SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
คู่มือการฝึกอบรม
การประเมินความยั่งยืนด้านการเงินเพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
---------------------------------------
แบบประมาณความยั่งยืนด้านการเงิน : สาหรับพื้นที่คุ้มครองทั่วประเทศ
ผู้เขียน : แอนดรูว์ บอวาร์นิก (2008)
สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
หมายเหตุ : เอกสารฉบับนี้สะท้อนความคิดเห็นของผู้แต่งเท่านั้น ยูเอ็นดีพีไม่จาเป็นต้องผูกพันตามความคิดเห็นดังกล่าว เอกสารนี้อยู่ในขั้นตระเตรียม หากมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะประการใด โปรดส่งไปที่ผู้แต่งโดยตรง
ตามที่อยู่อีเมล์นี้ andrew.bovarnick@undp.org.
สารบัญ
ข้อความเบื้องต้น
แบบประเมินด้านการเงิน ส่วนที่ 1 – สถานะทางการเงินโดยรวม
แบบประเมินด้านการเงิน ส่วนที่ 2 – การประเมินองค์ประกอบด้านต่างๆ ของระบบการเงิน
แบบประเมินด้านการเงิน ส่วนที่ 3 – การให้คะแนนและขั้นตอนการวัดผล
เอกสารนี้สามารถดาวน์โหลดได้ที่:
http://www.undp.org/gef/05/kmanagement/newpublication.htm
- 1 -
ข้อความเบื้องต้น
บริบท
ระบบการเงินเป็นปัจจัยสาคัญที่ใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่งและทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ปรากฏว่าพื้นที่คุ้มครองใน
ประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้มีการพัฒนาระบบเงินงบประมาณให้มีความยั่งยืนทั้งในระดับพื้นที่แต่ละแห่งและทั้งระบบและมีประสิทธิภาพมาแล้ว
ด้วยเหตุผลนี้สานักงาน UNDP จึงมีความต้องการที่จะให้หน่วยงานหรือสถาบันที่รับผิดชอบบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีการพัฒนาความยั่งยืนของระบบ
การเงินของพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ที่ยังมิได้ดาเนินการให้มีการดาเนินงานระบบการเงินดังกล่าวให้อยู่ในระยะยาวและเป็นระบบ
“ความยั่งยืนของระบบการเงิน” ในพื้นที่คุ้มครอง หมายถึง ความสามารถของรัฐบาลในการแบกรับค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง คาว่า
“ระบบ” ในเอกสารฉบับนี้ จึงหมายถึงการบริหารพื้นที่คุ้มครองทั้งหมดทั้งในระดับท้องที่และระดับส่วนกลาง หรือระดับชาติ และประเด็นที่สาคัญ
ที่จะต้องนามาพิจารณา คือ “อุปทาน (Supply)” เป็นการแสวงหารายได้ให้เพิ่มมากขึ้นสาหรับการจัดการพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ และ “อุปสงค์ (Demand)”
ซึ่งเป็นสิ่งท้าทายสาหรับการบริหารจัดการตามความต้องการด้านการเงิน (ทั้งในระดับพื้นที่และส่วนกลางหรือระดับชาติ) ความยั่งยืนของระบบการเงิน
เป็นสิ่งที่ต้องพิจารณาทั้งสองประเด็นในเรื่องของอุปทานและอุปสงค์ดังกล่าวแล้ว
องค์ประกอบที่สาคัญในการวางแผนด้านการเงิน คือ การค้นหาว่าค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง และทาอย่างไรจึงจะแบกรับค่าใช้จ่าย
ดังกล่าวได้แผนงานการเงินที่ดีจะทาให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถตัดสินใจในการบริหารการเงินได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น การจัดสรรเงินงบประมาณ
เพื่อให้เหมาะสมกับลาดับความจาเป็นตามสถานการณ์ และการหาวิธีการลดค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสม ตลอดจนจัดการแก้ไขปัญหาสภาพคล่องทางการเงินซึ่ง
อาจจะเกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินงานได้
- 2 -
นอกจากเรื่องค่าใช้จ่ายกับรายได้แล้ว ประเด็นที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่จะต้องพิจารณาคือ ความยั่งยืนทางการเงิน กับ การบริหารจัดการองค์กร โดยทั่วไป
ระบบการเงินและการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมักจะมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้องและรับผิดชอบร่วมกัน ดังนั้นบทบาทของแต่ละหน่วยงานจะต้องมี
ความชัดเจนและมีเอกภาพ ทั้งนี้เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการวางแผนด้านการเงินและการจัดสรรงบประมาณ โดยทั่วไปแล้วภายในองค์กร มักจะขาดกลไกที่
โปร่งใสและความมีประสิทธิภาพในการจัดเก็บ และการบริหารจัดการเงินค่าธรรมเนียม
ดังนั้น สานักงานUNDP จึงได้กาหนดรูปแบบประเมินนี้ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยเหลือคณะทางานและรัฐบาลในการตรวจสอบความก้าวหน้าในการ
ดาเนินงาน เพื่อให้ระบบพื้นที่คุ้มครองมีความยั่งยืนทางการเงิน แบบประเมินนี้ องค์กร UNDPได้ออกแบบมาสาหรับการประเมินพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ ไม่
รวมระดับพื้นที่ แต่สามารถนาไปใช้ได้กับพื้นที่เฉพาะได้ กล่าวคือ
• กิจกรรมหลายอย่างจะต้องดาเนินการในระดับชาติ เช่น การปฏิรูปนโยบาย การจัดการกองทุนและการกาหนดค่าธรรมเนียมการเข้าไปใช้พื้นที่
คุ้มครอง เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ล้วนมีความเกี่ยวข้องพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ
• กิจกรรมหลายอย่างจะต้องอาศัยความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆของรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงการคลัง การที่จะได้รับ
ความร่วมมือและการสนับสนุนดังกล่าวต้องอาศัยระบบการเงินและการบริหารจัดการในส่วนกลาง
• พื้นที่คุ้มครองหลายๆ แห่งมักจะจัดกิจกรรมที่คล้ายคลึงกัน เช่น การฝึกอบรม การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ การจัดการอย่างมี
ส่วนร่วม หรือการติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงาน เป็นต้น เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณจึงให้หน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้ดาเนินการ
• การระดมทุนต่างๆ ถ้าหากว่ามีการขับเคลื่อนการดาเนินงานในระดับส่วนกลางจะได้ผลกว่า
• การวางแผนยุทธศาสตร์การจัดการทั้งระบบทาให้มีการโยกย้ายเงินอุดหนุนระหว่างพื้นที่คุ้มครองสามารถดาเนินได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
• ระบบการกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมเข้าใช้บริการพื้นที่คุ้มครองมีเอกภาพเพื่อให้มีมาตรฐานการดาเนินงาน
ระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีการพิจารณาในสองระดับ ระดับแรก คือ สถานะทางการเงินของระบบของพื้นที่คุ้มครอง หมายถึงว่า ขณะนี้พื้นที่
คุ้มครองได้รับงบประมาณมากเท่าไร และจะต้องขอเพิ่มอีกเท่าไร เพื่อที่จะให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น ปัจจัยที่นามาใช้ในการพิจารณา ได้แก่
ค่าใช้จ่ายประจาปี ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ความต้องการด้านการลงทุน รายได้จากค่าธรรมเนียมต่างๆ ฯลฯ เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยเหล่านี้ จะทาให้สรุปได้
ว่ามีช่องว่างทางการเงินที่ใดบ้างและมากน้อยเพียงใด ตลอดจนการวางเป้าหมายทางการเงินเพื่อเพิ่มงบประมาณและค่าใช้จ่าย และ/หรือการลดค่าใช้จ่ายในบาง
กิจกรรมเพื่อทาให้เกิดความสมดุลทางด้านงบประมาณ
- 3 -
ระดับต่อมาคือ หากมีการพิจารณาสถานะของเงินงบประมาณของพื้นที่คุ้มครอง ก็ไม่อาจสะท้อนภาพที่แท้จริงของโครงสร้างทางการเงินที่มีอยู่ได้ รวมทั้งและ
สภาพความเข้มแข็งและทิศทางในอนาคตของระบบการเงินทั้งหมด บางปีอาจจะมีการใช้จ่ายสูงมากเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากผู้บริจาคให้ หรือมีเงินทุน
สนับสนุนเข้ามา ทั้งนี้อาจจะได้รับจากการบริการของระบบนิเวศ หรือจานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สถานะทางการเงินของปีนั้นๆ ไม่ได้
รับประกันว่าสถานะทางการเงินของพื้นที่คุ้มครองในปีถัดไปจะมั่นคงเหมือนเดิม มีการประเมินว่าระบบของพื้นที่คุ้มครองกาลังดาเนินการไปสู่ความยั่งยืนทาง
การเงินหรือไม่ จะต้องมีการพิจารณาตรวจสอบและวิเคราะห์จากโครงสร้างพื้นฐานที่ส่งเสริมให้ระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองสามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่องใน
ระยะยาวได้ดังนั้นระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองจะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งจะปรากฏให้เห็นอยู่บ่อยๆ และที่พบเห็นได้บ่อยๆ และมีความก้าวหน้าใน
หลายประเทศ
วัตถุประสงค์
แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินสาหรับพื้นที่คุ้มครองจัดทาขึ้นเพื่อช่วยให้รัฐบาลแต่ละประเทศ พนักงานเจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครอง ผู้สนับสนุนและ
หน่วยงานองค์กรพัฒนาภาคเอกชน สามารถตรวจสอบและบันทึกข้อมูลสาคัญๆ เกี่ยวกับระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองได้อย่างครบถ้วน โดยเฉพาะเรื่อง
ค่าใช้จ่ายและโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงสถานะหรือความเข้มแข็งทางการเงิน พร้อมกับประเมินว่าระบบการเงินดังกล่าวจะมี
ความยั่งยืนทางการเงินที่ดีขึ้นในระยะยาวหรือไม่ เพียงใด ถึงแม้ว่าแบบประเมินได้รับการออกแบบสาหรับระบบพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ แต่ก็สามารถ
นาไปใช้กับพื้นที่ระดับอื่นๆ ได้เช่น ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด หรือระดับท้องถิ่น เป็นต้น
แบบประเมินส่วนหนึ่งจะบันทึกรายละเอียดสถานะทางการเงินตลอดจนการรับ-จ่ายของเงินทุนในระบบงบประมาณของพื้นที่คุ้มครอง อย่างไรก็ตามแบบ
ประเมินได้รับการการออกแบบมาเพื่อการตรวจสอบความก้าวหน้าของระบบการเงินในพื้นที่คุ้มครอง รวมถึงปัจจัยพื้นฐานที่จะนาไปสู่ความคล่องตัวทาง
การเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองในอนาคต ดังนั้นแบบประเมินนี้จึงมีโครงสร้างตามองค์ประกอบของระบบการเงินตามที่ได้กาหนดไว้
โครงสร้างดังกล่าวจะเป็นข้อเสนอแนะ ถึงองค์ประกอบที่สาคัญของระบบการเงิน การประเมินในแต่ละองค์ประกอบที่สาคัญมีอะไรบ้าง จะช่วยให้ผู้รับผิดชอบ
แต่ละประเทศสามารถสามารถพิจารณาได้ว่า พื้นที่คุ้มครองใดในระบบการบริหารด้านการเงินจาเป็นต้องได้รับการปรับปรุงเพื่อให้ระบบการเงินมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- 4 -
นอกจากนี้คาถามที่เกี่ยวกับข้อมูลด้านการเงินสาหรับการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง จะช่วยให้การจัดการพื้นที่คุ้มครองในแต่ละประเทศประเมิน
ความสามารถของกลไกในการจัดเก็บรายได้ และการค้นหาข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นต่อระบบการเงินต่อไป หากไม่มีข้อมูลดังกล่าว หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่
คุ้มครอง จะต้องเร่งดาเนินการค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องดังกล่าวโดยด่วน ถึงแม้ว่าแบบประเมินจะเน้นถึงความสาคัญของการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่าง
ประหยัด แต่ไม่ได้ให้คาชี้แนะเรื่องการใช้เงินเป็นการเฉพาะเจาะจงแต่อย่างใด สานักงาน UNDP มีแผนที่จะจัดพัฒนาคาแนะนาเรื่องการใช้จ่ายเงินโดยเฉพาะที่
แยกต่างหากในอนาคตได้
โครงสร้าง
แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินนี้แบ่งออกเป็นสามส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1 – ภาพรวมของสถานะทางการเงินของพื้นที่คุ้มครอง รวมถึงข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครอง และการวิเคราะห์ทางการเงิน
ของระบบพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ
ส่วนที่ 2 – การประเมินองค์ประกอบด้านต่างๆของระบบการเงิน
ส่วนที่ 3 – หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ส่วนที่ 1 : ต้องอาศัยข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย รายได้และช่องว่างทางการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองทั้งในปีปัจจุบันและการคาดคะเนสาหรับปี
ต่อๆ ไป การวิเคราะห์หาจานวนเงินที่เป็นประโยชน์สาหรับระบบพื้นที่คุ้มครอง และชี้ให้เห็นถึงข้อมูลทางการเงินที่จาเป็นสาหรับผู้ทาหน้าที่วาง
แผนการดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครอง สาหรับการกาหนดเป้ าหมายด้านการเงินและจานวนของเงินทุนเพิ่มเติมที่จาเป็น เพื่อประสิทธิภาพในการ
บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง เนื่องจากแต่ละประเทศมีระบบบัญชีงบประมาณที่แตกต่างกัน เพราะฉะนั้นแต่ละประเทศจึงต้องการข้อมูลด้าน
การเงินไม่เหมือนกัน อย่างไรก็ตามหากประเทศใดไม่มีข้อมูลด้านการเงินที่ชัดเจน ภารกิจแรกที่ผู้มีหน้าที่ในการบริหารพื้นที่คุ้มครองควรจะทาคือ
การค้นหาและรวบรวมข้อมูลทั้งหมด
- 5 -
ส่วนที่ 2 : แบบประเมินจะแบ่งย่อยออกเป็นสามส่วนที่จาเป็นสาหรับการบริหารระบบการเงินทั้งในระดับพื้นที่และทั้งระบบประกอบดัวย (2.1) บริบทด้าน
กฎหมาย กฎ ระเบียบและองค์กรต่างๆ / (2.2) การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการบริหารจัดการพื้นที่
คุ้มครองให้มีประสิทธิภาพ / (2.3) เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการสร้างรายได้
- 6 -
องค์ประกอบที่ 2 – การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการงบประมาณอย่างประหยัด
การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณ แผนทางการเงินและแผนทางบัญชี เหล่านี้ล้วนเป็นเครื่องมือสาคัญที่ใช้ในการบริหารจัดการอย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและสม่าเสมอ การวางแผนการเงินที่มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ในเรื่องไม่ใช่
เฉพาะรายรับแต่เพียงอย่างเดียว แต่ต้องอาศัยความรู้ด้านค่าใช้จ่ายด้วย รูปแบบค่าใช้จ่ายและความจาเป็นด้านการลงทุน ทางเลือกสาหรับการรักษา
สมดุลระหว่างรายรับกับรายจ่าย หมายความรวมถึงการเพิ่มรายได้และการควบคุมค่าใช้จ่ายด้วย ระบบการเงินที่ดีต้องเอื้ออานวยให้หัวหน้าพื้นที่
คุ้มครองสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารการเงินได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น การจัดสรรค่าใช้จ่ายให้สอดคล้องตามลาดับความจาเป็นในการ
บริหารงานหรือกิจกรรม การค้นหาวิธีลดค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสม และการแก้ไขปัญหาเรื่องสภาพคล่องทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ยิ่งไปกว่านั้นแผน
ยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณควรที่จะได้มีปรับปรุงให้ทันสมัย ที่เอื้ออานวยต่อการระดมเงินทุน เพราะผู้สนับสนุนและรัฐบาลมีความรู้สึกมั่นใจว่าเงินทุน
ที่อนุมัติมาให้นั้น จะถูกนาไปใช้บริหารจัดการระบบพื้นที่คุ้มครองอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบที่ 1 - บริบทด้านกฎหมาย กฎระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการสร้างระบบการเงินที่ยั่งยืนสาหรับพื้นที่คุ้มครอง
บริบทด้านกฎหมาย นโยบาย ระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง จะต้องระบุให้ชัดเจน ตลอดจนการ
วางแผนด้านการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างรายได้ การรักษาเงินรายได้ให้คงที่และการบริหารจัดการรายได้ให้เกิดประสิทธิภาพ เหล่านี้ก็ต้อง
ได้รับการระบุให้ชัดเจนเช่นกัน สิ่งที่ต้องอธิบายให้ชัดเจน คือ ความรับผิดชอบขององค์กร นอกจากนี้ยังต้องมีรายละเอียดด้านกฎหมายและนโยบายที่
เป็นไปได้ด้วย โครงสร้างการบริหารองค์กรจะต้องเอื้อต่อการใช้กลไกที่โปร่งใส ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพในการจัดสรรรายได้ การบริหารจัดการตลอดจน
การดาเนินงานจัดทาบัญชีรายรับรายจ่าย
- 7 -
ส่วนที่ 3 : หลักเกณฑ์การให้คะแนน แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินควรจัดทาทุกปี เพื่อจะได้ทราบว่าสถานการณ์ในพื้นที่คุ้มครองแต่ละปีมีการ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง ผลการประเมินในปีแรกจัดว่าเป็นฐานสาหรับเปรียบเทียบกับผลการประเมินในปีต่อๆ ไป และผลการเปรียบเทียบ
ระหว่างผลการประเมินในปีแรกกับปีต่อๆ ไป จะแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าของระบบพื้นที่คุ้มครองในแต่ละปี สรุปคะแนนทั้งหมดและผลการ
ประเมินคิดเป็นร้อยละที่ได้รับในแต่ละปีที่กาหนด ซึ่งผลคะแนนดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นว่าระบบพื้นที่คุ้มครองมีคะแนนที่คาดว่าเป็นไปได้
เท่าใด เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนจริงที่ได้รับ ตลอดจนแสดงผลเป็นร้อยละ เมื่อเวลาเปลี่ยนไปคะแนนก็ต้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย ถือว่าเป็น
หลักฐานที่มีน้าหนักหรือแสดงความก้าวหน้าของระบบการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองทั้งหมด
คะแนนรวมในส่วนที่ 2 ของแต่ละปีควรจะแยกตามองค์ประกอบแต่ละเรื่อง และผลรวมทั้งหมดขององค์ประกอบย่อย เพื่อที่จะแสดงได้เห็นภาพรวมของ
คะแนนทั้งหมดในระบบพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครองแต่ละประเภทมีรายละเอียดที่แตกต่างกัน องค์ประกอบบางอย่างอาจจะสาคัญกว่าองค์ประกอบอื่นๆ และ
อาจประสบความสาเร็จได้ยากกว่า สถานภาพอาจจะไม่เหมือนกันทุกประเภท ในกรณีเช่นนี้คณะทางานระดับชาติมีอิสระที่จะปรับระบบการให้คะแนนที่ใช้อยู่
และเปลี่ยนระบบการให้คะแนนของแต่ละองค์ประกอบให้เหมาะสมตามสถานภาพในแต่ละประเภท หากมีการปรับหรือเปลี่ยนในจุดใด ผู้จัดทาแบบประเมิน
ต้องทาหมายเหตุไว้ด้านล่าง ทั้งนี้การปรับหรือการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะต้องมีความโปร่งใส
องค์ประกอบที่ 3 – เครื่องมือสาหรับการจัดหาและการจัดสรรเงินรายได้
ระบบพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีการจัดลาดับความสาคัญให้มีการใช้ประโยชน์ตามกลไกด้านการเงินทั้งที่มีอยู่แล้วและอาจจะเกิดมีขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ขึ้นอยู่
กับเงื่อนไขลาดับความจาเป็นด้านการบริหารจัดการ กลไกที่สาคัญอีกประการหนึ่ง คือ การพยายามที่จะหาแหล่งรายได้ให้มีความหลากหลายเพิ่มขึ้น
เพื่อลดความเสี่ยงหรือความอ่อนไหวที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ตลอดจนลดการพึ่งพางบประมาณของรัฐบาลที่มีอยู่อย่างจากัด แหล่งรายได้ของระบบ
พื้นที่คุ้มครองอาจจะรวมถึงแหล่งเงินทุน แหล่งรายได้(เช่น ค่าธรรมเนียมที่เก็บจากนักท่องเที่ยว) และแหล่งเงินทุนใหม่ๆ เช่น สัญญาสัมปทานด้านการ
ท่องเที่ยว การบริการของระบบนิเวศ และค่าคาร์บอน เป็นต้น นอกจากนี้ในบางกรณียังหมายถึงการควบคุมการลดลงของแหล่งรายได้อย่างใกล้ชิดด้วย
- 8 -
นอกจากนี้หากว่าองค์ประกอบใด หรือองค์ประกอบย่อยข้อใดไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในประเทศนั้นๆ คณะทางานสามารถหยิบยกเอาองค์ประกอบหรือ
องค์ประกอบย่อยข้อนั้นออกพร้อมกับคะแนนสูงสุดขององค์ประกอบนั้นๆ ด้วย เมื่อยกออกไปแล้วคะแนนรวมทั้งหมดก็สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ต่อไป ด้วยเหตุนี้คะแนนรวมของแต่ละประเภทจึงอาจจะไม่เท่ากัน ดังนั้นคะแนนรายปีควรจะอยู่ในรูปร้อยละ (คะแนนจริงเปรียบเทียบกับคะแนน
ทั้งหมดที่เป็นไปได้)
ผลที่ได้รับในแต่ละองค์ประกอบควรจะอยู่ในรูปร้อยละ เพราะทาให้สามารถเปรียบเทียบความเหลื่อมล้าระหว่างองค์ประกอบแต่ละอย่างได้ และทาให้
ตระหนักว่าจุดด้อยหรือจุดเด่นในระบบการเงินของตัวเองอยู่ตรงส่วนใด หรือส่วนใดได้คะแนนต่า ควรจะยกขึ้นมากาหนดให้เป็นเป้ าหมายเพื่อการพัฒนาในปี
ต่อๆไป ทั้งในแง่การเข้าแทรกแซงและการเพิ่มขีดความสามารถ ผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปร้อยละจะช่วยให้เปรียบเทียบระหว่างประเภทของพื้นที่คุ้มครองได้ง่ายยิ่งขึ้o
แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
หมายเหตุ: กรุณากรอกแบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินของโครงการ โดยเน้นการปรับปรุงความยั่งยืนด้านการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่คุ้มครอง
ตามผลสัมฤทธิ์ที่ 1 และ 2 ของยุทธศาสตร์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ กองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF) จะใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นโดยคุณแอนดรูว์ โบวา
นิค (Andrew Bovarnick) จาก UNDP และได้ปรับปรุงให้เข้ากับหลักการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย
แบบสอบถามจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 – ภาพรวมของสถานะทางการเงินในพื้นที่คุ้มครอง รวมถึงข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครอง
และการวิเคราะห์ทางการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองระดับชาติ
ส่วนที่ 2 – การประเมินองค์ประกอบด้านต่างๆ ของระบบการเงิน
ส่วนที่ 3 – เกณฑ์การให้คะแนน
- 9 -
ส่วนที่ 1 : ภาพรวมของสถานะทางการเงินในพื้นที่คุ้มครอง
บรรยายลักษณะของระบบพื้นที่คุ้มครองว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง:
ลักษณะของพื้นที่คุ้มครองอาจจะพิจารณาตามบทนิยามขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN Categories
I-VI) ก็ได้อย่างไรก็ตาม หากกาหนดบทนิยามของระบบพื้นที่คุ้มครองแตกต่างไปจาก IUCN หรือมีระบบพื้นที่คุ้มครองอย่างอื่น ให้ใช้บทนิยามที่แสดง
ระบบพื้นที่คุ้มครองในประเทศนั้นๆ และเป็นระบบที่ใช้ในการให้คะแนนตามแบบประเมินนี้ได้ ตัวอย่าง เช่น พื้นที่คุ้มครองบางแห่งอาจจะมีทั้งประเภท
พื้นที่สาธารณะหรือพื้นที่ของเอกชนหรือมีทั้งสองประเภทรวมกันก็ได้ สิ่งสาคัญแต่ละประเภทต้องอธิบายและระบุหลักเกณฑ์ให้ชัดเจน คือ พื้นที่
คุ้มครองประเภทใดบ้างที่ถูกจัดให้อยู่ในระบบพื้นที่คุ้มครองตามบทนิยามที่กาหนดไว้และอยู่ในแผนวิเคราะห์ทางการเงิน บางประเทศอาจจะมีพื้นที่
อนุรักษ์ของเอกชนที่แยกต่างหากจากระบบพื้นที่คุ้มครองของประเทศ ในกรณีเช่นนี้ ผู้ดาเนินการจัดทาแผนอาจจะบันทึกข้อมูลส่วนนี้เป็นอีกประเภท
หนึ่งเพิ่มเติมจากตารางได้ (ภายใต้หัวข้ออื่นๆ) เพราะพื้นที่อนุรักษ์ของเอกชนไม่ได้จัดให้อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล
(นอกจากนี้ควรจะระบุข้อมูลเฉพาะของระบบพื้นที่คุ้มครองที่อาจจะส่งผลต่อระบบการเงินด้วยตามสมควร)
แนวทางการประเมินความยั่งยืนทางการเงินสาหรับพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยโดยมีการพิจารณาพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติ
วนอุทยาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ที่ประกาศใช้บังคับตามพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และพระราชบัญญัติสงวน
และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 (ทั้งนี้ไม่นับรวมพื้นที่อนุรักษ์ประเภทอื่น เช่น สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ พื้นที่ต้นน้าชั้น 1 และ 2 พื้นที่ป่าชายเลน
อนุรักษ์และพื้นที่สงวนชีวมณทล ซึ่งอาจจะอยู่ในการประกาศใช้บังคับของพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507)
- 10 -
ส่วนที่ 1.1 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับระบบพื้นที่คุ้มครอง
ระบบพื้นที่คุ้มครอง ระบบพื้นที่และระบบกลุ่มป่ า จานวนของพื้นที่
พื้นที่ทางบก
รวมทั้งสิ้น (ไร่)
พื้นที่ทางทะเล
รวมทั้งสิ้น (ไร่)
จานวนพื้นที่
รวมทั้งสิ้น (ไร่)
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
พื้นที่คุ้มครองรวมของประเทศ (ภายใต้การจัดการ
ของกรมอุทยานแห่งชาติฯ)
พื้นที่คุ้มครองระดับพื้นที่(อุทยานแห่งชาติ/เขต
รักษาพันธ์สัตว์ป่าฯ)
1. อุทยานแห่งชาติ
2. อุทยานแห่งชาติ
3. อุทยานแห่งชาติ
4. อุทยานแห่งชาติ
5. อุทยาแห่งชาติ
6. อุทยานแห่งชาติ
7. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
8. อุทยานแห่งชาติ
9. อุทยานแห่งชาติ
- 11 -
10. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
11. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
12. อุทยานแห่งชาติ
13. อุทยานแห่งชาติ
พื้นที่คุ้มครองระดับกลุ่มป่ า
อื่นๆ (โปรดระบุ) (วนอุทยาน หรือเขตห้ามล่า
สัตว์ป่า)
ส่วนที่ 1.2 การวิเคราะห์ด้านการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครอง
การวิเคราะห์ด้านการเงินของพื้นที่คุ้มครองระดับพื้นที่
หรือระดับกลุ่มป่ า - (เติมชื่อของพื้นที่คุ้มครอง หรือกลุ่มป่ า)
ปีฐาน
เพื่อเปรียบเทียบ
(บาท)
ปี ...............
(บาท)
ความคิดเห็น
(ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล และระดับความมั่นใจของข้อมูล)
(ต่า กลาง สูง)
ข้อมูลด้านการเงินที่มีอยู่
(1) งบประมาณโดยรวมที่รัฐบาลจัดสรรมาให้เป็นค่าใช้จ่ายในการ
บริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง (ยกเว้นเงินบริจาคและรายได้ที่เกิด
จากระบบพื้นที่คุ้มครอง)
• งบประมาณการบริหารจัดการ (เงินเดือน ค่าบารุงรักษา ค่า
น้ามันเชื้อเพลิง ฯ)
- 12 -
• งบประมาณการก่อสร้าง (ถนน ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
ฯลฯ)
(2) งบประมาณทั้งหมดที่รัฐบาลกลางจัดสรรมาให้เป็นค่าใช้จ่ายใน
การบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง (รวมทั้งค่าธรรมเนียมพิเศษ
เงินกองทุน เงินบริจาค เงินกู้และเครื่องมือทางการเงินประเภทอื่นๆ)
โปรดระบุแหล่งที่มาของเงินเป็นบาท โดยแยกแต่ละประเภท
• ยอดรวมของ ก + ข
ก. ช่องทางการเงินจากรัฐบาล – ยอดรวม
• รายได้ค่าธรรมเนียมจากการบริการของระบบนิเวศในพื้นที่
คุ้มครอง
อาทิเช่น รายได้ที่จ่ายนอกเหนือไปจากเพื่อการอนุรักษ์ หรือ
รายได้ค่าน้า ที่มีการลงทุนในพื้นที่คุ้มครอง
• กองทุนอนุรักษ์ ระบุหากมีเงินทุนมาเป็นปีแล้วและไม่ใช่จานวนที่นาไปใช้
เป็นต้นทุนการดาเนินงาน
• เงินบริจาค
• เงินยืม
• หนี้สิน
• อื่นๆ
ข. ช่องทางการเงินจากบุคคลที่สาม / การจัดหาจากองค์กร
ภาคเอกชน – ยอดรวม
• กองทุนอนุรักษ์
- 13 -
• เงินบริจาค
• เงินยืม
• หนี้สิน
• อื่นๆ
(3) จานวนเงินรายได้ประจาปี ที่จัดสรรให้แก่พื้นที่คุ้มครองทั่ว
ประเทศ โดยแบ่งย่อยตามประเภทของรายได้
ระบุมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่คุ้มครอง (หากมีผล
การศึกษาที่เกี่ยวข้อง)
- ยอดรวม
ก. ค่าธรรมเนียมการใช้สถานที่ที่เก็บจากนักท่องเที่ยว ระบุจานวนนักท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครองในปี
…………………….
- นักท่องเที่ยวต่างชาติ:
- นักท่องเที่ยวในประเทศ:
ระบุอัตราค่าธรรมเนียมเฉพาะ: ประมาณร้อยละของ
ค่าธรรมเนียมทั้งหมดโดยเลือกพื้นที่คุ้มครองที่ได้รับความ
นิยมมากที่สุด (บ่อยครั้งที่เปอร์เซ็นต์สูงสุดของค่าธรรมเนียม
อาจจะจัดสรรจากพื้นที่คุ้มครองหนึ่งหรือสองแห่ง
ข. ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและนันทนาการ (ค่า ระบุวัตถุประสงค์และระดับของค่าธรรมเนียม
- 14 -
เช่าพื้นที่ลานกางเต้นท์ ค่าเช่าเต้นท์ เป็นต้น)
ค. รายได้จากการให้สัมปทาน ระบุประเภทสัมปทาน
ง. การจ่ายค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) กรุณายกตัวอย่างประกอบ:
• ทรัพยากรน้า
• คาร์บอน
• ความหลากหลายทางชีวภาพ
จ. ค่าธรรมเนียมหรือค่าปรับที่ไม่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว อื่นๆ
(โปรดระบุประเภทของกลไกการสร้างรายได้ในแต่ละประเภท)
• ค่าธรรมเนียมจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
• สิทธิบัตรด้านพันธุกรรม
• ค่ามลพิษ
• การจาหน่ายของที่ระลึก
- 15 -
(4) ยอดรวมเปอร์เซ็นต์ของรายได้ที่เกิดจากการสะสมภายในระบบ
พื้นที่คุ้มครองและระดับพื้นที่ เพื่อการลงทุนหมุนเวียน (ยอดรวมจาก
ข้อ 3)
% ระบุว่ามีรายได้ที่ได้รับประจาปีที่มีการสะสมโดยตรงภายใน
ระบบพื้นที่คุ้มครองหรือระดับพื้นที่นั้นๆ หรือถูกส่งไป
ส่วนกลางและส่งกลับมาที่ในระบบพื้นที่คุ้มครองหรือระดับ
พื้นที่นั้นๆ หรือไม่
(5) ยอดรวมด้านการเงินที่มีอยู่สาหรับระบบพื้นที่คุ้มครอง (หัวข้อที่
1+2.ก+2.ข) + (หัวข้อที่ 3 + หัวข้อที่ 4)
มีไว้เพื่อการบริหารจัดการ
มีไว้เพื่อการลงทุนเพื่อการก่อสร้าง
ค่าใช้จ่ายและความจาเป็นด้านการเงิน
(1) ยอดรวมค่าใช้จ่ายประจาปีสาหรับระบบพื้นที่คุ้มครองหรือระดับ
พื้นที่ (รวมถึง ค่าบริหารจัดการ การใช้จ่ายในการลงทุน
ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น)
ระบุระดับการลงทุนที่สูงเป็นพิเศษของปีใดปีหนึ่ง
ระบุอัตราการเบิกจ่าย – ยอดรายจ่ายรวมทั้งปีเป็น % ของ
ข้อมูลการเงินที่มีอยู่ (หัวข้อที่ 5) หากผลลัพธ์น้อยมาก ให้
อธิบายเหตุผล:
• โดยรัฐบาล ถ้าเปอร์เซนต์ต่า ให้อธิบายเหตุผล
• โดยช่องทางอื่น/องค์กรภาคเอกชน
(2) ประมาณการความจาเป็นด้านการเงิน ให้แยกพื้นที่คุ้มครองทางบกและทางทะเลออกจากกัน
- 16 -
ก. ประมาณการความจาเป็ นด้านการเงินสาหรับเป็ นค่าใช้จ่าย
บริหารจัดการขั้นพื้นฐาน (ทั้งค่าดาเนินการและการลงทุน)
สรุปเทคนิคที่ใช้เพื่อการประมาณการ (เช่น รายละเอียด
ค่าใช้จ่ายในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งและนามาเกี่ยวข้องกับระบบ)
 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการในระบบที่อยู่ส่วนกลาง
(เงินเดือน การดูแลสานักงาน ฯลฯ) ของพื้นที่คุ้มครอง
 ค่าบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 ค่าการลงทุนเพื่อการก่อสร้างในพื้นที่คุ้มครอง
 ค่าพัฒนาศักยภาพทั้งระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่ของ
พื้นที่คุ้มครอง (การอบรม ยุทธศาสตร์ การปฏิรูปนโยบาย
ฯลฯ)
ข. ประมาณการด้านการเงินสาหรับค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ที่
เหมาะสมสูงสุด (ทั้งค่าบริหารจัดการและการลงทุน)
สรุประเบียบวิธีที่ใช้ในการประมาณการ
 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการทั้งระบบที่อยู่ส่วนกลาง
(เงินเดือน การดูแลสานักงาน ฯลฯ) ของหน่วยงาน
 ค่าบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 ค่าการลงทุนเพื่อการก่อสร้างในพื้นที่คุ้มครอง
- 17 -
 ค่าดาเนินการพัฒนาศักยภาพทั้งระดับส่วนกลางและระดับ
พื้นที่ของพื้นที่คุ้มครอง (การอบรม ยุทธศาสตร์ การปฏิรูป
นโยบาย ฯลฯ)
ความจาเป็นในการพัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมในการบริหาร
จัดการพื้นที่คุ้มครอง
ค. ประมาณการความจาเป็นด้านการเงินเพื่อขยายพื้นที่คุ้มครองให้
เป็นตัวแทนในการอนุรักษ์ระบบนิเวศอย่างเต็มรูปแบบ
บันทึกค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเพื่อดาเนินการผนวกเป็นพื้นที่
คุ้มครองใหม่
• ค่าใช้จ่ายที่เป็นการจัดการขั้นพื้นฐาน สาหรับพื้นที่
คุ้มครองใหม่
• ค่าใช้จ่ายที่เป็นการจัดการทางเลือก สาหรับพื้นที่
คุ้มครองใหม่
ช่องว่างทางการเงินแต่ละปี (ระหว่างความจาเป็ นด้านการเงินกับ
ข้อมูลการเงินที่มีอยู่)
ให้แยกพื้นที่คุ้มครองทางบกและทางทะเลออกจากกัน
1. ยอดรวมช่องว่างทางการเงินในปีนั้น
2. ช่องว่างทางการเงินประจาปี ที่เป็นค่าใช้จ่ายพื้นฐาน
การบริหารจัดการ
การลงทุนด้านการก่อสร้าง
- 18 -
3. ช่องว่างทางการเงินประจาปีในส่วนที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่เป็น
เป้ าหมายสูงสุด
การบริหารจัดการ
การลงทุนด้านการก่อสร้าง
4. ประมาณการช่องว่างทางการเงินสาหรับค่าใช้จ่ายพื้นฐานเพื่อการ
ขยายพื้นที่คุ้มครอง (ค่าใช้จ่าย ณ ปัจจุบันบวกกับค่าใช่จ่ายในการ
เพิ่มขึ้นของพื้นที่)
5. ช่องว่างทางการเงินที่ประมาณการประจาปีสาหรับใช้จ่ายขั้น
พื้นฐาน ในปี .....................
ความต้องการด้านการจัดเก็บข้อมูลด้านการเงิน ระบุช่องว่างของข้อมูลสาคัญที่ได้จากการวิเคราะห์ตามแบบ
ประเมิน ระบุแผนการดาเนินงานที่จะต้องทาเพื่อเติมช่องว่าง
- 19 -
ส่วนที่ 2 - การประเมินองค์ประกอบของระบบการเงิน
ส่วนที่ 2 ของแบบประเมินแบ่งย่อยออกเป็นสามส่วน ที่จาเป็นสาหรับการบริหารระบบการเงินทั้งในระดับพื้นที่และทั้งระบบ (2.1) ปริบทด้านกฎหมาย
กฎ ระเบียบและองค์กรต่างๆ (2.2) การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ และ (2.3)
เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการจัดเก็บรายได้
องค์ประกอบที่ 1 - ปริบทด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่จาเป็นในการสร้างระบบการเงินที่ยั่งยืนสาหรับพื้นที่คุ้มครอง
ปริบทด้านกฎหมาย นโยบาย ระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง จะต้องระบุให้ชัดเจน ตลอดจนการวางแผน
ด้านการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดหารายได้ การรักษาเงินรายได้ให้คงที่และการบริหารจัดการเงินรายได้ให้เกิดประสิทธิภาพก็ต้องระบุให้ชัดเจนเช่นกัน
สิ่งที่ต้องอธิบายให้ชัดเจน คือ ความรับผิดชอบของหน่วยงานองค์กร การพิจารณาถึงกฎหมายและนโยบายที่เป็นไปได้ด้วย โครงสร้างการบริหารองค์กรจะต้อง
เอื้อต่อการใช้กลไกที่โปร่งใส ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพในการจัดสรรเงินรายได้ การบริหารจัดการตลอดจนการจัดทาบัญชีรายรับรายจ่าย
องค์ประกอบที่ 2 – การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการอย่างประหยัด
การวางแผนทางการเงิน แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและการวางแผนทางบัญชี เหล่านี้ล้วนเป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหารจัดการงบประมาณ โดยมี
เงื่อนไขว่าจะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและสม่าเสมอ การวางแผนด้านการเงินอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ที่ถูกต้องไม่ใช่เฉพาะในเรื่องรายได้
เท่านั้น แต่ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายด้วย รูปแบบค่าใช้จ่ายและความจาเป็นด้านการลงทุน ทางเลือกสาหรับการรักษาความสมดุลระหว่างรายได้กับ
รายจ่าย หมายความรวมถึงการเพิ่มรายได้และการควบคุมค่าใช้จ่าย ระบบการเงินที่ดีที่สามารถเอื้อให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการเงินได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น การจัดสรรค่าใช้จ่ายให้สอดคล้องตามลาดับความสาคัญและความจาเป็นในการบริหารงาน การหาวิธีลดค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสม
และการแก้ไขปัญหาเรื่องสภาพคล่องทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ยิ่งไปกว่านั้นแผนการที่มีการปรับปรุงเรียบร้อยแล้วควรจะเอื้อต่อการระดมเงินทุนเพราะ
ผู้บริจาคและรัฐบาลรู้สึกมั่นใจว่าเงินทุนที่อนุมัติมาให้นั้น จะถูกนาไปลงทุนอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพของระบบพื้นที่คุ้มครอง
องค์ประกอบที่ 3 – เครื่องมือสาหรับการจัดหาและการจัดสรรเงินรายได้
ระบบพื้นที่คุ้มครองจะมีกลไกในการบริหารด้านการเงินทั้งที่มีอยู่และอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขตามลาดับความสาคัญและความจาเป็นด้าน
- 20 -
การบริหารจัดการ กลไกที่สาคัญประการหนึ่งคือ การกระจายแหล่งเงินรายได้ให้มีความหลากหลายที่เพิ่มขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ตลอดจน
ลดการพึ่งพางบประมาณของรัฐบาลที่มีอยู่อย่างจากัด แหล่งเงินรายได้ของระบบพื้นที่คุ้มครองอาจจะรวมถึงแหล่งเงินทุนอื่นๆ (เช่น ค่าธรรมเนียมที่เก็บจาก
นักท่องเที่ยว) และแหล่งเงินการลงทุนใหม่ๆ เช่น สัญญาสัมปทานด้านการท่องเที่ยว การจ่ายค่าน้าที่เกิดจากการบริการของระบบนิเวศ เป็นต้น ในบางกรณี
ยังหมายถึงการควบคุมการลดลงของแหล่งรายได้ด้วย
องค์ประกอบ 1 – ปริบทด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบและองค์กร
1 –กฎหมาย กฎ ระเบียบ นโยบายที่มีส่วนสนับสนุนการหาเงินรายได้ของพื้นที่
คุ้มครอง
ไม่มี
(0)
มีบ้าง
(1)
มีมาก
(2)
มีเต็มที่
(3)
ความเห็น
(i) กฎหมายหรือนโยบายปัจจุบันสามารถอานวยความสะดวกต่อกลไกการสร้างรายได้
ให้แก่พื้นที่คุ้มครองได้
ระบุกลไกการสร้างรายได้ที่ไม่ได้รับอนุญาต
ตามกรอบของกฎหมายปัจจุบัน
(ii) เครื่องมือทางการเงิน เช่น ค่าธรรมเนียมการใช้พื้นที่เพื่อการท่องเที่ยว การจ่ายค่าน้า
หรือการยกเว้นภาษีอื่นๆที่มีส่วนส่งเสริมระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง
2 – กฎหมาย กฎ ระเบียบ นโยบายที่มีส่วนสนับสนุนต่อการเก็บรักษาระดับเงินรายได้
และการจัดสรรเงินรายได้ให้พื้นที่คุ้มครอง
ไม่มี
(0)
กาลังจัดทา
(1)
มีแล้ว
แต่ต้อง
ปรับปรุง
(2)
มีแล้ว น่า
พอใจด้วย
(3)
- 21 -
(i) กฎหมายหรือนโยบายปัจจุบันช่วยสนับสนุนให้มีการเก็บรักษาเงินรายได้ของพื้นที่
คุ้มครองให้มั่นคง (ทั้งในระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่แต่ละแห่ง)
ระบุร้อยละ ที่จะต้องรักษาระดับไว้ให้ได้:
(ii) กฎหมายหรือนโยบายในปัจจุบันมีส่วนช่วยสนับสนุนให้มีการเก็บรักษาเงินรายได้
ของพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่งให้มั่นคง
ระบุร้อยละ ที่จะต้องรักษาระดับไว้ให้ได้:
(iii) กฎหมายหรือนโยบายในปัจจุบันมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดสรรเงินรายได้ของพื้นที่
คุ้มครองให้กับผู้ใช้ประโยชน์ในระดับท้องถิ่น
ระบุร้อยละ ที่จะต้องนามาแบ่งปันกัน:
3 – เงื่อนไขทางกฎหมาย ระเบียบในการจัดตั้งกองทุน (การบริจาค ทั้งแบบครั้งเดียวจบ
และต่อเนื่อง)
ไม่มี
(0)
มีแล้ว
(1)
มีแล้วแต่
เงินทุน
ค่อนข้าง
จากัด
(2)
มีแล้วและ
มีเงินทุน
เพียงพอ
(3)
(i) มีการจัดตั้งกองทุนหรือเงินทุนเพื่อสนับสนุนระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง
(ii) มีการจัดตั้งกองทุนหลายๆกองทุนเพื่อสนับสนุนพื้นที่คุ้มครองแห่งใดแห่งหนึ่งเป็น
การเฉพาะ
(iii) การใช้เงินของกองทุนถูกนาไปรวมกับการวางแผนทางการเงินและระบบบัญชีใน
ระดับชาติ
4 - ปริบทด้านกฎหมาย นโยบายและระเบียบต่างๆที่เอื้ออานวยต่อการบริหารจัดการ
วิธีการอื่นๆที่เป็ นทางเลือกสาหรับการจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อเป็ นการลดภาระ
ค่าใช้จ่ายสาหรับรัฐบาล
ไม่มี
(0)
กาลังจัดทา
(1)
มีแล้ว
แต่ต้อง
ปรับปรุง
(2)
มีแล้วและ
น่าพอใจ
(3)
- 22 -
(i) มีกฎหมายหรือกฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวกับการอนุญาตให้สัมปทานเพื่อการ
บริการของพื้นที่คุ้มครอง
(ii) มีกฎหมายหรือกฎระเบียบข้อบังคับที่อนุญาตให้มีการบริหารจัดการอย่างมีส่วน
ร่วมในพื้นที่คุ้มครอง
(iii) มีกฎหมายหรือกฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวกับการอนุญาตให้มีการบริหารจัดการ
พื้นที่คุ้มครองในระดับท้องถิ่น
(iv) มีกฎหมายที่อนุญาต หรือส่งเสริมหรือควบคุมการดาเนินงานของภาคเอกชนใน
พื้นที่คุ้มครอง
5 - นโยบายและกลยุทธ์ด้านการเงินของพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ
(i) มีนโยบายด้านการเงินและ/หรือกฎระเบียบที่สาคัญ ที่มีกลยุทธ์ด้านการเงิน
ดังต่อไปนี้:
- ข้อมูลและแผนด้านการเงินที่ได้มาตรฐานและเข้าใจง่าย (เป็นระบบบัญชีที่อิงอยู่กับ
กิจกรรมและการสนับสนุน)
- ระดับการหารายได้และค่าธรรมเนียมในพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ ระบุอัตราค่าธรรมเนียมสาหรับระบบพื้นที่
คุ้มครอง
- การจัดสรรเงินงบประมาณให้แก่ พื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่ง (โดยมีหลักเกณฑ์ จานวน
ความเสี่ยง แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณ การดาเนินงาน ฯลฯ)
แจกแจงหลักเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณ
- มีหลักประกันว่าการจัดหารายได้จะไม่ส่งผลกระทบต่อเป้ าหมายด้านการอนุรักษ์ของ
พื้นที่คุ้มครอง
- 23 -
- แผนการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้ง ข้อมูลด้านการเงินหรือแผนการดาเนิน
ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
(ii) การกาหนด, การปรับปรุงและการบังคับใช้กลยุทธ์ด้านการเงินระดับชาติ ยังไม่เริ่ม
(0)
กาลัง
ดาเนินการ
(1)
เสร็จแล้ว
(2)
อยู่ในขั้นนา
ไปบังคับใช้
(3)
6 – การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบพื้นที่คุ้มครอง (การให้บริการของ
ระบบนิเวศ การท่องเที่ยว ฯลฯ)
ไม่มี
(0)
มีบางส่วน
(1)
น่าพอใจ
(2)
เต็มที่
(3)
(i) มีการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่คุ้มครองที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนา
ในระดับท้องถิ่นและระดับชาติหรือไม่
ระบุข้อมูลสรุปที่ได้การศึกษามา
(ii) การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่คุ้มครองมีผลต่อการตัดสินใจของผู้มี
อานาจหรือไม่
ระบุผลต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
7 - การปรับปรุงเงินงบประมาณของรัฐบาลเพื่อระบบพื้นที่คุ้มครอง ไม่มี
(0)
บางส่วน
(2)
มี
(3)
อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลง
(i) รัฐบาลมีนโยบาย สนับสนุนเงินงบประมาณให้แก่พื้นที่คุ้มครอง โดยพิจารณาจาก
ความต้องการด้านการเงิน ตามที่ระบุไว้ในแผนบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง
(ii) งบประมาณของพื้นที่คุ้มครอง จะพิจารณารวมถึงกองทุนเพื่อดาเนินการลด
ความเสี่ยงด้านการเงินในเขตพื้นที่กันชน (เช่น การดารงชีวิตของชุมชนที่อยู่รอบๆ
พื้นที่คุ้มครอง)
- 24 -
(iii) ขั้นตอนของงานธุรการ (เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง) การอานวยความสะดวกในการ
เบิกจ่ายงบประมาณ การลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการลดงบประมาณในอนาคต
อันเนื่องมาจากยอดการเบิกจ่ายต่า
(iv) รัฐบาลมีแผนที่จะเพิ่มงบประมาณในระยะยาว เพื่อลดช่องว่างทางการเงินของ
พื้นที่คุ้มครอง
8 – ความชัดเจนขององค์กรที่มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงิน
ของพื้นที่คุ้มครอง
ไม่มี
(0)
บางส่วน
(1)
กาลัง
ปรับปรุง
(2)
เต็มที่
(3)
(i) องค์กรมีอานาจหน้าที่ที่ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการเงิน
ของพื้นที่คุ้มครอง
9 – พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องการและมีส่วนสนับสนุนการดาเนินงานทั้งในระบบพื้นที่
คุ้มครองและระดับพื้นที่และมีความชัดเจน
ไม่มี
(0)
บางส่วน
(1)
เกือบบรรลุ
เป้ าหมาย
(2)
เต็มที่
(3)
(i) หน่วยงานส่วนกลางมีการวางโครงสร้างองค์กรเพื่อดูแลพื้นที่คุ้มครองที่
ประกอบด้วย นักวิชาการป่ าไม้ เจ้าพนักงานป่ าไม้ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
ด้านงบประมาณ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ที่เพียงพอเพื่อการบริหารจัดการ
ระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง
อธิบายบทบาท:
(ii) มีโครงสร้างองค์กร (เช่น หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลพื้นที่คุ้มครอง) และมีอานาจ
หน้าที่และประสานงานเพื่อการจัดการด้านการเงินของพื้นที่คุ้มครองที่เหมาะสม
- 25 -
(iii) พื้นที่คุ้มครองในระดับภูมิภาคและระดับพื้นที่ มีพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีศักยภาพใน
การสนับสนุนด้านการบริหารการเงินอย่างยั่งยืน
(iv) หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่งมีความรับผิดชอบ ด้านการบริหารจัดการการเงิน
การประหยัดค่าใช้จ่ายและการจัดหารายได้ที่มีประสิทธิภาพ
(v) มีการสร้างแรงจูงใจเพื่อกระตุ้นให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองส่งเสริมความยั่งยืนทาง
การเงินในระดับพื้นที่ (เช่น การจัดหารายได้สาหรับพื้นที่คุ้มครองและไม่เคยถูกตัด
งบประมาณ)
(vi) มีการประเมินผลการทางานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง ประกอบด้วยการประเมิน
แผนด้านการเงิน การจัดหารายได้ การจัดเก็บค่าธรรมเนียมและการบริหารจัดการอย่าง
ประหยัด
(vii) พนักงานเจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบบัญชี
ของระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง
(viii) หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีความรู้ความสามารถที่จะจัดสรรงบประมาณและวางแผน
ด้านงบประมาณในระยะยาว (เช่น 5 ปีขึ้นไป)
คะแนนรวมขององค์ประกอบที่ 1 คะแนนที่แท้จริง :
คะแนนที่เป็นไปได้:
% ของความสาเร็จ
- 26 -
องค์ประกอบที่2 - การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการอย่างประหยัด
1 - การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณในระดับพื้นที่คุ้มครอง ยังไม่เริ่ม
(0)
เพิ่งเริ่ม
(1)
เกือบเสร็จ
(2)
เสร็จ
เรียบร้อย
(3)
(i) คุณภาพของแผนบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองประกอบด้วย วัตถุประสงค์ด้านการ
อนุรักษ์, ความต้องการด้านการบริหารจัดการและค่าใช้จ่ายตามที่มีการวิเคราะห์อย่างมี
ประสิทธิภาพ
การจัดลาดับควรจะคานึงถึงเรื่องคุณภาพของ
การวางแผนบริหารจัดการ
(ii) มีการใช้แผนการบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครองทุกแห่งทั่วทั้งระบบ ระบุร้อยละของพื้นที่คุ้มครองที่มีแผนการ
บริหารจัดการ
(iii) มีแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณ ที่เป็นรูปแบบมาตรฐานและเชื่อมโยงกับ
แผนการบริหารจัดการและเป้ าหมายด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
(iv) กาหนดให้มีการบังคับใช้แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณในพื้นที่คุ้มครองต่างๆทั้ง
ระบบ สามารถตรวจวัดหรือประเมินผลได้จากเป้ าหมายต่างๆที่วางไว้
(v) แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณสาหรับพื้นที่คุ้มครองจะมีผลต่อการวางแผนและ
การกาหนดงบประมาณทั้งระบบ
(vi) การตรวจสอบค่าใช้จ่ายงบประมาณในการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ และการ
บริหารจัดการซึ่งจะต้องสอดคล้องกันกับแนวทางที่มีประสิทธิภาพในการลดค่าใช้จ่าย
และการจัดทารายงานการดาเนินงานด้านการเงิน
- 27 -
2 – ระบบการตรวจสอบและมีการควบคุมระบบบัญชีที่มีความโปร่งใสและมี
ประสิทธิภาพ
ไม่มี
(0)
บางส่วน
(1)
เกือบเสร็จ
(2)
เสร็จ
สมบูรณ์
(3)
(i) มีการใช้จ่ายเงินงบประมาณอย่างโปร่งใส (ทั้งในแง่การลงทุนและการบริหารจัดการ)
และมีการควบคุมระบบบัญชีที่เหมาะกับระบบการบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง
(ii) มีระบบการตรวจสอบรายได้ของพื้นที่คุ้มครองและมีการปฏิบัติตามระบบที่วางไว้
อย่างเคร่งครัด
(iii) มีระบบที่เอื้ออานวยต่อการเก็บข้อมูลทางบัญชีงบประมาณ ที่มีส่วนสนับสนุนต่อ
การกาหนดงบประมาณและการวางแผนทั้งระบบ
3 - ระบบการติดตามและการรายงานผลการปฏิบัติงานการจัดการด้านการเงิน ไม่มี
(0)
บางส่วน
(1)
เกือบสาเร็จ
(2)
สาเร็จ
และมีการ
ปฏิบัติจริง
(3)
(i) พนักงานเจ้าหน้าที่ประจาพื้นที่คุ้มครอง รายงานเรื่องรายได้และรายจ่ายทั้งหมดของ
พื้นที่คุ้มครองให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ
(ii) ถ้าเป็นไปได้ ให้มีการวัดผลและรายงานผลค่าตอบแทนทางการเงินจากการลงทุนที่
เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว (เช่น ติดตามผลการเพิ่มขึ้นของรายได้จากนักท่องเที่ยว หลัง
มีการจัดตั้งศูนย์บริการนักท่องเที่ยว เป็นต้น)
(iii) มีระบบการรายงานและตรวจสอบเพื่อแสดงให้เห็นว่าทาไมจึงมีการจัดสรร
งบประมาณให้แก่พื้นที่คุ้มครองพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งของหน่วยงานในส่วนกลาง
- 28 -
(iv) มีระบบการประเมินผลและการรายงานที่แสดงให้เห็นว่าพื้นที่คุ้มครองมีการใช้
เครื่องมือทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ (เช่น การเบิกจ่ายและการประหยัดค่าใช้จ่าย
เป็นต้น) เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายในการบริหารจัดการ
4 - วิธีการจัดสรรเงินงบประมาณให้แก่พื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่ง ไม่ (0) ใช่ (2)
(i) มีการจัดสรรเงินงบประมาณจากระดับชาติไปยังพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่ง โดยมี
หลักเกณฑ์ที่เหมาะสมและได้รับความเห็นชอบแล้ว (เช่น จานวน ความเสี่ยง ความ
ต้องการและการปฏิบัติงาน)
(ii) เงินรายได้ที่ได้จากพื้นที่คุ้มครองที่มีการบริหารจัดการร่วมกันนั้นจะไม่ทาให้
งบประมาณจากรัฐบาลลดลง (ถ้ายังมีช่องว่างทางการเงินอยู่)
5 - การฝึ กอบรมและมีเครือข่ายสนับสนุนเพื่อช่วยให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถ
บริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด
ไม่มี
(0)
มีบางส่วน
(1)
เกือบเสร็จ
(2)
สมบูรณ์
(3)
(i) หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีแนวทางการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการประหยัด
ค่าใช้จ่ายและสามารถนาไปปฏิบัติจริง
(ii) มีเครือข่ายระหว่างพื้นที่คุ้มครองด้วยกัน เพื่อให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถ
แบ่งปันข้อมูลระหว่างกันในเรื่องค่าใช้จ่าย การปฏิบัติและผลกระทบที่เกิดขึ้น
(iii) มีการเปรียบเทียบเรื่องค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการบริหารงานระหว่างพื้นที่
คุ้มครองด้วยกัน เพื่อการตรวจวัดประสิทธิภาพในการทางานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง
(iv) มีระบบการเรียนรู้และระบบการตรวจสอบการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประหยัดค่าใช้จ่าย ที่เอื้ออานวยประโยชน์ต่อนโยบายและการวางแผนระบบการบริหาร
จัดการ
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน

More Related Content

Viewers also liked

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 

Viewers also liked (12)

การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม UNDP
 

More from UNDP (20)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 

คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน

  • 1.
  • 2. คู่มือการฝึกอบรม การประเมินความยั่งยืนด้านการเงินเพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง --------------------------------------- แบบประมาณความยั่งยืนด้านการเงิน : สาหรับพื้นที่คุ้มครองทั่วประเทศ ผู้เขียน : แอนดรูว์ บอวาร์นิก (2008) สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ หมายเหตุ : เอกสารฉบับนี้สะท้อนความคิดเห็นของผู้แต่งเท่านั้น ยูเอ็นดีพีไม่จาเป็นต้องผูกพันตามความคิดเห็นดังกล่าว เอกสารนี้อยู่ในขั้นตระเตรียม หากมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะประการใด โปรดส่งไปที่ผู้แต่งโดยตรง ตามที่อยู่อีเมล์นี้ andrew.bovarnick@undp.org.
  • 3. สารบัญ ข้อความเบื้องต้น แบบประเมินด้านการเงิน ส่วนที่ 1 – สถานะทางการเงินโดยรวม แบบประเมินด้านการเงิน ส่วนที่ 2 – การประเมินองค์ประกอบด้านต่างๆ ของระบบการเงิน แบบประเมินด้านการเงิน ส่วนที่ 3 – การให้คะแนนและขั้นตอนการวัดผล เอกสารนี้สามารถดาวน์โหลดได้ที่: http://www.undp.org/gef/05/kmanagement/newpublication.htm
  • 4. - 1 - ข้อความเบื้องต้น บริบท ระบบการเงินเป็นปัจจัยสาคัญที่ใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่งและทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ปรากฏว่าพื้นที่คุ้มครองใน ประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้มีการพัฒนาระบบเงินงบประมาณให้มีความยั่งยืนทั้งในระดับพื้นที่แต่ละแห่งและทั้งระบบและมีประสิทธิภาพมาแล้ว ด้วยเหตุผลนี้สานักงาน UNDP จึงมีความต้องการที่จะให้หน่วยงานหรือสถาบันที่รับผิดชอบบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีการพัฒนาความยั่งยืนของระบบ การเงินของพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ที่ยังมิได้ดาเนินการให้มีการดาเนินงานระบบการเงินดังกล่าวให้อยู่ในระยะยาวและเป็นระบบ “ความยั่งยืนของระบบการเงิน” ในพื้นที่คุ้มครอง หมายถึง ความสามารถของรัฐบาลในการแบกรับค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง คาว่า “ระบบ” ในเอกสารฉบับนี้ จึงหมายถึงการบริหารพื้นที่คุ้มครองทั้งหมดทั้งในระดับท้องที่และระดับส่วนกลาง หรือระดับชาติ และประเด็นที่สาคัญ ที่จะต้องนามาพิจารณา คือ “อุปทาน (Supply)” เป็นการแสวงหารายได้ให้เพิ่มมากขึ้นสาหรับการจัดการพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ และ “อุปสงค์ (Demand)” ซึ่งเป็นสิ่งท้าทายสาหรับการบริหารจัดการตามความต้องการด้านการเงิน (ทั้งในระดับพื้นที่และส่วนกลางหรือระดับชาติ) ความยั่งยืนของระบบการเงิน เป็นสิ่งที่ต้องพิจารณาทั้งสองประเด็นในเรื่องของอุปทานและอุปสงค์ดังกล่าวแล้ว องค์ประกอบที่สาคัญในการวางแผนด้านการเงิน คือ การค้นหาว่าค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง และทาอย่างไรจึงจะแบกรับค่าใช้จ่าย ดังกล่าวได้แผนงานการเงินที่ดีจะทาให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถตัดสินใจในการบริหารการเงินได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น การจัดสรรเงินงบประมาณ เพื่อให้เหมาะสมกับลาดับความจาเป็นตามสถานการณ์ และการหาวิธีการลดค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสม ตลอดจนจัดการแก้ไขปัญหาสภาพคล่องทางการเงินซึ่ง อาจจะเกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินงานได้
  • 5. - 2 - นอกจากเรื่องค่าใช้จ่ายกับรายได้แล้ว ประเด็นที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่จะต้องพิจารณาคือ ความยั่งยืนทางการเงิน กับ การบริหารจัดการองค์กร โดยทั่วไป ระบบการเงินและการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมักจะมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้องและรับผิดชอบร่วมกัน ดังนั้นบทบาทของแต่ละหน่วยงานจะต้องมี ความชัดเจนและมีเอกภาพ ทั้งนี้เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการวางแผนด้านการเงินและการจัดสรรงบประมาณ โดยทั่วไปแล้วภายในองค์กร มักจะขาดกลไกที่ โปร่งใสและความมีประสิทธิภาพในการจัดเก็บ และการบริหารจัดการเงินค่าธรรมเนียม ดังนั้น สานักงานUNDP จึงได้กาหนดรูปแบบประเมินนี้ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยเหลือคณะทางานและรัฐบาลในการตรวจสอบความก้าวหน้าในการ ดาเนินงาน เพื่อให้ระบบพื้นที่คุ้มครองมีความยั่งยืนทางการเงิน แบบประเมินนี้ องค์กร UNDPได้ออกแบบมาสาหรับการประเมินพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ ไม่ รวมระดับพื้นที่ แต่สามารถนาไปใช้ได้กับพื้นที่เฉพาะได้ กล่าวคือ • กิจกรรมหลายอย่างจะต้องดาเนินการในระดับชาติ เช่น การปฏิรูปนโยบาย การจัดการกองทุนและการกาหนดค่าธรรมเนียมการเข้าไปใช้พื้นที่ คุ้มครอง เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ล้วนมีความเกี่ยวข้องพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ • กิจกรรมหลายอย่างจะต้องอาศัยความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆของรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงการคลัง การที่จะได้รับ ความร่วมมือและการสนับสนุนดังกล่าวต้องอาศัยระบบการเงินและการบริหารจัดการในส่วนกลาง • พื้นที่คุ้มครองหลายๆ แห่งมักจะจัดกิจกรรมที่คล้ายคลึงกัน เช่น การฝึกอบรม การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ การจัดการอย่างมี ส่วนร่วม หรือการติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงาน เป็นต้น เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณจึงให้หน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้ดาเนินการ • การระดมทุนต่างๆ ถ้าหากว่ามีการขับเคลื่อนการดาเนินงานในระดับส่วนกลางจะได้ผลกว่า • การวางแผนยุทธศาสตร์การจัดการทั้งระบบทาให้มีการโยกย้ายเงินอุดหนุนระหว่างพื้นที่คุ้มครองสามารถดาเนินได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น • ระบบการกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมเข้าใช้บริการพื้นที่คุ้มครองมีเอกภาพเพื่อให้มีมาตรฐานการดาเนินงาน ระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีการพิจารณาในสองระดับ ระดับแรก คือ สถานะทางการเงินของระบบของพื้นที่คุ้มครอง หมายถึงว่า ขณะนี้พื้นที่ คุ้มครองได้รับงบประมาณมากเท่าไร และจะต้องขอเพิ่มอีกเท่าไร เพื่อที่จะให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น ปัจจัยที่นามาใช้ในการพิจารณา ได้แก่ ค่าใช้จ่ายประจาปี ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ความต้องการด้านการลงทุน รายได้จากค่าธรรมเนียมต่างๆ ฯลฯ เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยเหล่านี้ จะทาให้สรุปได้ ว่ามีช่องว่างทางการเงินที่ใดบ้างและมากน้อยเพียงใด ตลอดจนการวางเป้าหมายทางการเงินเพื่อเพิ่มงบประมาณและค่าใช้จ่าย และ/หรือการลดค่าใช้จ่ายในบาง กิจกรรมเพื่อทาให้เกิดความสมดุลทางด้านงบประมาณ
  • 6. - 3 - ระดับต่อมาคือ หากมีการพิจารณาสถานะของเงินงบประมาณของพื้นที่คุ้มครอง ก็ไม่อาจสะท้อนภาพที่แท้จริงของโครงสร้างทางการเงินที่มีอยู่ได้ รวมทั้งและ สภาพความเข้มแข็งและทิศทางในอนาคตของระบบการเงินทั้งหมด บางปีอาจจะมีการใช้จ่ายสูงมากเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากผู้บริจาคให้ หรือมีเงินทุน สนับสนุนเข้ามา ทั้งนี้อาจจะได้รับจากการบริการของระบบนิเวศ หรือจานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สถานะทางการเงินของปีนั้นๆ ไม่ได้ รับประกันว่าสถานะทางการเงินของพื้นที่คุ้มครองในปีถัดไปจะมั่นคงเหมือนเดิม มีการประเมินว่าระบบของพื้นที่คุ้มครองกาลังดาเนินการไปสู่ความยั่งยืนทาง การเงินหรือไม่ จะต้องมีการพิจารณาตรวจสอบและวิเคราะห์จากโครงสร้างพื้นฐานที่ส่งเสริมให้ระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองสามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่องใน ระยะยาวได้ดังนั้นระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองจะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งจะปรากฏให้เห็นอยู่บ่อยๆ และที่พบเห็นได้บ่อยๆ และมีความก้าวหน้าใน หลายประเทศ วัตถุประสงค์ แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินสาหรับพื้นที่คุ้มครองจัดทาขึ้นเพื่อช่วยให้รัฐบาลแต่ละประเทศ พนักงานเจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครอง ผู้สนับสนุนและ หน่วยงานองค์กรพัฒนาภาคเอกชน สามารถตรวจสอบและบันทึกข้อมูลสาคัญๆ เกี่ยวกับระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองได้อย่างครบถ้วน โดยเฉพาะเรื่อง ค่าใช้จ่ายและโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงสถานะหรือความเข้มแข็งทางการเงิน พร้อมกับประเมินว่าระบบการเงินดังกล่าวจะมี ความยั่งยืนทางการเงินที่ดีขึ้นในระยะยาวหรือไม่ เพียงใด ถึงแม้ว่าแบบประเมินได้รับการออกแบบสาหรับระบบพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ แต่ก็สามารถ นาไปใช้กับพื้นที่ระดับอื่นๆ ได้เช่น ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด หรือระดับท้องถิ่น เป็นต้น แบบประเมินส่วนหนึ่งจะบันทึกรายละเอียดสถานะทางการเงินตลอดจนการรับ-จ่ายของเงินทุนในระบบงบประมาณของพื้นที่คุ้มครอง อย่างไรก็ตามแบบ ประเมินได้รับการการออกแบบมาเพื่อการตรวจสอบความก้าวหน้าของระบบการเงินในพื้นที่คุ้มครอง รวมถึงปัจจัยพื้นฐานที่จะนาไปสู่ความคล่องตัวทาง การเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองในอนาคต ดังนั้นแบบประเมินนี้จึงมีโครงสร้างตามองค์ประกอบของระบบการเงินตามที่ได้กาหนดไว้ โครงสร้างดังกล่าวจะเป็นข้อเสนอแนะ ถึงองค์ประกอบที่สาคัญของระบบการเงิน การประเมินในแต่ละองค์ประกอบที่สาคัญมีอะไรบ้าง จะช่วยให้ผู้รับผิดชอบ แต่ละประเทศสามารถสามารถพิจารณาได้ว่า พื้นที่คุ้มครองใดในระบบการบริหารด้านการเงินจาเป็นต้องได้รับการปรับปรุงเพื่อให้ระบบการเงินมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 7. - 4 - นอกจากนี้คาถามที่เกี่ยวกับข้อมูลด้านการเงินสาหรับการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง จะช่วยให้การจัดการพื้นที่คุ้มครองในแต่ละประเทศประเมิน ความสามารถของกลไกในการจัดเก็บรายได้ และการค้นหาข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นต่อระบบการเงินต่อไป หากไม่มีข้อมูลดังกล่าว หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่ คุ้มครอง จะต้องเร่งดาเนินการค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องดังกล่าวโดยด่วน ถึงแม้ว่าแบบประเมินจะเน้นถึงความสาคัญของการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่าง ประหยัด แต่ไม่ได้ให้คาชี้แนะเรื่องการใช้เงินเป็นการเฉพาะเจาะจงแต่อย่างใด สานักงาน UNDP มีแผนที่จะจัดพัฒนาคาแนะนาเรื่องการใช้จ่ายเงินโดยเฉพาะที่ แยกต่างหากในอนาคตได้ โครงสร้าง แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินนี้แบ่งออกเป็นสามส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 – ภาพรวมของสถานะทางการเงินของพื้นที่คุ้มครอง รวมถึงข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครอง และการวิเคราะห์ทางการเงิน ของระบบพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ ส่วนที่ 2 – การประเมินองค์ประกอบด้านต่างๆของระบบการเงิน ส่วนที่ 3 – หลักเกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 1 : ต้องอาศัยข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย รายได้และช่องว่างทางการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองทั้งในปีปัจจุบันและการคาดคะเนสาหรับปี ต่อๆ ไป การวิเคราะห์หาจานวนเงินที่เป็นประโยชน์สาหรับระบบพื้นที่คุ้มครอง และชี้ให้เห็นถึงข้อมูลทางการเงินที่จาเป็นสาหรับผู้ทาหน้าที่วาง แผนการดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครอง สาหรับการกาหนดเป้ าหมายด้านการเงินและจานวนของเงินทุนเพิ่มเติมที่จาเป็น เพื่อประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง เนื่องจากแต่ละประเทศมีระบบบัญชีงบประมาณที่แตกต่างกัน เพราะฉะนั้นแต่ละประเทศจึงต้องการข้อมูลด้าน การเงินไม่เหมือนกัน อย่างไรก็ตามหากประเทศใดไม่มีข้อมูลด้านการเงินที่ชัดเจน ภารกิจแรกที่ผู้มีหน้าที่ในการบริหารพื้นที่คุ้มครองควรจะทาคือ การค้นหาและรวบรวมข้อมูลทั้งหมด
  • 8. - 5 - ส่วนที่ 2 : แบบประเมินจะแบ่งย่อยออกเป็นสามส่วนที่จาเป็นสาหรับการบริหารระบบการเงินทั้งในระดับพื้นที่และทั้งระบบประกอบดัวย (2.1) บริบทด้าน กฎหมาย กฎ ระเบียบและองค์กรต่างๆ / (2.2) การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการบริหารจัดการพื้นที่ คุ้มครองให้มีประสิทธิภาพ / (2.3) เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการสร้างรายได้
  • 9. - 6 - องค์ประกอบที่ 2 – การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการงบประมาณอย่างประหยัด การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณ แผนทางการเงินและแผนทางบัญชี เหล่านี้ล้วนเป็นเครื่องมือสาคัญที่ใช้ในการบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและสม่าเสมอ การวางแผนการเงินที่มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ในเรื่องไม่ใช่ เฉพาะรายรับแต่เพียงอย่างเดียว แต่ต้องอาศัยความรู้ด้านค่าใช้จ่ายด้วย รูปแบบค่าใช้จ่ายและความจาเป็นด้านการลงทุน ทางเลือกสาหรับการรักษา สมดุลระหว่างรายรับกับรายจ่าย หมายความรวมถึงการเพิ่มรายได้และการควบคุมค่าใช้จ่ายด้วย ระบบการเงินที่ดีต้องเอื้ออานวยให้หัวหน้าพื้นที่ คุ้มครองสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารการเงินได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น การจัดสรรค่าใช้จ่ายให้สอดคล้องตามลาดับความจาเป็นในการ บริหารงานหรือกิจกรรม การค้นหาวิธีลดค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสม และการแก้ไขปัญหาเรื่องสภาพคล่องทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ยิ่งไปกว่านั้นแผน ยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณควรที่จะได้มีปรับปรุงให้ทันสมัย ที่เอื้ออานวยต่อการระดมเงินทุน เพราะผู้สนับสนุนและรัฐบาลมีความรู้สึกมั่นใจว่าเงินทุน ที่อนุมัติมาให้นั้น จะถูกนาไปใช้บริหารจัดการระบบพื้นที่คุ้มครองอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบที่ 1 - บริบทด้านกฎหมาย กฎระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการสร้างระบบการเงินที่ยั่งยืนสาหรับพื้นที่คุ้มครอง บริบทด้านกฎหมาย นโยบาย ระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง จะต้องระบุให้ชัดเจน ตลอดจนการ วางแผนด้านการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างรายได้ การรักษาเงินรายได้ให้คงที่และการบริหารจัดการรายได้ให้เกิดประสิทธิภาพ เหล่านี้ก็ต้อง ได้รับการระบุให้ชัดเจนเช่นกัน สิ่งที่ต้องอธิบายให้ชัดเจน คือ ความรับผิดชอบขององค์กร นอกจากนี้ยังต้องมีรายละเอียดด้านกฎหมายและนโยบายที่ เป็นไปได้ด้วย โครงสร้างการบริหารองค์กรจะต้องเอื้อต่อการใช้กลไกที่โปร่งใส ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพในการจัดสรรรายได้ การบริหารจัดการตลอดจน การดาเนินงานจัดทาบัญชีรายรับรายจ่าย
  • 10. - 7 - ส่วนที่ 3 : หลักเกณฑ์การให้คะแนน แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินควรจัดทาทุกปี เพื่อจะได้ทราบว่าสถานการณ์ในพื้นที่คุ้มครองแต่ละปีมีการ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง ผลการประเมินในปีแรกจัดว่าเป็นฐานสาหรับเปรียบเทียบกับผลการประเมินในปีต่อๆ ไป และผลการเปรียบเทียบ ระหว่างผลการประเมินในปีแรกกับปีต่อๆ ไป จะแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าของระบบพื้นที่คุ้มครองในแต่ละปี สรุปคะแนนทั้งหมดและผลการ ประเมินคิดเป็นร้อยละที่ได้รับในแต่ละปีที่กาหนด ซึ่งผลคะแนนดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นว่าระบบพื้นที่คุ้มครองมีคะแนนที่คาดว่าเป็นไปได้ เท่าใด เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนจริงที่ได้รับ ตลอดจนแสดงผลเป็นร้อยละ เมื่อเวลาเปลี่ยนไปคะแนนก็ต้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย ถือว่าเป็น หลักฐานที่มีน้าหนักหรือแสดงความก้าวหน้าของระบบการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองทั้งหมด คะแนนรวมในส่วนที่ 2 ของแต่ละปีควรจะแยกตามองค์ประกอบแต่ละเรื่อง และผลรวมทั้งหมดขององค์ประกอบย่อย เพื่อที่จะแสดงได้เห็นภาพรวมของ คะแนนทั้งหมดในระบบพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครองแต่ละประเภทมีรายละเอียดที่แตกต่างกัน องค์ประกอบบางอย่างอาจจะสาคัญกว่าองค์ประกอบอื่นๆ และ อาจประสบความสาเร็จได้ยากกว่า สถานภาพอาจจะไม่เหมือนกันทุกประเภท ในกรณีเช่นนี้คณะทางานระดับชาติมีอิสระที่จะปรับระบบการให้คะแนนที่ใช้อยู่ และเปลี่ยนระบบการให้คะแนนของแต่ละองค์ประกอบให้เหมาะสมตามสถานภาพในแต่ละประเภท หากมีการปรับหรือเปลี่ยนในจุดใด ผู้จัดทาแบบประเมิน ต้องทาหมายเหตุไว้ด้านล่าง ทั้งนี้การปรับหรือการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะต้องมีความโปร่งใส องค์ประกอบที่ 3 – เครื่องมือสาหรับการจัดหาและการจัดสรรเงินรายได้ ระบบพื้นที่คุ้มครองจะต้องมีการจัดลาดับความสาคัญให้มีการใช้ประโยชน์ตามกลไกด้านการเงินทั้งที่มีอยู่แล้วและอาจจะเกิดมีขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับเงื่อนไขลาดับความจาเป็นด้านการบริหารจัดการ กลไกที่สาคัญอีกประการหนึ่ง คือ การพยายามที่จะหาแหล่งรายได้ให้มีความหลากหลายเพิ่มขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงหรือความอ่อนไหวที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ตลอดจนลดการพึ่งพางบประมาณของรัฐบาลที่มีอยู่อย่างจากัด แหล่งรายได้ของระบบ พื้นที่คุ้มครองอาจจะรวมถึงแหล่งเงินทุน แหล่งรายได้(เช่น ค่าธรรมเนียมที่เก็บจากนักท่องเที่ยว) และแหล่งเงินทุนใหม่ๆ เช่น สัญญาสัมปทานด้านการ ท่องเที่ยว การบริการของระบบนิเวศ และค่าคาร์บอน เป็นต้น นอกจากนี้ในบางกรณียังหมายถึงการควบคุมการลดลงของแหล่งรายได้อย่างใกล้ชิดด้วย
  • 11. - 8 - นอกจากนี้หากว่าองค์ประกอบใด หรือองค์ประกอบย่อยข้อใดไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในประเทศนั้นๆ คณะทางานสามารถหยิบยกเอาองค์ประกอบหรือ องค์ประกอบย่อยข้อนั้นออกพร้อมกับคะแนนสูงสุดขององค์ประกอบนั้นๆ ด้วย เมื่อยกออกไปแล้วคะแนนรวมทั้งหมดก็สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ต่อไป ด้วยเหตุนี้คะแนนรวมของแต่ละประเภทจึงอาจจะไม่เท่ากัน ดังนั้นคะแนนรายปีควรจะอยู่ในรูปร้อยละ (คะแนนจริงเปรียบเทียบกับคะแนน ทั้งหมดที่เป็นไปได้) ผลที่ได้รับในแต่ละองค์ประกอบควรจะอยู่ในรูปร้อยละ เพราะทาให้สามารถเปรียบเทียบความเหลื่อมล้าระหว่างองค์ประกอบแต่ละอย่างได้ และทาให้ ตระหนักว่าจุดด้อยหรือจุดเด่นในระบบการเงินของตัวเองอยู่ตรงส่วนใด หรือส่วนใดได้คะแนนต่า ควรจะยกขึ้นมากาหนดให้เป็นเป้ าหมายเพื่อการพัฒนาในปี ต่อๆไป ทั้งในแง่การเข้าแทรกแซงและการเพิ่มขีดความสามารถ ผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปร้อยละจะช่วยให้เปรียบเทียบระหว่างประเภทของพื้นที่คุ้มครองได้ง่ายยิ่งขึ้o แบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน หมายเหตุ: กรุณากรอกแบบประเมินความยั่งยืนด้านการเงินของโครงการ โดยเน้นการปรับปรุงความยั่งยืนด้านการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่คุ้มครอง ตามผลสัมฤทธิ์ที่ 1 และ 2 ของยุทธศาสตร์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ กองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF) จะใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นโดยคุณแอนดรูว์ โบวา นิค (Andrew Bovarnick) จาก UNDP และได้ปรับปรุงให้เข้ากับหลักการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย แบบสอบถามจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 – ภาพรวมของสถานะทางการเงินในพื้นที่คุ้มครอง รวมถึงข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครอง และการวิเคราะห์ทางการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครองระดับชาติ ส่วนที่ 2 – การประเมินองค์ประกอบด้านต่างๆ ของระบบการเงิน ส่วนที่ 3 – เกณฑ์การให้คะแนน
  • 12. - 9 - ส่วนที่ 1 : ภาพรวมของสถานะทางการเงินในพื้นที่คุ้มครอง บรรยายลักษณะของระบบพื้นที่คุ้มครองว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง: ลักษณะของพื้นที่คุ้มครองอาจจะพิจารณาตามบทนิยามขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN Categories I-VI) ก็ได้อย่างไรก็ตาม หากกาหนดบทนิยามของระบบพื้นที่คุ้มครองแตกต่างไปจาก IUCN หรือมีระบบพื้นที่คุ้มครองอย่างอื่น ให้ใช้บทนิยามที่แสดง ระบบพื้นที่คุ้มครองในประเทศนั้นๆ และเป็นระบบที่ใช้ในการให้คะแนนตามแบบประเมินนี้ได้ ตัวอย่าง เช่น พื้นที่คุ้มครองบางแห่งอาจจะมีทั้งประเภท พื้นที่สาธารณะหรือพื้นที่ของเอกชนหรือมีทั้งสองประเภทรวมกันก็ได้ สิ่งสาคัญแต่ละประเภทต้องอธิบายและระบุหลักเกณฑ์ให้ชัดเจน คือ พื้นที่ คุ้มครองประเภทใดบ้างที่ถูกจัดให้อยู่ในระบบพื้นที่คุ้มครองตามบทนิยามที่กาหนดไว้และอยู่ในแผนวิเคราะห์ทางการเงิน บางประเทศอาจจะมีพื้นที่ อนุรักษ์ของเอกชนที่แยกต่างหากจากระบบพื้นที่คุ้มครองของประเทศ ในกรณีเช่นนี้ ผู้ดาเนินการจัดทาแผนอาจจะบันทึกข้อมูลส่วนนี้เป็นอีกประเภท หนึ่งเพิ่มเติมจากตารางได้ (ภายใต้หัวข้ออื่นๆ) เพราะพื้นที่อนุรักษ์ของเอกชนไม่ได้จัดให้อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล (นอกจากนี้ควรจะระบุข้อมูลเฉพาะของระบบพื้นที่คุ้มครองที่อาจจะส่งผลต่อระบบการเงินด้วยตามสมควร) แนวทางการประเมินความยั่งยืนทางการเงินสาหรับพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยโดยมีการพิจารณาพื้นที่คุ้มครองจะประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ที่ประกาศใช้บังคับตามพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 (ทั้งนี้ไม่นับรวมพื้นที่อนุรักษ์ประเภทอื่น เช่น สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ พื้นที่ต้นน้าชั้น 1 และ 2 พื้นที่ป่าชายเลน อนุรักษ์และพื้นที่สงวนชีวมณทล ซึ่งอาจจะอยู่ในการประกาศใช้บังคับของพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507)
  • 13. - 10 - ส่วนที่ 1.1 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับระบบพื้นที่คุ้มครอง ระบบพื้นที่คุ้มครอง ระบบพื้นที่และระบบกลุ่มป่ า จานวนของพื้นที่ พื้นที่ทางบก รวมทั้งสิ้น (ไร่) พื้นที่ทางทะเล รวมทั้งสิ้น (ไร่) จานวนพื้นที่ รวมทั้งสิ้น (ไร่) หน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครองรวมของประเทศ (ภายใต้การจัดการ ของกรมอุทยานแห่งชาติฯ) พื้นที่คุ้มครองระดับพื้นที่(อุทยานแห่งชาติ/เขต รักษาพันธ์สัตว์ป่าฯ) 1. อุทยานแห่งชาติ 2. อุทยานแห่งชาติ 3. อุทยานแห่งชาติ 4. อุทยานแห่งชาติ 5. อุทยาแห่งชาติ 6. อุทยานแห่งชาติ 7. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 8. อุทยานแห่งชาติ 9. อุทยานแห่งชาติ
  • 14. - 11 - 10. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 11. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 12. อุทยานแห่งชาติ 13. อุทยานแห่งชาติ พื้นที่คุ้มครองระดับกลุ่มป่ า อื่นๆ (โปรดระบุ) (วนอุทยาน หรือเขตห้ามล่า สัตว์ป่า) ส่วนที่ 1.2 การวิเคราะห์ด้านการเงินของระบบพื้นที่คุ้มครอง การวิเคราะห์ด้านการเงินของพื้นที่คุ้มครองระดับพื้นที่ หรือระดับกลุ่มป่ า - (เติมชื่อของพื้นที่คุ้มครอง หรือกลุ่มป่ า) ปีฐาน เพื่อเปรียบเทียบ (บาท) ปี ............... (บาท) ความคิดเห็น (ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล และระดับความมั่นใจของข้อมูล) (ต่า กลาง สูง) ข้อมูลด้านการเงินที่มีอยู่ (1) งบประมาณโดยรวมที่รัฐบาลจัดสรรมาให้เป็นค่าใช้จ่ายในการ บริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง (ยกเว้นเงินบริจาคและรายได้ที่เกิด จากระบบพื้นที่คุ้มครอง) • งบประมาณการบริหารจัดการ (เงินเดือน ค่าบารุงรักษา ค่า น้ามันเชื้อเพลิง ฯ)
  • 15. - 12 - • งบประมาณการก่อสร้าง (ถนน ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ฯลฯ) (2) งบประมาณทั้งหมดที่รัฐบาลกลางจัดสรรมาให้เป็นค่าใช้จ่ายใน การบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง (รวมทั้งค่าธรรมเนียมพิเศษ เงินกองทุน เงินบริจาค เงินกู้และเครื่องมือทางการเงินประเภทอื่นๆ) โปรดระบุแหล่งที่มาของเงินเป็นบาท โดยแยกแต่ละประเภท • ยอดรวมของ ก + ข ก. ช่องทางการเงินจากรัฐบาล – ยอดรวม • รายได้ค่าธรรมเนียมจากการบริการของระบบนิเวศในพื้นที่ คุ้มครอง อาทิเช่น รายได้ที่จ่ายนอกเหนือไปจากเพื่อการอนุรักษ์ หรือ รายได้ค่าน้า ที่มีการลงทุนในพื้นที่คุ้มครอง • กองทุนอนุรักษ์ ระบุหากมีเงินทุนมาเป็นปีแล้วและไม่ใช่จานวนที่นาไปใช้ เป็นต้นทุนการดาเนินงาน • เงินบริจาค • เงินยืม • หนี้สิน • อื่นๆ ข. ช่องทางการเงินจากบุคคลที่สาม / การจัดหาจากองค์กร ภาคเอกชน – ยอดรวม • กองทุนอนุรักษ์
  • 16. - 13 - • เงินบริจาค • เงินยืม • หนี้สิน • อื่นๆ (3) จานวนเงินรายได้ประจาปี ที่จัดสรรให้แก่พื้นที่คุ้มครองทั่ว ประเทศ โดยแบ่งย่อยตามประเภทของรายได้ ระบุมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่คุ้มครอง (หากมีผล การศึกษาที่เกี่ยวข้อง) - ยอดรวม ก. ค่าธรรมเนียมการใช้สถานที่ที่เก็บจากนักท่องเที่ยว ระบุจานวนนักท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครองในปี ……………………. - นักท่องเที่ยวต่างชาติ: - นักท่องเที่ยวในประเทศ: ระบุอัตราค่าธรรมเนียมเฉพาะ: ประมาณร้อยละของ ค่าธรรมเนียมทั้งหมดโดยเลือกพื้นที่คุ้มครองที่ได้รับความ นิยมมากที่สุด (บ่อยครั้งที่เปอร์เซ็นต์สูงสุดของค่าธรรมเนียม อาจจะจัดสรรจากพื้นที่คุ้มครองหนึ่งหรือสองแห่ง ข. ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและนันทนาการ (ค่า ระบุวัตถุประสงค์และระดับของค่าธรรมเนียม
  • 17. - 14 - เช่าพื้นที่ลานกางเต้นท์ ค่าเช่าเต้นท์ เป็นต้น) ค. รายได้จากการให้สัมปทาน ระบุประเภทสัมปทาน ง. การจ่ายค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) กรุณายกตัวอย่างประกอบ: • ทรัพยากรน้า • คาร์บอน • ความหลากหลายทางชีวภาพ จ. ค่าธรรมเนียมหรือค่าปรับที่ไม่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว อื่นๆ (โปรดระบุประเภทของกลไกการสร้างรายได้ในแต่ละประเภท) • ค่าธรรมเนียมจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ • สิทธิบัตรด้านพันธุกรรม • ค่ามลพิษ • การจาหน่ายของที่ระลึก
  • 18. - 15 - (4) ยอดรวมเปอร์เซ็นต์ของรายได้ที่เกิดจากการสะสมภายในระบบ พื้นที่คุ้มครองและระดับพื้นที่ เพื่อการลงทุนหมุนเวียน (ยอดรวมจาก ข้อ 3) % ระบุว่ามีรายได้ที่ได้รับประจาปีที่มีการสะสมโดยตรงภายใน ระบบพื้นที่คุ้มครองหรือระดับพื้นที่นั้นๆ หรือถูกส่งไป ส่วนกลางและส่งกลับมาที่ในระบบพื้นที่คุ้มครองหรือระดับ พื้นที่นั้นๆ หรือไม่ (5) ยอดรวมด้านการเงินที่มีอยู่สาหรับระบบพื้นที่คุ้มครอง (หัวข้อที่ 1+2.ก+2.ข) + (หัวข้อที่ 3 + หัวข้อที่ 4) มีไว้เพื่อการบริหารจัดการ มีไว้เพื่อการลงทุนเพื่อการก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายและความจาเป็นด้านการเงิน (1) ยอดรวมค่าใช้จ่ายประจาปีสาหรับระบบพื้นที่คุ้มครองหรือระดับ พื้นที่ (รวมถึง ค่าบริหารจัดการ การใช้จ่ายในการลงทุน ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น) ระบุระดับการลงทุนที่สูงเป็นพิเศษของปีใดปีหนึ่ง ระบุอัตราการเบิกจ่าย – ยอดรายจ่ายรวมทั้งปีเป็น % ของ ข้อมูลการเงินที่มีอยู่ (หัวข้อที่ 5) หากผลลัพธ์น้อยมาก ให้ อธิบายเหตุผล: • โดยรัฐบาล ถ้าเปอร์เซนต์ต่า ให้อธิบายเหตุผล • โดยช่องทางอื่น/องค์กรภาคเอกชน (2) ประมาณการความจาเป็นด้านการเงิน ให้แยกพื้นที่คุ้มครองทางบกและทางทะเลออกจากกัน
  • 19. - 16 - ก. ประมาณการความจาเป็ นด้านการเงินสาหรับเป็ นค่าใช้จ่าย บริหารจัดการขั้นพื้นฐาน (ทั้งค่าดาเนินการและการลงทุน) สรุปเทคนิคที่ใช้เพื่อการประมาณการ (เช่น รายละเอียด ค่าใช้จ่ายในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งและนามาเกี่ยวข้องกับระบบ)  ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการในระบบที่อยู่ส่วนกลาง (เงินเดือน การดูแลสานักงาน ฯลฯ) ของพื้นที่คุ้มครอง  ค่าบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง  ค่าการลงทุนเพื่อการก่อสร้างในพื้นที่คุ้มครอง  ค่าพัฒนาศักยภาพทั้งระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่ของ พื้นที่คุ้มครอง (การอบรม ยุทธศาสตร์ การปฏิรูปนโยบาย ฯลฯ) ข. ประมาณการด้านการเงินสาหรับค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ที่ เหมาะสมสูงสุด (ทั้งค่าบริหารจัดการและการลงทุน) สรุประเบียบวิธีที่ใช้ในการประมาณการ  ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการทั้งระบบที่อยู่ส่วนกลาง (เงินเดือน การดูแลสานักงาน ฯลฯ) ของหน่วยงาน  ค่าบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง  ค่าการลงทุนเพื่อการก่อสร้างในพื้นที่คุ้มครอง
  • 20. - 17 -  ค่าดาเนินการพัฒนาศักยภาพทั้งระดับส่วนกลางและระดับ พื้นที่ของพื้นที่คุ้มครอง (การอบรม ยุทธศาสตร์ การปฏิรูป นโยบาย ฯลฯ) ความจาเป็นในการพัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมในการบริหาร จัดการพื้นที่คุ้มครอง ค. ประมาณการความจาเป็นด้านการเงินเพื่อขยายพื้นที่คุ้มครองให้ เป็นตัวแทนในการอนุรักษ์ระบบนิเวศอย่างเต็มรูปแบบ บันทึกค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเพื่อดาเนินการผนวกเป็นพื้นที่ คุ้มครองใหม่ • ค่าใช้จ่ายที่เป็นการจัดการขั้นพื้นฐาน สาหรับพื้นที่ คุ้มครองใหม่ • ค่าใช้จ่ายที่เป็นการจัดการทางเลือก สาหรับพื้นที่ คุ้มครองใหม่ ช่องว่างทางการเงินแต่ละปี (ระหว่างความจาเป็ นด้านการเงินกับ ข้อมูลการเงินที่มีอยู่) ให้แยกพื้นที่คุ้มครองทางบกและทางทะเลออกจากกัน 1. ยอดรวมช่องว่างทางการเงินในปีนั้น 2. ช่องว่างทางการเงินประจาปี ที่เป็นค่าใช้จ่ายพื้นฐาน การบริหารจัดการ การลงทุนด้านการก่อสร้าง
  • 21. - 18 - 3. ช่องว่างทางการเงินประจาปีในส่วนที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่เป็น เป้ าหมายสูงสุด การบริหารจัดการ การลงทุนด้านการก่อสร้าง 4. ประมาณการช่องว่างทางการเงินสาหรับค่าใช้จ่ายพื้นฐานเพื่อการ ขยายพื้นที่คุ้มครอง (ค่าใช้จ่าย ณ ปัจจุบันบวกกับค่าใช่จ่ายในการ เพิ่มขึ้นของพื้นที่) 5. ช่องว่างทางการเงินที่ประมาณการประจาปีสาหรับใช้จ่ายขั้น พื้นฐาน ในปี ..................... ความต้องการด้านการจัดเก็บข้อมูลด้านการเงิน ระบุช่องว่างของข้อมูลสาคัญที่ได้จากการวิเคราะห์ตามแบบ ประเมิน ระบุแผนการดาเนินงานที่จะต้องทาเพื่อเติมช่องว่าง
  • 22. - 19 - ส่วนที่ 2 - การประเมินองค์ประกอบของระบบการเงิน ส่วนที่ 2 ของแบบประเมินแบ่งย่อยออกเป็นสามส่วน ที่จาเป็นสาหรับการบริหารระบบการเงินทั้งในระดับพื้นที่และทั้งระบบ (2.1) ปริบทด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบและองค์กรต่างๆ (2.2) การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ และ (2.3) เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการจัดเก็บรายได้ องค์ประกอบที่ 1 - ปริบทด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่จาเป็นในการสร้างระบบการเงินที่ยั่งยืนสาหรับพื้นที่คุ้มครอง ปริบทด้านกฎหมาย นโยบาย ระเบียบและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง จะต้องระบุให้ชัดเจน ตลอดจนการวางแผน ด้านการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดหารายได้ การรักษาเงินรายได้ให้คงที่และการบริหารจัดการเงินรายได้ให้เกิดประสิทธิภาพก็ต้องระบุให้ชัดเจนเช่นกัน สิ่งที่ต้องอธิบายให้ชัดเจน คือ ความรับผิดชอบของหน่วยงานองค์กร การพิจารณาถึงกฎหมายและนโยบายที่เป็นไปได้ด้วย โครงสร้างการบริหารองค์กรจะต้อง เอื้อต่อการใช้กลไกที่โปร่งใส ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพในการจัดสรรเงินรายได้ การบริหารจัดการตลอดจนการจัดทาบัญชีรายรับรายจ่าย องค์ประกอบที่ 2 – การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการอย่างประหยัด การวางแผนทางการเงิน แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและการวางแผนทางบัญชี เหล่านี้ล้วนเป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหารจัดการงบประมาณ โดยมี เงื่อนไขว่าจะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและสม่าเสมอ การวางแผนด้านการเงินอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ที่ถูกต้องไม่ใช่เฉพาะในเรื่องรายได้ เท่านั้น แต่ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายด้วย รูปแบบค่าใช้จ่ายและความจาเป็นด้านการลงทุน ทางเลือกสาหรับการรักษาความสมดุลระหว่างรายได้กับ รายจ่าย หมายความรวมถึงการเพิ่มรายได้และการควบคุมค่าใช้จ่าย ระบบการเงินที่ดีที่สามารถเอื้อให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการเงินได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น การจัดสรรค่าใช้จ่ายให้สอดคล้องตามลาดับความสาคัญและความจาเป็นในการบริหารงาน การหาวิธีลดค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสม และการแก้ไขปัญหาเรื่องสภาพคล่องทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ยิ่งไปกว่านั้นแผนการที่มีการปรับปรุงเรียบร้อยแล้วควรจะเอื้อต่อการระดมเงินทุนเพราะ ผู้บริจาคและรัฐบาลรู้สึกมั่นใจว่าเงินทุนที่อนุมัติมาให้นั้น จะถูกนาไปลงทุนอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพของระบบพื้นที่คุ้มครอง องค์ประกอบที่ 3 – เครื่องมือสาหรับการจัดหาและการจัดสรรเงินรายได้ ระบบพื้นที่คุ้มครองจะมีกลไกในการบริหารด้านการเงินทั้งที่มีอยู่และอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขตามลาดับความสาคัญและความจาเป็นด้าน
  • 23. - 20 - การบริหารจัดการ กลไกที่สาคัญประการหนึ่งคือ การกระจายแหล่งเงินรายได้ให้มีความหลากหลายที่เพิ่มขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ตลอดจน ลดการพึ่งพางบประมาณของรัฐบาลที่มีอยู่อย่างจากัด แหล่งเงินรายได้ของระบบพื้นที่คุ้มครองอาจจะรวมถึงแหล่งเงินทุนอื่นๆ (เช่น ค่าธรรมเนียมที่เก็บจาก นักท่องเที่ยว) และแหล่งเงินการลงทุนใหม่ๆ เช่น สัญญาสัมปทานด้านการท่องเที่ยว การจ่ายค่าน้าที่เกิดจากการบริการของระบบนิเวศ เป็นต้น ในบางกรณี ยังหมายถึงการควบคุมการลดลงของแหล่งรายได้ด้วย องค์ประกอบ 1 – ปริบทด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบและองค์กร 1 –กฎหมาย กฎ ระเบียบ นโยบายที่มีส่วนสนับสนุนการหาเงินรายได้ของพื้นที่ คุ้มครอง ไม่มี (0) มีบ้าง (1) มีมาก (2) มีเต็มที่ (3) ความเห็น (i) กฎหมายหรือนโยบายปัจจุบันสามารถอานวยความสะดวกต่อกลไกการสร้างรายได้ ให้แก่พื้นที่คุ้มครองได้ ระบุกลไกการสร้างรายได้ที่ไม่ได้รับอนุญาต ตามกรอบของกฎหมายปัจจุบัน (ii) เครื่องมือทางการเงิน เช่น ค่าธรรมเนียมการใช้พื้นที่เพื่อการท่องเที่ยว การจ่ายค่าน้า หรือการยกเว้นภาษีอื่นๆที่มีส่วนส่งเสริมระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง 2 – กฎหมาย กฎ ระเบียบ นโยบายที่มีส่วนสนับสนุนต่อการเก็บรักษาระดับเงินรายได้ และการจัดสรรเงินรายได้ให้พื้นที่คุ้มครอง ไม่มี (0) กาลังจัดทา (1) มีแล้ว แต่ต้อง ปรับปรุง (2) มีแล้ว น่า พอใจด้วย (3)
  • 24. - 21 - (i) กฎหมายหรือนโยบายปัจจุบันช่วยสนับสนุนให้มีการเก็บรักษาเงินรายได้ของพื้นที่ คุ้มครองให้มั่นคง (ทั้งในระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่แต่ละแห่ง) ระบุร้อยละ ที่จะต้องรักษาระดับไว้ให้ได้: (ii) กฎหมายหรือนโยบายในปัจจุบันมีส่วนช่วยสนับสนุนให้มีการเก็บรักษาเงินรายได้ ของพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่งให้มั่นคง ระบุร้อยละ ที่จะต้องรักษาระดับไว้ให้ได้: (iii) กฎหมายหรือนโยบายในปัจจุบันมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดสรรเงินรายได้ของพื้นที่ คุ้มครองให้กับผู้ใช้ประโยชน์ในระดับท้องถิ่น ระบุร้อยละ ที่จะต้องนามาแบ่งปันกัน: 3 – เงื่อนไขทางกฎหมาย ระเบียบในการจัดตั้งกองทุน (การบริจาค ทั้งแบบครั้งเดียวจบ และต่อเนื่อง) ไม่มี (0) มีแล้ว (1) มีแล้วแต่ เงินทุน ค่อนข้าง จากัด (2) มีแล้วและ มีเงินทุน เพียงพอ (3) (i) มีการจัดตั้งกองทุนหรือเงินทุนเพื่อสนับสนุนระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง (ii) มีการจัดตั้งกองทุนหลายๆกองทุนเพื่อสนับสนุนพื้นที่คุ้มครองแห่งใดแห่งหนึ่งเป็น การเฉพาะ (iii) การใช้เงินของกองทุนถูกนาไปรวมกับการวางแผนทางการเงินและระบบบัญชีใน ระดับชาติ 4 - ปริบทด้านกฎหมาย นโยบายและระเบียบต่างๆที่เอื้ออานวยต่อการบริหารจัดการ วิธีการอื่นๆที่เป็ นทางเลือกสาหรับการจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อเป็ นการลดภาระ ค่าใช้จ่ายสาหรับรัฐบาล ไม่มี (0) กาลังจัดทา (1) มีแล้ว แต่ต้อง ปรับปรุง (2) มีแล้วและ น่าพอใจ (3)
  • 25. - 22 - (i) มีกฎหมายหรือกฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวกับการอนุญาตให้สัมปทานเพื่อการ บริการของพื้นที่คุ้มครอง (ii) มีกฎหมายหรือกฎระเบียบข้อบังคับที่อนุญาตให้มีการบริหารจัดการอย่างมีส่วน ร่วมในพื้นที่คุ้มครอง (iii) มีกฎหมายหรือกฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวกับการอนุญาตให้มีการบริหารจัดการ พื้นที่คุ้มครองในระดับท้องถิ่น (iv) มีกฎหมายที่อนุญาต หรือส่งเสริมหรือควบคุมการดาเนินงานของภาคเอกชนใน พื้นที่คุ้มครอง 5 - นโยบายและกลยุทธ์ด้านการเงินของพื้นที่คุ้มครองในระดับชาติ (i) มีนโยบายด้านการเงินและ/หรือกฎระเบียบที่สาคัญ ที่มีกลยุทธ์ด้านการเงิน ดังต่อไปนี้: - ข้อมูลและแผนด้านการเงินที่ได้มาตรฐานและเข้าใจง่าย (เป็นระบบบัญชีที่อิงอยู่กับ กิจกรรมและการสนับสนุน) - ระดับการหารายได้และค่าธรรมเนียมในพื้นที่คุ้มครองทั้งระบบ ระบุอัตราค่าธรรมเนียมสาหรับระบบพื้นที่ คุ้มครอง - การจัดสรรเงินงบประมาณให้แก่ พื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่ง (โดยมีหลักเกณฑ์ จานวน ความเสี่ยง แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณ การดาเนินงาน ฯลฯ) แจกแจงหลักเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณ - มีหลักประกันว่าการจัดหารายได้จะไม่ส่งผลกระทบต่อเป้ าหมายด้านการอนุรักษ์ของ พื้นที่คุ้มครอง
  • 26. - 23 - - แผนการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้ง ข้อมูลด้านการเงินหรือแผนการดาเนิน ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง (ii) การกาหนด, การปรับปรุงและการบังคับใช้กลยุทธ์ด้านการเงินระดับชาติ ยังไม่เริ่ม (0) กาลัง ดาเนินการ (1) เสร็จแล้ว (2) อยู่ในขั้นนา ไปบังคับใช้ (3) 6 – การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบพื้นที่คุ้มครอง (การให้บริการของ ระบบนิเวศ การท่องเที่ยว ฯลฯ) ไม่มี (0) มีบางส่วน (1) น่าพอใจ (2) เต็มที่ (3) (i) มีการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่คุ้มครองที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนา ในระดับท้องถิ่นและระดับชาติหรือไม่ ระบุข้อมูลสรุปที่ได้การศึกษามา (ii) การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่คุ้มครองมีผลต่อการตัดสินใจของผู้มี อานาจหรือไม่ ระบุผลต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 7 - การปรับปรุงเงินงบประมาณของรัฐบาลเพื่อระบบพื้นที่คุ้มครอง ไม่มี (0) บางส่วน (2) มี (3) อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลง (i) รัฐบาลมีนโยบาย สนับสนุนเงินงบประมาณให้แก่พื้นที่คุ้มครอง โดยพิจารณาจาก ความต้องการด้านการเงิน ตามที่ระบุไว้ในแผนบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง (ii) งบประมาณของพื้นที่คุ้มครอง จะพิจารณารวมถึงกองทุนเพื่อดาเนินการลด ความเสี่ยงด้านการเงินในเขตพื้นที่กันชน (เช่น การดารงชีวิตของชุมชนที่อยู่รอบๆ พื้นที่คุ้มครอง)
  • 27. - 24 - (iii) ขั้นตอนของงานธุรการ (เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง) การอานวยความสะดวกในการ เบิกจ่ายงบประมาณ การลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการลดงบประมาณในอนาคต อันเนื่องมาจากยอดการเบิกจ่ายต่า (iv) รัฐบาลมีแผนที่จะเพิ่มงบประมาณในระยะยาว เพื่อลดช่องว่างทางการเงินของ พื้นที่คุ้มครอง 8 – ความชัดเจนขององค์กรที่มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงิน ของพื้นที่คุ้มครอง ไม่มี (0) บางส่วน (1) กาลัง ปรับปรุง (2) เต็มที่ (3) (i) องค์กรมีอานาจหน้าที่ที่ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการเงิน ของพื้นที่คุ้มครอง 9 – พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องการและมีส่วนสนับสนุนการดาเนินงานทั้งในระบบพื้นที่ คุ้มครองและระดับพื้นที่และมีความชัดเจน ไม่มี (0) บางส่วน (1) เกือบบรรลุ เป้ าหมาย (2) เต็มที่ (3) (i) หน่วยงานส่วนกลางมีการวางโครงสร้างองค์กรเพื่อดูแลพื้นที่คุ้มครองที่ ประกอบด้วย นักวิชาการป่ าไม้ เจ้าพนักงานป่ าไม้ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ด้านงบประมาณ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ที่เพียงพอเพื่อการบริหารจัดการ ระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง อธิบายบทบาท: (ii) มีโครงสร้างองค์กร (เช่น หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลพื้นที่คุ้มครอง) และมีอานาจ หน้าที่และประสานงานเพื่อการจัดการด้านการเงินของพื้นที่คุ้มครองที่เหมาะสม
  • 28. - 25 - (iii) พื้นที่คุ้มครองในระดับภูมิภาคและระดับพื้นที่ มีพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีศักยภาพใน การสนับสนุนด้านการบริหารการเงินอย่างยั่งยืน (iv) หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่งมีความรับผิดชอบ ด้านการบริหารจัดการการเงิน การประหยัดค่าใช้จ่ายและการจัดหารายได้ที่มีประสิทธิภาพ (v) มีการสร้างแรงจูงใจเพื่อกระตุ้นให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองส่งเสริมความยั่งยืนทาง การเงินในระดับพื้นที่ (เช่น การจัดหารายได้สาหรับพื้นที่คุ้มครองและไม่เคยถูกตัด งบประมาณ) (vi) มีการประเมินผลการทางานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง ประกอบด้วยการประเมิน แผนด้านการเงิน การจัดหารายได้ การจัดเก็บค่าธรรมเนียมและการบริหารจัดการอย่าง ประหยัด (vii) พนักงานเจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบบัญชี ของระบบการเงินของพื้นที่คุ้มครอง (viii) หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีความรู้ความสามารถที่จะจัดสรรงบประมาณและวางแผน ด้านงบประมาณในระยะยาว (เช่น 5 ปีขึ้นไป) คะแนนรวมขององค์ประกอบที่ 1 คะแนนที่แท้จริง : คะแนนที่เป็นไปได้: % ของความสาเร็จ
  • 29. - 26 - องค์ประกอบที่2 - การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณและเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการอย่างประหยัด 1 - การวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณในระดับพื้นที่คุ้มครอง ยังไม่เริ่ม (0) เพิ่งเริ่ม (1) เกือบเสร็จ (2) เสร็จ เรียบร้อย (3) (i) คุณภาพของแผนบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองประกอบด้วย วัตถุประสงค์ด้านการ อนุรักษ์, ความต้องการด้านการบริหารจัดการและค่าใช้จ่ายตามที่มีการวิเคราะห์อย่างมี ประสิทธิภาพ การจัดลาดับควรจะคานึงถึงเรื่องคุณภาพของ การวางแผนบริหารจัดการ (ii) มีการใช้แผนการบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครองทุกแห่งทั่วทั้งระบบ ระบุร้อยละของพื้นที่คุ้มครองที่มีแผนการ บริหารจัดการ (iii) มีแผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณ ที่เป็นรูปแบบมาตรฐานและเชื่อมโยงกับ แผนการบริหารจัดการและเป้ าหมายด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (iv) กาหนดให้มีการบังคับใช้แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณในพื้นที่คุ้มครองต่างๆทั้ง ระบบ สามารถตรวจวัดหรือประเมินผลได้จากเป้ าหมายต่างๆที่วางไว้ (v) แผนยุทธศาสตร์ด้านงบประมาณสาหรับพื้นที่คุ้มครองจะมีผลต่อการวางแผนและ การกาหนดงบประมาณทั้งระบบ (vi) การตรวจสอบค่าใช้จ่ายงบประมาณในการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ และการ บริหารจัดการซึ่งจะต้องสอดคล้องกันกับแนวทางที่มีประสิทธิภาพในการลดค่าใช้จ่าย และการจัดทารายงานการดาเนินงานด้านการเงิน
  • 30. - 27 - 2 – ระบบการตรวจสอบและมีการควบคุมระบบบัญชีที่มีความโปร่งใสและมี ประสิทธิภาพ ไม่มี (0) บางส่วน (1) เกือบเสร็จ (2) เสร็จ สมบูรณ์ (3) (i) มีการใช้จ่ายเงินงบประมาณอย่างโปร่งใส (ทั้งในแง่การลงทุนและการบริหารจัดการ) และมีการควบคุมระบบบัญชีที่เหมาะกับระบบการบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครอง (ii) มีระบบการตรวจสอบรายได้ของพื้นที่คุ้มครองและมีการปฏิบัติตามระบบที่วางไว้ อย่างเคร่งครัด (iii) มีระบบที่เอื้ออานวยต่อการเก็บข้อมูลทางบัญชีงบประมาณ ที่มีส่วนสนับสนุนต่อ การกาหนดงบประมาณและการวางแผนทั้งระบบ 3 - ระบบการติดตามและการรายงานผลการปฏิบัติงานการจัดการด้านการเงิน ไม่มี (0) บางส่วน (1) เกือบสาเร็จ (2) สาเร็จ และมีการ ปฏิบัติจริง (3) (i) พนักงานเจ้าหน้าที่ประจาพื้นที่คุ้มครอง รายงานเรื่องรายได้และรายจ่ายทั้งหมดของ พื้นที่คุ้มครองให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ (ii) ถ้าเป็นไปได้ ให้มีการวัดผลและรายงานผลค่าตอบแทนทางการเงินจากการลงทุนที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว (เช่น ติดตามผลการเพิ่มขึ้นของรายได้จากนักท่องเที่ยว หลัง มีการจัดตั้งศูนย์บริการนักท่องเที่ยว เป็นต้น) (iii) มีระบบการรายงานและตรวจสอบเพื่อแสดงให้เห็นว่าทาไมจึงมีการจัดสรร งบประมาณให้แก่พื้นที่คุ้มครองพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งของหน่วยงานในส่วนกลาง
  • 31. - 28 - (iv) มีระบบการประเมินผลและการรายงานที่แสดงให้เห็นว่าพื้นที่คุ้มครองมีการใช้ เครื่องมือทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ (เช่น การเบิกจ่ายและการประหยัดค่าใช้จ่าย เป็นต้น) เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายในการบริหารจัดการ 4 - วิธีการจัดสรรเงินงบประมาณให้แก่พื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่ง ไม่ (0) ใช่ (2) (i) มีการจัดสรรเงินงบประมาณจากระดับชาติไปยังพื้นที่คุ้มครองแต่ละแห่ง โดยมี หลักเกณฑ์ที่เหมาะสมและได้รับความเห็นชอบแล้ว (เช่น จานวน ความเสี่ยง ความ ต้องการและการปฏิบัติงาน) (ii) เงินรายได้ที่ได้จากพื้นที่คุ้มครองที่มีการบริหารจัดการร่วมกันนั้นจะไม่ทาให้ งบประมาณจากรัฐบาลลดลง (ถ้ายังมีช่องว่างทางการเงินอยู่) 5 - การฝึ กอบรมและมีเครือข่ายสนับสนุนเพื่อช่วยให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถ บริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด ไม่มี (0) มีบางส่วน (1) เกือบเสร็จ (2) สมบูรณ์ (3) (i) หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีแนวทางการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการประหยัด ค่าใช้จ่ายและสามารถนาไปปฏิบัติจริง (ii) มีเครือข่ายระหว่างพื้นที่คุ้มครองด้วยกัน เพื่อให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถ แบ่งปันข้อมูลระหว่างกันในเรื่องค่าใช้จ่าย การปฏิบัติและผลกระทบที่เกิดขึ้น (iii) มีการเปรียบเทียบเรื่องค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการบริหารงานระหว่างพื้นที่ คุ้มครองด้วยกัน เพื่อการตรวจวัดประสิทธิภาพในการทางานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง (iv) มีระบบการเรียนรู้และระบบการตรวจสอบการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัดค่าใช้จ่าย ที่เอื้ออานวยประโยชน์ต่อนโยบายและการวางแผนระบบการบริหาร จัดการ