SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
 
 
ผลการศึกษา ผู้สัมภาษณ์  :  ประวัติความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน   ? ผู้ให้สัมภาษณ์  :  สำหรับประวัติของโรงเรียนเทศบาล๕  ( วัดหัวป้อมนอก )  ปัจจุบันตั้งอยู่ริมถนนริมทางรถไฟ  อำเภอเมือง  จังหวัดสงขลา  มีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๓ งาน  ประกาศตั้งเป็นโรงเรียนเทศบาล๕ ( วัดหัวป้อมนอก )  สังกัดเทศบาลนครสงขลา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๖  โดยการริเริ่มและดำเนินการของนายนิพนธ์  บุญญามณี  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา และนายอุทิศ  ชูช่วย ได้เปิดทำการสอนในช่วงชั้นที่๓  ( ม . ๑ - ม . ๓ ) นักเรียนทั้งหมด ๙๐๐ คน มีครู ๕๑ คน นักการ ๓ คน โดยมีนายนิคม  จันพุ่ม เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน  ดำเนินการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๕๒
ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนเทศบาล๕  ( วัดหัวป้อมนอก ) โรงเรียนเทศบาล๕  ( วัดหัวป้อมนอก ) เป็นโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครสงขลา  สำนักบริหารการศึกษาท้องถิ่น  กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น  กระทรวงมหาดไทย  เป็นโรงเรียนขยายโอกาสจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวนนักเรียนรวมทั้งสิ้น ๑ , ๗๗๐ คน มีจำนวนอาคารเรียน ๕ อาคารเรียน จำนวน ๕๖ ห้องเรียน  ๓๗ ห้องพิเศษ
ผู้สัมภาษณ์   :   ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดมุ่งหมายของโรงเรียน มีอะไรบ้าง ? ผู้ให้สัมภาษณ์  :  ปรัชญาของโรงเรียน      ปญฺญาย ปริสุชฺฌติ   คนย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา วิสัยทัศน์ โรงเรียนเทศบาล๕  ( วัดหัวป้อมนอก ) สังคมแห่งการเรียนรู้คู่คุณธรรมที่มีคุณธรรม คำขวัญ คุณธรรมเด่น เน้นวิชาการ เชี่ยวชาญกิจกรรม  นำประสานชุมชน
โรงเรียนเทศบาล  5  ( วัดป้อมนอก ) ใช้หลักสูตร  2  เล่ม คือ หลักสูตรพื้นฐาน พุทธศักราช  2551  ( ม .1-4 ) หลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช  2544  ( ม .5-6 ) หลักสูตรของโรงเรียนเทศบาล   5  เป็นจุดแข็ง ครูทำหลักสูตรกันเอง ครูจะมีหลักสูตรคนละเล่ม ครูที่สอน ม .1-6   จะถือหลักสูตร  2 เล่ม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช  2551  ( ม .1-4 ) หลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช พุธทศักราช   2544   หลักสูตร หลักสูตรของโรงเรียนเทศบาล   5  เป็นจุดแข็ง ครูทำหลักสูตรกันเอง
ผู้สัมภาษณ์   :  บริบท / ลักษณะของชุมชนหรือท้องถิ่นที่อยู่รอบบริเวณโรงเรียนเป็นอย่างไร และมีส่วนสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรอย่างไรบ้าง ? ผู้ให้สัมภาษณ์  :  สภาพชุมชนโดยรอบของโรงเรียนเป็นชุมชนแออัด ได้แก่ ชุมชนหัวป้อม  ชุมชนวังเขียว  ชุมชนริมทางรถไฟนอก ชุมชนวชิรา ประชากรในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน   มีอาชีพรับจ้าง อาชีพประมง และอื่นๆ นับถือศาสนาพุทธ ประมาณร้อยละ๙๐ และนับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ๑๐ ชุมชนผู้ปกครองและคณะกรรมการแสดงความคิดเห็น ข้อคิดเห็น  ให้เด็กเรียนเกี่ยวกับท้องถิ่นให้มาก จึงนำมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรนำมาเพิ่มในรายวิชาเพิ่มเติม  การเมืองการปกครองท้องถิ่น  ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น  ภูมิปัญญาท้องถิ่น หนังตะลุง มโนห์รา และการแทงหยวก  เป็นต้น
ผู้สัมภาษณ์  :  การพัฒนาหลักสูตรจากหลักสูตรแกนกลาง ’  ๕๑ สู่หลักสูตรสถานศึกษา  โรงเรียนของท่านมีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรอะไร  อย่างไร  แต่ละกระบวนการมีอุปสรรคหรือปัญหาอะไร และแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปสรรคของการพัฒนาหลักสูตร ใช้งบประมาณในการพัฒนาหลักสูตรค่อนข้างเยอะ การแก้ไขปัญหา จัดสรรงบประมาณในการพัฒนาหลักสูตร เช่น สถานที่  อาหาร บุคลากร เป็นต้น
ผู้สัมภาษณ์  :   ในแต่ละชั้นปี มีรายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอะไรบ้างที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียน และจุดเน้นของสถานศึกษาที่จัดรายวิชาเพิ่มเติม  ? ผู้ให้สัมภาษณ์  : นอกจากภาษาต่างประเทศแล้วยังมีภาษาญี่ปุ่น ก่อนหน้านี้มีการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส ปีหน้ามีแนวโน้มจะเปิดสอนวิชาภาษาจีน หัวหน้ากลุ่มสาระมีหลักสูตร  4   เล่ม และมีหน้าที่อนุมัติแผนการเรียนรู้ คณะกรรมการผู้ปกครองแสดงความคิดเห็น  ให้เด็กเรียนเกี่ยวกับท้องถิ่นให้มาก  จึงนำมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรนำมาเพิ่มในรายวิชาเพิ่มเติม  การเมืองการปกครองท้องถิ่น  ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น  ภูมิปัญญาท้องถิ่น หนังตะลุง มโนห์รา และการแทงหยวก
รายชื่อวิชาตามสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ  ( ม . ต้น ) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ ภาษาอังกฤษอ่าน - เขียน ภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นเมืองสงขลา หลักภาษาอังกฤษ ๑ หลักภาษาอังกฤษ ๒ ภาษาญี่ปุ่น ๑ ภาษาญี่ปุ่น ๒ ภาษาญี่ปุ่น ๓ ภาษาญี่ปุ่น ๔ ภาษาญี่ปุ่น ๕ ภาษาญี่ปุ่น ๖ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น  ๒ ไวยากรณ์พื้นฐาน ๑ ไวยากรณ์พื้นฐาน ๒
รายชื่อวิชาตามสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ  ( ม . ปลาย ) ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนา ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนา ๒ การอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์ ๑ การอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์ ๒ หลักภาษาอังกฤษ ๑ หลักภาษาอังกฤษ ๒
ผู้สัมภาษณ์  :  นอกจากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ด้านและสมรรรถนะสำคัญทั้ง ๕ ด้านแล้ว หลักสูตรสถานศึกษาได้เพิ่มคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะสำคัญเพิ่มเติมหรือไม่ ผู้ให้สัมภาษณ์  : โรงเรียนจะแบ่งหลักออกเป็นกลุ่มสาระ   แล้วแต่ว่ากลุ่มสาระไหนจะเพิ่มเติมหรือแก้ไขอย่างไร  เช่น กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ  จะเพิ่มคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่ม อีก ๔ ด้าน
ผู้สัมภาษณ์   :  โรงเรียนจัดกิจกรรมหรือโครงการต่างๆอะไรบ้างที่เป็นการส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน ผู้ให้สัมภาษณ์  :   จัดกิจกรรมให้หลากหลาย  นักเรียนถนัดด้านใดก็จะจัดให้ตามกิจกรรมตามความถนัด เช่น เยาวชนแกนนำ ผู้สัมภาษณ์  :  โรงเรียนมีนโยบายอย่างไรในการนำหลักสูตรไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ผู้ให้สัมภาษณ์  :  หลักสูตรปรับทุกปี  หลักสูตรแต่ละเล่มอาจเหมาะกับแต่ละปีหลักสูตรปีนี้ อาจไม่เหมาะกับปีหน้า แนวโน้มการศึกษาหรือการศึกษาต่อของเด็กเป็นยังไง จัดตามความพร้อมของบุคลากร ศึกษาข้อมูลเดิม และข้อมูลใหม่
ผู้สัมภาษณ์  :  หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนท่านมีกระบวนการประเมินผลหลักสูตรอย่างไร  ? ผู้ให้สัมภาษณ์  :  ครูผู้สอนประเมินผลได้ดีที่สุด หลักสูตรของแต่ละปีมีอุปสรรคอะไรในที่ประชุมจะช่วยกันศึกษาแก้ปัญหา ครูเป็นผู้ที่แก้ปัญหาได้ดีที่สุด ผู้ให้สัมภาษณ์  :  ข้อคิดสำหรับนักศึกษาครูเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร  ? ผู้ให้สัมภาษณ์  :  การพัฒนาหลักสูตรในหลักสูตรแกนกลางเป็นเกณฑ์ความพร้อมทางศักยภาพสิ่งแวดล้อม ความสามารถของครูแต่ละคนจะต่างกัน ดูบริบทของโรงเรียน วิสัยทัศน์ เป้าหมาย นโยบาย เรานำมาทำหลักสูตรมานำไปใช้และประเมินผล บางวิชาไม่เปลี่ยนแปลงเพราะมันตายตัว ติดตามความเคลื่อนไหวของข้อมูล

More Related Content

What's hot

รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนPuhsadee Chaiburee
 
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมWatcharasak Chantong
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาWatcharasak Chantong
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของครูและนักเร...
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง	ของครูและนักเร...การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง	ของครูและนักเร...
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของครูและนักเร...phrimphrao warapanpipit
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyandnavaroj
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญkruprang
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4Pochchara Tiamwong
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2warut phungsombut
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนarunrat bamrungchit
 

What's hot (17)

รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
 
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของครูและนักเร...
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง	ของครูและนักเร...การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง	ของครูและนักเร...
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของครูและนักเร...
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
 

Viewers also liked

эртний хятадын си онон
эртний хятадын си ононэртний хятадын си онон
эртний хятадын си ононOnon Battsengel
 
Prezentácia kst elan
Prezentácia kst elanPrezentácia kst elan
Prezentácia kst elanPavel pavel
 
Shakopee Fire station - city council slides
Shakopee Fire station - city council slidesShakopee Fire station - city council slides
Shakopee Fire station - city council slidesMike Haeg
 
CSENDÉLET STILL LIFE
CSENDÉLET  STILL LIFECSENDÉLET  STILL LIFE
CSENDÉLET STILL LIFEPICSTOCK
 
отгонтуяа
отгонтуяаотгонтуяа
отгонтуяаchuukaa
 
Martinské Hole Kst Elan
Martinské  Hole    Kst ElanMartinské  Hole    Kst Elan
Martinské Hole Kst ElanPavel pavel
 
Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)
Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)
Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)鋒博 蔡
 
M6science2552
M6science2552M6science2552
M6science2552kowasint4
 
EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...
EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...
EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...EWMAConference
 
Introduction to-ebm-2010-03-1
Introduction to-ebm-2010-03-1Introduction to-ebm-2010-03-1
Introduction to-ebm-2010-03-1Nazia Peer
 
Tsaxim test 1
Tsaxim test 1Tsaxim test 1
Tsaxim test 1school14
 

Viewers also liked (19)

эртний хятадын си онон
эртний хятадын си ононэртний хятадын си онон
эртний хятадын си онон
 
Prezentácia kst elan
Prezentácia kst elanPrezentácia kst elan
Prezentácia kst elan
 
Ghs 2 1
Ghs 2 1Ghs 2 1
Ghs 2 1
 
Buscando-me
Buscando-meBuscando-me
Buscando-me
 
Galia harel
Galia harelGalia harel
Galia harel
 
Shakopee Fire station - city council slides
Shakopee Fire station - city council slidesShakopee Fire station - city council slides
Shakopee Fire station - city council slides
 
CSENDÉLET STILL LIFE
CSENDÉLET  STILL LIFECSENDÉLET  STILL LIFE
CSENDÉLET STILL LIFE
 
отгонтуяа
отгонтуяаотгонтуяа
отгонтуяа
 
Analise ogx.cozer
Analise ogx.cozerAnalise ogx.cozer
Analise ogx.cozer
 
Martinské Hole Kst Elan
Martinské  Hole    Kst ElanMartinské  Hole    Kst Elan
Martinské Hole Kst Elan
 
Ensayo
EnsayoEnsayo
Ensayo
 
EPR2014: Příležitosti pro obce (H. Gavlasová)
EPR2014: Příležitosti pro obce (H. Gavlasová)EPR2014: Příležitosti pro obce (H. Gavlasová)
EPR2014: Příležitosti pro obce (H. Gavlasová)
 
Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)
Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)
Dr. irene souter pgd stickler foundation (2)
 
M6science2552
M6science2552M6science2552
M6science2552
 
EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...
EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...
EWMA 2013 - Ep494 - District nurses experiences of wound management in primar...
 
Introduction to-ebm-2010-03-1
Introduction to-ebm-2010-03-1Introduction to-ebm-2010-03-1
Introduction to-ebm-2010-03-1
 
Ee36793799
Ee36793799Ee36793799
Ee36793799
 
Delhi metro
Delhi metroDelhi metro
Delhi metro
 
Tsaxim test 1
Tsaxim test 1Tsaxim test 1
Tsaxim test 1
 

Similar to เทศบาล5

การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทองneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีcomed
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓weskaew yodmongkol
 
ปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบล
ปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบลปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบล
ปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบลPattama Poyangyuen
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาAssaneeongsara
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยBSOOREETA
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 

Similar to เทศบาล5 (20)

996 File
996 File996 File
996 File
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
ปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบล
ปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบลปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบล
ปากคลอง โรงเรียนดีศรีตำบล
 
Libary
LibaryLibary
Libary
 
libary
libarylibary
libary
 
Libary
LibaryLibary
Libary
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 

เทศบาล5

  • 1.  
  • 2.  
  • 3. ผลการศึกษา ผู้สัมภาษณ์ : ประวัติความเป็นมาและข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ? ผู้ให้สัมภาษณ์ : สำหรับประวัติของโรงเรียนเทศบาล๕ ( วัดหัวป้อมนอก ) ปัจจุบันตั้งอยู่ริมถนนริมทางรถไฟ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๓ งาน ประกาศตั้งเป็นโรงเรียนเทศบาล๕ ( วัดหัวป้อมนอก ) สังกัดเทศบาลนครสงขลา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๖ โดยการริเริ่มและดำเนินการของนายนิพนธ์ บุญญามณี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา และนายอุทิศ ชูช่วย ได้เปิดทำการสอนในช่วงชั้นที่๓ ( ม . ๑ - ม . ๓ ) นักเรียนทั้งหมด ๙๐๐ คน มีครู ๕๑ คน นักการ ๓ คน โดยมีนายนิคม จันพุ่ม เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน ดำเนินการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๕๒
  • 4. ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนเทศบาล๕ ( วัดหัวป้อมนอก ) โรงเรียนเทศบาล๕ ( วัดหัวป้อมนอก ) เป็นโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครสงขลา สำนักบริหารการศึกษาท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เป็นโรงเรียนขยายโอกาสจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวนนักเรียนรวมทั้งสิ้น ๑ , ๗๗๐ คน มีจำนวนอาคารเรียน ๕ อาคารเรียน จำนวน ๕๖ ห้องเรียน ๓๗ ห้องพิเศษ
  • 5. ผู้สัมภาษณ์ : ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดมุ่งหมายของโรงเรียน มีอะไรบ้าง ? ผู้ให้สัมภาษณ์ : ปรัชญาของโรงเรียน ปญฺญาย ปริสุชฺฌติ คนย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา วิสัยทัศน์ โรงเรียนเทศบาล๕ ( วัดหัวป้อมนอก ) สังคมแห่งการเรียนรู้คู่คุณธรรมที่มีคุณธรรม คำขวัญ คุณธรรมเด่น เน้นวิชาการ เชี่ยวชาญกิจกรรม นำประสานชุมชน
  • 6. โรงเรียนเทศบาล 5 ( วัดป้อมนอก ) ใช้หลักสูตร 2 เล่ม คือ หลักสูตรพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ม .1-4 ) หลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ( ม .5-6 ) หลักสูตรของโรงเรียนเทศบาล 5 เป็นจุดแข็ง ครูทำหลักสูตรกันเอง ครูจะมีหลักสูตรคนละเล่ม ครูที่สอน ม .1-6 จะถือหลักสูตร 2 เล่ม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ม .1-4 ) หลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช พุธทศักราช 2544 หลักสูตร หลักสูตรของโรงเรียนเทศบาล 5 เป็นจุดแข็ง ครูทำหลักสูตรกันเอง
  • 7. ผู้สัมภาษณ์ : บริบท / ลักษณะของชุมชนหรือท้องถิ่นที่อยู่รอบบริเวณโรงเรียนเป็นอย่างไร และมีส่วนสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรอย่างไรบ้าง ? ผู้ให้สัมภาษณ์ : สภาพชุมชนโดยรอบของโรงเรียนเป็นชุมชนแออัด ได้แก่ ชุมชนหัวป้อม ชุมชนวังเขียว ชุมชนริมทางรถไฟนอก ชุมชนวชิรา ประชากรในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน มีอาชีพรับจ้าง อาชีพประมง และอื่นๆ นับถือศาสนาพุทธ ประมาณร้อยละ๙๐ และนับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ๑๐ ชุมชนผู้ปกครองและคณะกรรมการแสดงความคิดเห็น ข้อคิดเห็น ให้เด็กเรียนเกี่ยวกับท้องถิ่นให้มาก จึงนำมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรนำมาเพิ่มในรายวิชาเพิ่มเติม การเมืองการปกครองท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น หนังตะลุง มโนห์รา และการแทงหยวก เป็นต้น
  • 8.
  • 9. อุปสรรคของการพัฒนาหลักสูตร ใช้งบประมาณในการพัฒนาหลักสูตรค่อนข้างเยอะ การแก้ไขปัญหา จัดสรรงบประมาณในการพัฒนาหลักสูตร เช่น สถานที่ อาหาร บุคลากร เป็นต้น
  • 10. ผู้สัมภาษณ์ : ในแต่ละชั้นปี มีรายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอะไรบ้างที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียน และจุดเน้นของสถานศึกษาที่จัดรายวิชาเพิ่มเติม ? ผู้ให้สัมภาษณ์ : นอกจากภาษาต่างประเทศแล้วยังมีภาษาญี่ปุ่น ก่อนหน้านี้มีการสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส ปีหน้ามีแนวโน้มจะเปิดสอนวิชาภาษาจีน หัวหน้ากลุ่มสาระมีหลักสูตร 4 เล่ม และมีหน้าที่อนุมัติแผนการเรียนรู้ คณะกรรมการผู้ปกครองแสดงความคิดเห็น ให้เด็กเรียนเกี่ยวกับท้องถิ่นให้มาก จึงนำมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรนำมาเพิ่มในรายวิชาเพิ่มเติม การเมืองการปกครองท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น หนังตะลุง มโนห์รา และการแทงหยวก
  • 11. รายชื่อวิชาตามสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ( ม . ต้น ) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ ภาษาอังกฤษอ่าน - เขียน ภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นเมืองสงขลา หลักภาษาอังกฤษ ๑ หลักภาษาอังกฤษ ๒ ภาษาญี่ปุ่น ๑ ภาษาญี่ปุ่น ๒ ภาษาญี่ปุ่น ๓ ภาษาญี่ปุ่น ๔ ภาษาญี่ปุ่น ๕ ภาษาญี่ปุ่น ๖ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น ๒ ไวยากรณ์พื้นฐาน ๑ ไวยากรณ์พื้นฐาน ๒
  • 12. รายชื่อวิชาตามสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ( ม . ปลาย ) ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนา ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนา ๒ การอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์ ๑ การอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์ ๒ หลักภาษาอังกฤษ ๑ หลักภาษาอังกฤษ ๒
  • 13. ผู้สัมภาษณ์ : นอกจากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ด้านและสมรรรถนะสำคัญทั้ง ๕ ด้านแล้ว หลักสูตรสถานศึกษาได้เพิ่มคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะสำคัญเพิ่มเติมหรือไม่ ผู้ให้สัมภาษณ์ : โรงเรียนจะแบ่งหลักออกเป็นกลุ่มสาระ แล้วแต่ว่ากลุ่มสาระไหนจะเพิ่มเติมหรือแก้ไขอย่างไร เช่น กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ จะเพิ่มคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่ม อีก ๔ ด้าน
  • 14. ผู้สัมภาษณ์ : โรงเรียนจัดกิจกรรมหรือโครงการต่างๆอะไรบ้างที่เป็นการส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน ผู้ให้สัมภาษณ์ : จัดกิจกรรมให้หลากหลาย นักเรียนถนัดด้านใดก็จะจัดให้ตามกิจกรรมตามความถนัด เช่น เยาวชนแกนนำ ผู้สัมภาษณ์ : โรงเรียนมีนโยบายอย่างไรในการนำหลักสูตรไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ผู้ให้สัมภาษณ์ : หลักสูตรปรับทุกปี หลักสูตรแต่ละเล่มอาจเหมาะกับแต่ละปีหลักสูตรปีนี้ อาจไม่เหมาะกับปีหน้า แนวโน้มการศึกษาหรือการศึกษาต่อของเด็กเป็นยังไง จัดตามความพร้อมของบุคลากร ศึกษาข้อมูลเดิม และข้อมูลใหม่
  • 15. ผู้สัมภาษณ์ : หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนท่านมีกระบวนการประเมินผลหลักสูตรอย่างไร ? ผู้ให้สัมภาษณ์ : ครูผู้สอนประเมินผลได้ดีที่สุด หลักสูตรของแต่ละปีมีอุปสรรคอะไรในที่ประชุมจะช่วยกันศึกษาแก้ปัญหา ครูเป็นผู้ที่แก้ปัญหาได้ดีที่สุด ผู้ให้สัมภาษณ์ : ข้อคิดสำหรับนักศึกษาครูเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร ? ผู้ให้สัมภาษณ์ : การพัฒนาหลักสูตรในหลักสูตรแกนกลางเป็นเกณฑ์ความพร้อมทางศักยภาพสิ่งแวดล้อม ความสามารถของครูแต่ละคนจะต่างกัน ดูบริบทของโรงเรียน วิสัยทัศน์ เป้าหมาย นโยบาย เรานำมาทำหลักสูตรมานำไปใช้และประเมินผล บางวิชาไม่เปลี่ยนแปลงเพราะมันตายตัว ติดตามความเคลื่อนไหวของข้อมูล