SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ปัญหากลุ่มพรรคพวก
บทนิยาม1.
ปัญหากลุ่มพรรคพวก (อังกฤษ: Clique problem) เป็นหนึ่ง
ในปัญหากราฟที่เป็นเอ็นพีบริบูรณ์ (ปัญหาใด ๆ ในกลุ่ม
ปัญหา เอ็นพี สามารถลดรูปมาเป็นปัญหาใน เอ็นพีบริบูรณ์
ได้) เนื่องมาจากว่าถ้ามีกลุ่มพรรคพวกที่มีขนาด k ในกราฟ
G จะมีเซตอิสระขนาด k ในกราฟ G̅ เสมอ เพราะฉะนั้นเรา
สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนว่าปัญหากลุ่มพรรคพวกกับปัญหา
เซตอิสระสามารถ ลดรูป ระหว่างสองปัญหาได้
กลุ่มพรรคพวก ( clique ) ภายในกราฟหมายถึง เซตของจุดที่
ระหว่างคู่ใดๆมีด้านเชื่อมกัน หรือพูดอีกอย่างก็คือ กลุ่มพรรค
พวกเป็น complete induced sub graph โดยปัญหากลุ่ม
พรรคพวกคือ ปัญหาที่ตัดสินว่ากราฟที่กาหนดมีกลุ่มพรรคพวก
ที่มีขนาด k หรือไม่ เราอาจจะนิยามปัญหานี้ได้อีกแบบก็คือ ให้
หากลุ่มพรรคพวกที่ใหญ่ที่สุดในกราฟที่กาหนดหรือ หากราฟ
ย่อยที่เป็นกราฟบริบูรณ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เช่น ในรูปจะเห็น
ได้ชัดเจนว่า ระหว่างจุด 1 2 และ 5 มีด้านเชื่อมถึงกันหมด ใน
กรณีนี้เราเรียกว่าทั้งสามจุดนี้เป็นกลุ่มพรรคพวกที่มีขนาด
เท่ากับ 3
อัลกอริทึมที่ใช้ในการแก้ปัญหา2.
วิธีโบรน-เคอร์โบสท์ ( Bron–Kerbosch algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีการหากลุ่ม
พรรคพวกที่ใหญ่ที่สุดในกราฟไม่ระบุทิศทาง คือการระบุสับเซตทั้งหมดของจุดยอด ประกอบด้วย
คุณสมบัติสองประการคือ แต่ละคู่ของจุดยอดของสับเซตที่ถูกระบุแต่ละครั้งจะต้องถูกเชื่อมโดยเส้นเชื่อม
เสมอ และ ไม่มีสับเซตใดที่จะมีจุดยอดเพิ่มเติมถูกเพิ่มเข้าไปในสับเซตขณะที่มันเป็นการเชื่อมต่อที่
บริบูรณ์ แม้ว่าขั้นตอนวิธีอื่นๆ สาหรับการแก้ปัญหากลุ่มพรรคพวก (clique problem) จะมีเวลา
การทางานดีกว่าในทางทฤษฎีสาหรับข้อมูลขาเข้าที่เป็นเซตอิสระขนาดใหญ่สุด (maximal
independent set) จานวนน้อยๆ แต่ขั้นตอนวิธีโบรน-เคอร์โบสท์ และการปรับปรุงจากขั้นตอนวิธีนี้
ถูกรายงานบ่อยครั้งว่ามีประสิทธิภาพดีกว่าแบบอื่นๆ ในทางปฏิบัติ
การแก้ปัญหาโดยวิธีโบรน-เคอร์โบสท์ มี 3 รูปแบบ ดังนี้
Bron–Kerbosch algorithm
1.
แบบไม่มีแกนหลัก
ซึ่งเป็นรูปแบบพื้นฐานของขั้นตอนวิธีโบรน-เคอร์โบสท์ คือขั้นตอน
วิธีการย้อนรอยแบบเวียนเกิด (recursive backtracking) ที่ค้นหากลุ่มพรรคพวกที่
ใหญ่ที่สุดในกราฟ G โดยทั่วไป กาหนดให้มีสามเซต R P และ X แล้วมันจะทาการ
หากลุ่มพรรคพวกที่ใหญ่ที่สุด
การเวียนเกิดนี้เริ่มต้นโดยกาหนดให้เซต R และ X เป็นเซตว่าง และให้
P เป็นเซตของจุดยอดของกราฟ โดยภายในการเรียกการเวียนเกิดแต่ละครั้ง จะมีการ
พิจารณาจุดยอดใน P ถ้าไม่มีจุดยอดใดๆเลย ก็จะให้ R เป็นกลุ่มพรรคพวกที่ใหญ่
ที่สุด (ในกรณีที่ X เป็นเซตว่าง) หรือให้ย้อนรอย สาหรับแต่ละจุดยอด v ที่ถูกเลือก
จาก P มันจะทาการเรียกการเวียนเกิด
ซึ่ง v ถูกเพิ่มเข้าไปใน R  Exam. v = 1 ; R = {1}
และ P ถูกจากัดไว้สาหรับจุดยอดประชิดของ v (N(v))
Exam. N(v) = 2,3 ; P = { 2, 3 }
เมื่อย้อนรอยเสร็จแล้วจะทาการย้าย v จาก P ไปยัง X และทาต่อไป
เรื่อยๆ กับจุดยอดต่อไปใน P  Exam. P = {2,3,4} X = {1}
“
ตัวอย่างการแก้ปัญหาโดย วิธีโบรน-เคอร์โบสท์
แบบไม่มีแกนหลัก
2.
แบบมีแกนหลัก
เพื่อที่จะประหยัดเวลาและให้ขั้นตอนวิธีดังกล่าวย้อนรอยได้อย่างรวดเร็ว
โบรนและเคอร์โบสท์ได้นาเสนอขั้นตอนวิธีที่ต่างออกไปเกี่ยวกับ จุดยอดแกนหลัก (pivot
vertex) u ซึ่งถูกเลือกจาก P โดยที่ u เป็นจุดยอดที่มีดีกรีสูงที่สุดในกราฟ และ กลุ่ม
พรรคพวกที่ใหญ่ที่สุดใดๆ ต้องประกอบด้วย u หรือ จุดยอดหนึ่งที่ไม่ใช่จุดยอดประชิด
ของ u นอกนั้น กลุ่มพรรคพวกสามารถที่จะขยายโดยเพิ่ม u เข้าไป ดังนั้น เฉพาะ u
และจุดยอดที่ไม่ใช่จุดยอดประชิดของมันต้องถูกทดสอบเพื่อเป็นตัวเลือกสาหรับจุดยอด v
ที่จะถูกรวมเข้ากับ R ในแต่ละครั้งของการเรียกการเวียนเกิด รูปแบบนี้จะลดเวลาการ
ทางานลงได้มากเมื่อเทียบกับแบบไม่ใช้แกนหลัก
“
ตัวอย่างการแก้ปัญหาโดย วิธีโบรน-เคอร์โบสท์ แบบมีแกนหลัก
โดยจุดยอดแกนหลัก(u)ของกราฟนี้คือ 4 จากนั้นลบ u = 4 ออกจาก P
หาจุดยอดที่ไม่เป็นจุดยอดประชิดของ 4 คือ P/N(4) = {1,2,3,5,6,7} / {1,2,3,5,6} = {7}
ดังนั้น กลุ่มพรรคพวกที่ใหญ่ที่สุดใดๆ ต้องประกอบด้วย 4 และ 7
3.
แบบลาดับจุดยอด
เป็นรูปแบบที่ผสมระหว่าง รูปแบบมีแกนและไม่มีแกน แต่มีการเลือกจุด
ยอดแบบเรียงลาดับ จากจุดยอดที่มีดีกรีน้อยที่สุดไปมากที่สุด
ในการเรียกการเวียนเกิดในขั้นตอนวิธีนี้ชั้นของการเวียนเกิดที่อยู่ต่ากว่า
ชั้นบนสุดยังคงต้องใช้แบบมีแกนหลักอยู่
จากกราฟนี้การลาดับที่เป็นไปได้คือ 6,4,3,1,2,5
เปรียบเทียบทั้งสามรูปแบบ
ในการแก้ปัญหา
3.
Clique-ปัญหากลุ่มพรรคพวก

More Related Content

What's hot

Modul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum Merdeka
Modul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum MerdekaModul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum Merdeka
Modul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum MerdekaModul Guruku
 
RPP matematika kelas 4
RPP matematika kelas 4RPP matematika kelas 4
RPP matematika kelas 4Erma Yafi
 
Graf ( Matematika Diskrit)
Graf ( Matematika Diskrit)Graf ( Matematika Diskrit)
Graf ( Matematika Diskrit)zachrison htg
 
Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013
Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013
Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013Lusia Astuti
 
RPP Himpunan KURIKULUM 13
RPP Himpunan KURIKULUM 13RPP Himpunan KURIKULUM 13
RPP Himpunan KURIKULUM 13Ana Safrida
 
LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)
LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)
LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)Yoshiie Srinita
 
Metode numerik-buku-ajar-unila
Metode numerik-buku-ajar-unilaMetode numerik-buku-ajar-unila
Metode numerik-buku-ajar-unilatejowati
 
Lkpd pola bilangan (2)
Lkpd pola bilangan (2)Lkpd pola bilangan (2)
Lkpd pola bilangan (2)Cecep Aceng
 
Contoh tugas rpp matematika
Contoh tugas rpp matematikaContoh tugas rpp matematika
Contoh tugas rpp matematikaRasmitadila Mita
 
Modul sa-07-homomorfisma
Modul sa-07-homomorfismaModul sa-07-homomorfisma
Modul sa-07-homomorfismaYadi Pura
 
RPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, Statistika
RPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, StatistikaRPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, Statistika
RPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, Statistikaidapurnama7475
 
Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5
Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5
Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5Arvina Frida Karela
 
SPLDV (Metode Grafik) p-2
SPLDV (Metode Grafik) p-2SPLDV (Metode Grafik) p-2
SPLDV (Metode Grafik) p-2Shinta Novianti
 
RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016
RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016
RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016Yadin Al-Syaffr
 
rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)
rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)
rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)Aisyah Turidho
 

What's hot (20)

Modul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum Merdeka
Modul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum MerdekaModul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum Merdeka
Modul Ajar Kelas 10 Matematika Fase E Kurikulum Merdeka
 
GERAK MELINGKAR
GERAK MELINGKARGERAK MELINGKAR
GERAK MELINGKAR
 
RPP matematika kelas 4
RPP matematika kelas 4RPP matematika kelas 4
RPP matematika kelas 4
 
Graf ( Matematika Diskrit)
Graf ( Matematika Diskrit)Graf ( Matematika Diskrit)
Graf ( Matematika Diskrit)
 
Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013
Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013
Rpp Refleksi (Pencerminan) SMP Kelas 7 Kurikulum 2013
 
RPP Himpunan KURIKULUM 13
RPP Himpunan KURIKULUM 13RPP Himpunan KURIKULUM 13
RPP Himpunan KURIKULUM 13
 
Integral Lipat Tiga
Integral Lipat TigaIntegral Lipat Tiga
Integral Lipat Tiga
 
LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)
LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)
LAS/LKS Statistik Kelas X Kurikulum 2013 (Matematika)
 
Tabung
TabungTabung
Tabung
 
Metode numerik-buku-ajar-unila
Metode numerik-buku-ajar-unilaMetode numerik-buku-ajar-unila
Metode numerik-buku-ajar-unila
 
Lkpd pola bilangan (2)
Lkpd pola bilangan (2)Lkpd pola bilangan (2)
Lkpd pola bilangan (2)
 
Contoh tugas rpp matematika
Contoh tugas rpp matematikaContoh tugas rpp matematika
Contoh tugas rpp matematika
 
Modul sa-07-homomorfisma
Modul sa-07-homomorfismaModul sa-07-homomorfisma
Modul sa-07-homomorfisma
 
RPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, Statistika
RPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, StatistikaRPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, Statistika
RPP Kurikulum 2013,LATIHAN SCIENTIFIC, Statistika
 
Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5
Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5
Analisis Real (Barisan dan Bilangan Real) Latihan bagian 2.5
 
SPLDV (Metode Grafik) p-2
SPLDV (Metode Grafik) p-2SPLDV (Metode Grafik) p-2
SPLDV (Metode Grafik) p-2
 
RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016
RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016
RPP Kurikulum 2013 Geometri PPGT UNNES Tahun 2016
 
8. rpp bab 1 persamaan trigonometri
8. rpp bab 1 persamaan trigonometri8. rpp bab 1 persamaan trigonometri
8. rpp bab 1 persamaan trigonometri
 
rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)
rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)
rpp operasi bentuk aljabar (aisyah turidho)
 
Himpunan fuzzy
Himpunan fuzzyHimpunan fuzzy
Himpunan fuzzy
 

Clique-ปัญหากลุ่มพรรคพวก