยม หน้าหน้า
  • 7. 4.4. ขั้นตอนและวิธีการดำาเนินงานขั้นตอนและวิธีการดำาเนินงาน การจัดโครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ขอนแก่นบนฐานของทรัพยากรสารสนเทศโดย ใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนา และการฟังอย่างลึกซึ้ง (Dialogue and deep listening : the powerful inspiration of KKU library) เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ  ขั้นเตรียมการ (Preparing phase)  ขั้นปฏิบัติการ (Action phase)  ขั้นรับผลร่วมกัน (Reflection phase) หน้าหน้า
  • 8. 4.14.1 ขั้นเตรียมการขั้นเตรียมการ (Preparing phase)(Preparing phase) ผู้วิจัยได้เริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษากลุ่มเป้า หมาย โดยได้แนะนำาตัวในฐานะอาจารย์ผู้สอน ชี้แจงรายละเอียดของรายวิชา 000130 ทักษะ การรู้สารสนเทศ โดยลำาดับ หลังจากนั้นได้ กำาหนดโดยให้นักศึกษากลุ่มเป้าหมายได้เข้าใช้ บริการต่างๆ ของสำานักวิทยบริการ ตามอัธยาศัย ได้แก่  กิจกรรม Library tour  การสอนวิธีใช้ Web OPAC  การแนะนำา E-Database และ E-book หน้าหน้า
  • 9. 4.24.2 ขั้นปฏิบัติการขั้นปฏิบัติการ ((Action phase)Action phase) เป็นขั้นตอนของการร่วมปรึกษาหารือระหว่าง นักศึกษา อาจารย์ผู้สอนและบรรณารักษ์ เกี่ยวกับ รูปแบบการจัดกิจกรรม ซึ่งใช้การสุนทรียสนทนา (Dialogue) และการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) เป็นเครื่องมือ จากนั้นจึงได้ประชุม คณะทำางาน และจัดเตรียมสถานที่ แล้วจึงได้ ประชุมคณะทำางาน จัดเตรียมสถานที่ และดำาเนิน การอย่างเต็มรูปแบบ โดยได้แบ่งช่วงเวลาออก เป็น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 เป็นช่วงการละลายพฤติกรรมและ ทำาความรู้จักกับคน Gen Y ช่วงที่ 2 เป็นช่วงแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน หน้าหน้า
  • 10. 4.34.3 ขั้นรับผลร่วมกันขั้นรับผลร่วมกัน ((Reflection phase)Reflection phase) เป็นขั้นตอนของการสรุปผลและสะท้อนผลที่ ได้จากผู้ร่วมกิจกรรมทุกฝ่าย ทั้งนักศึกษา อาจารย์ และบรรณารักษ์ ต่างก็ได้เปิดใจรับฟัง กันและกันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะนักศึกษาที่ได้ เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในประเด็นทักษะการ รู้สารสนเทศ และประเด็นอื่นๆ รวมทั้งได้...  ได้รับคำาแนะนำาที่เป็นมิตรจาก บรรณารักษ์  ได้เห็นถึงหลากหลายของเพื่อนในชั้น  ได้แลกเปลี่ยนความคิด-ทัศนคติ  ได้เรียนรู้การทำางานเป็นทีม หน้าหน้า
  • 11. 5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 11 และและ 22)) กิจกรรมช่วงที่ 1 การละลายพฤติกรรมและ ทำาความรู้กับคน Gen Y พบว่า  นักศึกษาส่วนใหญ่ ชอบใช้เทคโนโลยี ชอบความรวดเร็ว  ชอบการติดต่อสื่อสาร ติดสังคมออนไลน์ ชอบอิสระ  ต้องการความเอาใจใส่ ไม่ชอบรอคอย นานๆ เป็นต้น กิจกรรมช่วงที่ 2 ประสบการณ์ในการใช้ ทรัพยากรสารสนเทศ พบว่า  นักศึกษารู้วิธีที่จะเข้าถึงสารสนเทศแบบ ไม่ซับซ้อน หน้าหน้า
  • 13. 5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33)) หน้าหน้า กิจกรรมช่วงที่ 3 การจัดกิจกรรมสุนทียสนทนา “และการฟังอย่างลึกซึ้งในประเด็น ห้องสมุดใน ฝัน” พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มาห้องสมุดเพื่อ...  อ่านหนังสือ  ยืม-คืนทรัพยากรห้องสมุด  มาทำาการบ้าน ทำารายงาน  ค้นหาหนังสือและงานวิจัย  มาใช้ Internet มาใช้ Free-WiFi  มานั่งและงีบหลับเพราะแอร์เย็นสบาย  มาเพื่อรอเวลาไปเรียน รอทำาภารกิจอื่น หรือมาพบปะเพื่อน  มานั่งรับประทานอาหารว่าง 
  • 14. 5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33)) หน้าหน้า นอกจากนี้ นักศึกษาได้เสนอความต้องการและ ความคาดหวังต่อห้องสมุดในฝัน โดยแบ่งเป็นด้าน ต่างๆ ดังนี้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า นักศึกษา ต้องการให้มีเครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติที่มีสายพาน คัดแยกหนังสือ มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย และมี Software ถูกลิขสิทธิ์ให้ใช้บริการ และ Hi- speed Internet
  • 15. 5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33)) หน้าหน้า ด้านอาคารสถานที่และสิ่งอำานวยความสะดวก พบว่า นักศึกษาต้องการให้การพัฒนาห้องสมุด ให้เป็น KKU Library plaza  มีระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวด โดย จัดโซนที่ชัดเจน เช่น โซนอ่าหนังสือ โซน บันเทิง โซนออกกำาลังกายเบาๆ เป็นต้น จัดภูมิทัศน์ให้เป็นธรรมชาติ มีสวนหย่อม สวนนำ้า สวนสนุกเล็กๆ ในห้องสมุด เพราะ อยากให้มีความรู้สึกว่าอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติ สร้างบรรยากาศในห้องสมุดให้เหมือนบ้าน มีห้องนั่งเล่น ห้องรับแขก มีร้านอาหาร ร้าน
  • 16. 5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33)) หน้าหน้า ด้านการจัดบริการ พบว่า นักศึกษาต้องการ ให้มีศูนย์บริการทางการแพทย์ โรงภาพยนตร์ มี Studio สำาหรับตัดต่อวีดีโอพร้อมทั้งอุปกรณ์ครบ ชุด มีห้องเล่นเกม มีห้องติวพร้อม Projector มี ร้านขายหนังสือ มีมุมขายของที่ระลึก มีบริการ นวดสปา อบรมการเขียนรายการบรรณานุกรม มีบริการเอกสารงานวิจัย/บทความที่นักศึกษา โหลดไม่ได้ จัดหาหนังใหม่ series DVD และ อยากให้ปรับปรุงหอจดหมายเหตุให้น่าเข้าใช้ มากขึ้น
  • 17. 5.5. สรุปผลสรุปผล ((กิจกรรมที่กิจกรรมที่ 33)) หน้าหน้า ด้านทรัพยากรสารสนเทศ พบว่า พบว่า นักศึกษาในสาขามนุษยศาสตร์ฯ ส่วนใหญ่ยัง นิยมและต้องการอ่านหนังสือที่เป็นเล่มมากว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ซึ่งแตกต่าง จากนักศึกษาสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความ ต้องการอ่านทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ มากกว่า แบบเล่ม ด้านการจัดกิจกรรม พบว่า นักศึกษาต้องการให้ เชิญผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชามาให้ความ รู้, จัดการจัดแข่งขันเกม E-Sport, Cover dance, Cosplay ในระดับมหาวิทยาลัย
  • 20. 7.7. อภิปรายผลอภิปรายผล หน้าหน้า สอดคล้องกับผลงานของ สันทนา กูลรัตน์ (2556) ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่าง อาจารย์และบรรณารักษ์ในการส่งเสริมการรู้ สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มาก ที่สุด คือ มหาวิทยาลัยกำาหนดหรือมีนโยบาย การรู้สารสนเทศ / ผู้บริหารระดับคณะ ตระหนัก ถึงความสำาคัญของความร่วมมือกันระหว่าง อาจารย์และบรรณารักษ์ในการส่งเสริมทักษะ การรู้สารสนเทศของนักศึกษา สอดคล้องกับ Kuhlthau (1991) ซึ่งอธิบาย ว่า อาชีพ (นักศึกษา) เป็นปัจจัยที่กำาหนด พฤติกรรมการสารสนเทศของบุคคล รวมทั้ง
  • 21. 8.8. ข้อเสนอแนะข้อเสนอแนะ หน้าหน้า สำาหรับห้องสมุด คุณลักษณะพื้นฐานของห้อง สมุด (Common) คือ  เป็นสถานที่นัดหมายอันปลอดภัยและเป็น มิตร  เป็นสถานที่สำาหรับรวมตัวกันทำางาน วิชาการและกิจกรรมอื่นๆ  เอื้อให้นักศึกษาได้รับความบันเทิงและผ่อน คลายความเครียด  อุดมไปด้วยบริการและทรัพยากรที่มี คุณภาพและทันสมัย สำาหรับการศึกษาครั้งต่อไป  การจัดบริการพื้นที่สูบบุหรี่ (Smoking
  • 22. 9.9. การนำาไปใช้ประโยชน์การนำาไปใช้ประโยชน์ หน้าหน้า 9.1) นักศึกษา ได้รู้จักบริการ/ทรัพยากรห้อง สมุด ช่วยเสริมให้ใช้บริการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อ การเรียน และการใช้ชีวิต ทำาให้เป็นผู้ใฝ่รู้ซึ่ง เป็นคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 9.2) บรรณารักษ์ ได้รู้จักพฤติกรรมสารสนเทศ (ความต้องการ ความคาดหวัง) ของนักศึกษา Gen Y ซึ่งใช้ประกอบการให้บริการต่อไป 9.3) อาจารย์ผู้สอน ได้รับประโยชน์ในการ วางแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้องตามความ สนใจและพฤติกรรมสารสนเทศ ทั้งยังส่งเสริม กิจกรรมนอกห้องเรียน โดยให้นักศึกษาได้
  • 23. 10.10. กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ หน้าหน้า  ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญ พันธ์ เพชรศร อาจารย์อาวุโสผู้ดูแลวิชา ทักษะการรู้สารสนเทศ ของ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น  ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.วนิดา แก่นอากาศ ผู้อำานวยการสำานักวิทยบริการ ที่ได้อนุเคราะห์งบประมาณ  ขอขอบคุณ ทีมงานจากกลุ่มภารกิจส่งเสริม การเรียนรู้ ที่ร่วมกันทำางานและขับเคลื่อน กิจกรรมจนสำาเร็จผลในท้ายที่สุด
  • 24. 11.11. รายการอ้างอิงรายการอ้างอิง หน้าหน้า 1) กลุ่มภารกิจส่งเสริมการเรียนรู้. (2557). โครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ขอนแก่นโดยใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้ง. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อัด สำาเนา). 2) ทิพย์วัลย์ ตุลยะสุข & คณะ. (2548). เอกสารประกอบการสอนวิชา 412 102 การรู้สารสนเทศ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 3) ทิศนา แขมมณี. (2548). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ด่าน สุธาการณ์การพิมพ์. 4) ปาริชาต เสารยะวิเศษ, สมาน ลอยฟ้า, & ดุษฎี อายุวัฒน์ (2553). ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้สารสนเทศ ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในประเทศไทย. วารสารบรรณศาสตร์ มศว. 2, (1): 73-96. 5) เพ็ญพันธ์ เพชรศร & คณะ. (2552). เอกสารประกอบการเรียนรู้วิชา 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ. พิมพ์ ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: สำานักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 6) ภรณี ศิริโชติ & คณะ. (2543). เอกสารประกอบการสอนวิชา 412 102 ห้องสมุดและวิธีค้นคว้า. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 7) ศิริรัตน์ จำาปีเรือง, อมรรัตน์ วัฒนาธร, พูลสุข หิงคานนท์, & วารีรัตน์ แก้วอุไร. (2556). การพัฒนาหลักสูตรเสริม สร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามกระบวนการสุนทรียสนทนาสำาหรับนักศึกษาพยาบาล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 15, (3): 9-15. 8) สมาน ลอยฟ้า. (2545). การสอนการใช้ห้องสมุด: พัฒนาการและแนวโน้ม. วารสารห้องสมุด 46, (2):20-30. 9) สันทนา กูลรัตน์. (2556). สภาพและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างอาจารย์และบรรณารักษ์ในการส่งเสริม การรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 7, (2): (บทคัดย่อ).
  • 25. Thank you!Thank you! Contact Email: Chokthumrong@gmail.com Tel: +66876587507

Editor's Notes

  1. กราบเรียนท่านคณะกรรมการ และผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ ทุกท่าน กระผมนายโชคธำรงค์ จงจอหอ จะเป็นตัวแทนของคณะทำงาน เพื่อมานำเสนอผลงาน...เรื่อง “การใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้ง... เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศสำหรับเจนเนอเรชั่นวาย: ประสบการณ์จากความร่วมมือแบบไตรภาคี”
  2. ในการนำเสนอครั้งนี้ประกอบด้วย หัวข้อย่อยต่างๆ ดังที่ได้ระบุไว้นี้ ตามลำดับ
  3. การรู้สารสนเทศ ถือเป็นเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ เพราะช่วยให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ในโลกแห่งดิจิทัลได้ด้วยตนเอง การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึงจำเป็นต้องพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในปัจจุบัน อยู่ในความรับผิดชอบของ สำนักวิชาศึกษาทั่วไป โดยใช้ใช้ชื่อรายวิชาว่า วิชา 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information literacy)
  4. ในส่วนของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยความรับผิดชอบของกลุ่มภารกิจส่งเสริมการเรียนรู้ ซึ่งได้ดำเนินการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศผ่านเว็บไซต์ พร้อมทั้งมีการจัดอบรมให้แก่ผู้ใช้บริการตลอดปีการศึกษา โดยในปีการศึกษาใหม่นี้ ได้จัดทำโครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้ง หรือ Dialogue and Deep Listening ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองต่อการแก้ไขปัญหาต่างๆ แบบองค์รวม และช่วยให้รับฟังความคิดเห็นของกันและกัน อย่างเข้าใจมากยิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการทำงานร่วมกัน ในรายวิชา ทักษะการรู้สารสนเทศ ไปโดยปริยาย
  5. ดังนั้น เมื่อคณะทำงานได้จัดกิจกรรมเสร็จสิ้น จึงร่วมกันถอดบทเรียนที่ได้จากการส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศ... โดยใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้ง เพื่อนำไปใช้ประยุกต์เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ คุณลักษณะและความต้องการของผู้ใช้อย่างแท้จริง
  6. ขอบเขตและข้อจำกัดของกิจกรรมนี้ ประกอบด้วย 1) ข้อจำกัดด้านประชากรและกลุ่มเป้าหมาย โดย ประชากร คือ นักศึกษาทุกชั้นปีของมหาวิทยาลัยขอนแก่น สำหรับ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ และนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งสมัครใจยินดีเข้าร่วมกิจกรรม 2) ข้อจำกัดด้านระยะเวลา โดยดำเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 18-21 พฤศจิกายน 2557 3) ข้อจำกัดด้านกระบวนทัศน์ในการวิจัยแบบปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) ซึ่งเป็นการตีความข้อมูลจากหลายมุมมอง แล้วทำการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงสรุปแบบอุปนัย และนำเสนอผลแบบพรรณนา ซึ่งผลที่ได้ไม่อาจนำไปใช้ทำนายปรากฏการณ์ใดๆ ได้อย่างตายตัว
  7. การจัดโครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นบนฐานของทรัพยากรสารสนเทศโดยใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนาและการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ (Preparing phase) ขั้นปฏิบัติการ (Action phase) ขั้นรับผลร่วมกัน (Reflection phase)
  8. สำหรับ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน มีดังนี้ 4.1 ขั้นเตรียมการ ผู้สอนได้เริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษากลุ่มเป้าหมาย โดยได้แนะนำตัวในฐานะอาจารย์ผู้สอน และชี้แจงรายละเอียดต่างๆ ของรายวิชา ทักษะการรู้สารสนเทศ ให้แก่นักศึกษาได้รับทราบโดยลำดับ พร้อมทั้งนี้ เปิดโอกาสให้แก่นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย ได้เข้ามาใช้บริการต่างๆ ของสำนักวิทยบริการ ตามอัธยาศัย เช่น การฝึกอบรม Web OPAC กิจกรรม Library tour เป็นต้น
  9. ขั้นปฏิบัติการ เป็นขั้นตอนที่คณะทำงานได้จัดกิจกรรมพิเศษเพื่อรับฟังเสียงของกันและกันให้มากขึ้น โดยได้เลือกใช้แนวคิดสุนทรียสนทนา (Dialogue) และการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยได้แบ่งช่วงเวลาออกเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1) เป็นช่วงของการละลายพฤติกรรมและทำความรู้จักตนเองในฐานะที่เป็นบุคคลในยุคเจเนอเรชั่นวาย หรือ Gen Y ช่วงที่ 2) เป็นช่วงแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสารสนเทศ ช่วงที่ 3) เป็นช่วงรับฟังกันและกันอย่างลึกซึ้ง โดยสนทนาในประเด็นห้องสมุดในฝัน
  10. สำหรับ ขั้นรับผลร่วมกัน เป็นขั้นตอนของการสรุปและสะท้อนผลการเรียนรู้...จากผู้ร่วมกิจกรรมทุกฝ่าย โดยเฉพาะนักศึกษาที่ได้เพิ่มพูนความรู้ เรียนรู้การทำงานเป็นทีม มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนร่วมชั้น และได้รับคำแนะนำที่เป็นมิตรจากบรรณารักษ์ และผู้สอน
  11. ซึ่งผลการจัดกิจกรรม สามารถสรุปได้ 3 ช่วง ดังนี้ กิจกรรมช่วงที่ 1 การละลายพฤติกรรมและทำความรู้จักตนเองในฐานะที่เป็นบุคคลในยุคเจเนอเรชั่นวาย หรือ Gen Y พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ชอบใช้เทคโนโลยี ชอบการติดต่อสื่อสาร ไม่ชอบรอคอยนานๆ เป็นต้น กิจกรรมช่วงที่ 2 พบว่า นักศึกษารู้วิธีที่จะเข้าถึงสารสนเทศแบบไม่ซับซ้อน และยังรู้จักฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ไม่มากนัก ความสามารถในการประเมินและประมวลสารสนเทศยังทำได้น้อย และยังไม่ทราบเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม Enenote, Zotero, และ turnitin แต่นักศึกษามีความรู้ด้านการใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและถูกกฎหมาย
  12. นี่ก็คือภาพบรรยากาศในขณะที่กำลังขับเคลื่อนกิจกรรมที่ 1 ละลายพฤติกรรม และกิจกรรมที่ 2 ระดมสมองของคน Gen Y ครับ
  13. กิจกรรมช่วงที่ 3 พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มาห้องสมุดเพื่อ... อ่านหนังสือ และยืม-คืนทรัพยากรห้องสมุด นัดเจอเพื่อนๆ เพื่อมาทำการบ้าน ทำรายงาน เป็นต้น ซึ่งนักศึกษาได้เสนอความต้องการและความคาดหวังต่อห้องสมุดในด้านต่างๆ ดังนี้
  14. นอกจากนี้ นักศึกษาได้เสนอความต้องการและความคาดหวังต่อห้องสมุดในด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า นักศึกษาต้องการให้มีเครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติที่มีสายพานคัดแยกหนังสือ มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย และมี Software ถูกลิขสิทธิ์ให้ใช้บริการ และ Hi-speed Internet
  15. ด้านอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก พบว่า นักศึกษาต้องการให้การพัฒนาห้องสมุดให้เป็น KKU Library plaza มีระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวด โดยจัดโซนที่ชัดเจน เช่น โซนสงบเงียบ โซนบันเทิง โซนนั่ง Chill & Share โซนออกกำลังกายเบาๆ โซนสูบบุหรี่ โซนสัตว์เลี้ยง โซนเตียงนอน โซนนั่งสมาธิ จัดภูมิทัศน์ให้เป็นธรรมชาติ มีสวนหย่อม สวนน้ำ สวนสนุกเล็กๆ ในห้องสมุด เพราะอยากให้มีความรู้สึกว่าอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ สร้างบรรยากาศในห้องสมุดให้เหมือนบ้าน มีห้องนั่งเล่น ห้องรับแขก มีโซฟาหรูๆ นั่งสบายๆ มีร้านอาหาร ร้านกาแฟ เค้ก มีปลั๊กไฟเยอะๆ ห้องน้ำสะอาด มีดาดฟ้าสำหรับนั่งอ่านหนังสือ มีห้องชมรายการฟุตบอล และเปิดบริการประตูทางเข้า Zone 24 hr. เพื่อลดเวลาการเดินไปเข้าประตูหน้าอาคารศูนย์สารสนเทศ
  16. ด้านการจัดบริการ พบว่า นักศึกษาต้องการให้มีศูนย์บริการทางการแพทย์ โรงภาพยนตร์ มีห้องฟังเพลง มีห้องคาราโอเกะ เพื่อผ่อนคลายความเครียด รวมทั้งอยากให้มี Studio สำหรับเรียนรู้และหัดตัดต่อวีดีโอ พร้อมอุปกรณ์ถ่ายทำ-ตัดต่อครบชุด เป็นต้น
  17. ด้านทรัพยากรสารสนเทศ พบว่า นักศึกษาในสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ส่วนใหญ่ยังนิยมและต้องการอ่านหนังสือที่เป็นเล่ม ซึ่งแตกต่างจากนักศึกษาสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ที่มีความต้องการอ่านทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ ด้านการจัดกิจกรรม พบว่า นักศึกษาต้องการให้มีกิจกรรมจัดการแข่งขันเกม E-Sport Cover dance Costpaly จัด Game ลีคชิงแชมป์มหาวิทยาลัย จัดสัปดาห์หนังสือ ประกวดแต่งนวนิยาย/เรื่องสั้น ภาพถ่าย และการสุ่มแจกของรางวัลขณะอ่านหนังสือ เป็นต้น
  18. เมื่อถอดบทเรียนจากความร่วมมือแบบไตรภาคี จึงสรุปได้ว่า นักศึกษามีความพึงพอใจที่ได้เรียนในบรรยากาศที่แปลกใหม่ ได้ฝึกทำงานเป็นทีมได้เป็นอย่างดี มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สามารถต่อยอดความคิด และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันได้อย่างสร้างสรรค์ ผู้สอน และบรรณารักษ์
  19. การนำเสนอรายงานหลังจากร่วมโครงการ
  20. ผลของกิจกรรมสร้างสรรค์ในครั้งนี้ สอดคล้องกับผลงานวิจัยของสันทนา กูลรัตน์ (2556) ที่ระบุว่า ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริมการรู้สารสนเทศของนักศึกษามากที่สุด คือ มหาวิทยาลัยกำหนดหรือมีนโยบายและผู้บริหารระดับสูงในระดับคณะ... ตระหนักถึงความสำคัญ และ สอดคล้องกับแนวคิดของ Kuhlthau (1991) ซึ่งอธิบายว่า อาชีพ (นักศึกษา) เป็นปัจจัยที่กำหนดพฤติกรรมสารสนเทศของบุคคล
  21. สิ่งที่ควรนำมาศึกษาต่อไป เช่น ความต้องการที่เสนอให้จัดบริการพื้นที่สูบบุหรี่ (Smoking area) แนวคิด KKU Library plaza การจัดกิจกรรมแบบคน Gen Y เช่น Cover dance, Cosplay เป็นต้น นอกจากนี้ ในประเด็นห้องสมุดในฝัน ยังพบว่า ประเด็นความคิดที่เหมือนกัน (Common) ของนักศึกษาทุกกลุ่ม คือ นักศึกษาต้องการพื้นที่ว่าง (space) ซึ่งสิ่งที่เป็นพื้นฐานของห้องสมุดในฝัน ของคน Gen Y ดังนั้น ห้องสมุดจึงควรจะมีลักษณะเป็นสถานที่นัดหมายอันปลอดภัยและเป็นมิตรเพื่อให้นักศึกษาได้รวมตัวกันทำงานวิชาการและสร้างสรรค์กิจกรรมอื่นๆ ได้
  22. สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ สรุปได้ว่า นักศึกษา ได้เพิ่มพูนความรู้ด้านการรู้สารสนเทศ และได้รู้จักคุ้นเคยกับบรรณารักษ์ มากขึ้น บรรณารักษ์ ได้รู้จักพฤติกรรม ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษา Gen Y ซึ่งใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาบริการต่างๆ ของห้องสมุดได้ และอาจารย์ผู้สอน ได้รู้จักพฤติกรรม และพื้นความรู้ของนักศึกษา ซึ่งเป็นประโยชน์ในการวางแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้องตามความสนใจและพฤติกรรม
  23. ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญพันธ์ เพชรศร อาจารย์อาวุโสผู้ดูแลรายวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ ที่สนับสนุนแนวคิดในกิจกรรมนี้ และขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.วนิดา แก่นอากาศ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์งบประมาณในการจัดกิจกรรม รวมทั้งขอขอบคุณทีมงานกลุ่มภารกิจส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ร่วมกันขับเคลื่อนกิจกรรมจนสำเร็จผล
  24. และนี้คือรายการอ้างอิงของโครงการนี้
  25. ขอบคุณครับ