SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
แผนบริหารความต่อ 
Business 
Continuity 
Plan 
เนื่อง
องค์การบริหารส่วน 
ตำาบลแม่สัน 
อำาเภอห้างฉัตร 
จังหวัดลำาปาง 
ประกาศองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 
เรื่อง แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์กร ขององค์การบริหาร 
ส่วนตำาบลแม่สัน 
…………………………………….. 
ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท ๐๘๑๒/ว ๑๙๖๔ 
ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ เรื่องการดำาเนินการเตรียมความพร้อม 
ต่อสภาวะวิกฤต ซึ่งสำานักงาน กพร. ได้แจ้งมติคณะรัฐมนตรีในการ 
ประชุมเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๕ เห็นชอบแนวทางและมาตรการ 
ที่กำาหนดให้หน่วยงานของรัฐ ทั้งระดับกรม จังหวัด สถาน 
อุดมศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน และ 
รัฐวิสาหกิจ ดำาเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตขององค์การ 
เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง แม้เกิดสภาวะวิกฤต ดังนั้น 
อาศัยตามมติคณะรัฐมนตรี องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันจึงได้จัด 
ทำาแผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity 
Plan) เพื่อเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขึ้น 
จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน 
ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
นิกร ผัสดี 
(นายนิกร ผัสดี) 
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบล ปฏิบัติหน้าที่ 
นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 
-ก- 
คำานำา 
ตามที่ได้รับแจ้งจากอำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปางและกรมส่ง 
เสริมการปกครองท้องถิ่น ตามหนังสืออำาเภอห้างฉัตร ว่า 
สำานักงาน กพร. ได้แจ้งมติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 24 
เมษายน 2555 เห็นชอบแนวทางและมาตรการที่กำาหนดให้หน่วยงานของ 
รัฐทั้งระดับกรม จังหวัด สถานอุดมศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
องค์การมหาชน และรัฐวิสาหกิจ ดำาเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะ 
วิกฤตขององค์การเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานใน “ภารกิจหลัก” หรือ “งาน 
บริการที่สำาคัญ” ได้อย่างต่อเนื่อง แม้เกิดสภาวะวิกฤตตามที่ ก.พ.ร. เสนอ 
และส านักงาน ก.พ.ร. ในฐานะได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักใน 
การสนับสนุนการดำาเนินการ ได้กำาหนดให้ทุกส่วนราชการจัดทำา “แผน 
บริหารความต่อเนื่องขององค์การ” (Business Continuity Plan) เพื่อ 
เตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต นั้น 
องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน อำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปาง 
ได้จัดทำา“แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ” (Business Continuity 
Plan) ฉบับนี้ขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมและสามารถ 
บริหารจัดการองค์การให้สามารถปฏิบัติงานใน “งานบริการหลักที่มีความ
สำาคัญ” ได้อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ แม้ต้อง 
ประสบสถานการณ์วิกฤต อันจะส่งผลต่อการสร้างความเชื่อมั่นในระบบ 
การให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน และระบบการให้บริการ 
ภาครัฐในภาพรวมต่อไป 
(นายนิกร ผัสดี) 
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ปฏิบัติ 
หน้าที่ 
นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 
24 ตุลาคม 2556 
-ข- 
สารบัญ 
หน้า 
คำานำา ก 
สารบัญ ข 
บทนำา 1 
แนวคิดพื้นฐานในการจัดทำาแผนบริหารความต่อเนื่อง 1 
วัตถุประสงค์ 1 
สมมติฐานของแผนความต่อเนื่อง 2 
การประเมินความเสี่ยง ภัยคุกคาม และผลกระทบ 2
ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง 5 
การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำาคัญ 5 
ทีมงานแผนความต่อเนื่อง 6 
โครงสร้างและทีมบริหารความต่อเนื่อง 6 
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง 9 
ขั้นตอนบริหารความต่อเนื่อง 10 
- กรณีเกิดอัคคีภัย 10 
- กรณีเหตุการณ์วาตภัย 11 
- กรณีเหตุการณ์อุทกภัย 12 
- กรณีเกิดไฟฟ้าดับ 14 
- กรณีเกิดเหตุชุมนุมประท้วง/จลาจล 14
แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business 
1.บทนำา 
Continuity Plan : BCP) 
แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity 
Plan : BCP) ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันฉบับนี้ จัดทำาขึ้นเพื่อให้ 
องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในราชการบริหารส่วนท้องถิ่นสามารถนำา 
ไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเกิดเหตุการณ์ 
ฉุกเฉินต่างๆ ซึ่งส่งผลให้องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดการ 
ดำาเนินงาน หรือไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง ให้สามารถปฏิบัติ 
งานใน “งานบริการหลักที่มีความสำาคัญ” ได้อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมี 
ประสิทธิภาพ 
2.แนวคิดพื้นฐานในการจัดทำาแผนบริหารความต่อเนื่อง : 
1) การบริหารความต่อเนื่อง : (Business Continuity 
Management : BCM) “คือ องค์รวมของ 
กระบวนการบริหารซึ่งบ่งภัยคุกคามขององค์กรและผลกระทบของภัย 
คุกคามนั้นต่อการดำาเนินธุรกิจ และให้แนวทางในการสร้างขีดความ 
สามารถให้องค์กรมีความยืดหยุ่น เพื่อการตอบสนองและปกป้องผล 
ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และกิจกรรมที่สร้าง 
มูลค่าที่มีประสิทธิผล” มอก. 22301-2553 
2) แนวทางการบริหารความต่อเนื่อง/การตอบสนองต่อสภาวะ 
วิกฤต : 
(2.1) ในระดับแรกเป็นการจัดการแผนเผชิญเหตุ ที่แสดง 
ให้เห็นว่าทำาอย่างไรให้การปฏิบัติงานมีความต่อเนื่องและสามารถให้ 
บริการได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ 
(2.2) เมื่อเหตุการณ์ขยายวงกว้างในระดับเกิดความเสีย 
หาย จะเริ่มเป็นวิกฤตขององค์กร 
องค์กร จึงต้องมีการบริหารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจ รวมทั้งการกอบ 
กู้ให้กลับมาทำางานได้เป็นปกติ ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการบริหารความต่อ 
เนื่อง คือ เพื่อให้องค์กรสามารถให้บริการได้ในระดับหนึ่งแม้จะประสบ 
สถานการณ์วิกฤต ซึ่งหน่วยงานต้องหาคำาตอบว่าระดับใดที่คิดว่าเหมาะสม 
และจำาเป็น 
(2.3) สามารถใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติได้จริงเมื่อเกิด 
ภาวะวิกฤต 
3.วัตถุประสงค์ (Objectives)
แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity Plan : 
BCP) ขององค์กาบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ฉบับนี้ จัดทำาขึ้นโดยมี 
วัตถุประสงค์สำาคัญ ดังนี้ 
1) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องขององค์การ 
บริหารส่วนตำาบลแม่สันในสภาวะวิกฤต 
2) เพื่อให้องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันมีการเตรียมความ 
พร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่เกิดขึ้น 
3) เพื่อลดผลกระทบจากการหยัดชะงักในการปฏิบัติงานหรือ 
การให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 
4) เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในสภาพที่ยอมรับได้ และลด 
ระดับความรุนแรงของผลกระทบ 
ที่เกิดขึ้น 
5) เพื่อให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์การ 
บริหารส่วนตำาบลแม่สัน มีความเชื่อมั่นในศักยภาพขององค์การบริหารส่วน 
ตำาบลแม่สันแม้ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทำาให้ 
การดำาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงัก 
-2- 
4.สมมติฐานของแผนความต่อเนื่อง (BCP Assumptions) 
แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity 
Plan : BCP) ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ฉบับนี้ จัดทำาขึ้น โดยมี 
สมมติฐาน ดังนี้ 
1) เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ 
ปฏิบัติงานสำารองที่ได้จัดเตรียมไว้ 
2) ระบบสารสนเทศสำารอง ไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ 
ฉุกเฉินเช่นเดียวกับระบบสารสนเทศหลัก 
5.การประเมินความเสี่ยง ภัยคุกคาม และผลกระทบ : 
ตามพระราชบัญญัติสภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล 
พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 ได้กำาหนดให้ 
องค์การบริหารส่วนตำาบลมีหน้าที่ดังนี้ 
มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนตำาบลมีอำานาจหน้าที่ในการ 
พัฒนาตำาบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 
มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วน 
ตำาบล มีหน้าที่ต้องทำาในเขตองค์การบริหารส่วนตำาบล ดังต่อไปนี้ 
(1) จัดให้มีและบำารุงรักษาทางนำ้าและทางบก 
(2) รักษาความสะอาดของถนน ทางนำ้า ทางเดิน และที่ 
สาธารณะ รวมทั้งกำาจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 
(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
(4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 
(5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
(6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ 
(7) คุ้มครอง ดูแล และบำารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง 
แวดล้อม 
(8) บำารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 
วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 
(9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบ 
ประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำาเป็นและสมควร 
มาตรา 68 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วน 
ตำาบลอาจจัดทำากิจการในเขตองค์การบริหารส่วนตำาบล ดังต่อไปนี้ 
(1) ให้มีนำ้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร 
(2) ให้มีและบำารุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 
(3) ให้มีและบำารุงรักษาทางระบายนำ้า 
(4) ให้มีและบำารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อน 
ใจและสวนสาธารณะ 
(5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์ 
(6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว 
(7) บำารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร 
(8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติ 
ของแผ่นดิน 
(9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วน 
ตำาบล 
(10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม 
(11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ 
(12) การท่องเที่ยว 
(13) การผังเมือง 
-3- 
และตามพระราชบัญญัติกำาหนดแผนและขั้นตอนการกระจา 
ยอำานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่ม 
เติม(ถึงฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และ 
องค์การบริหารส่วนตำาบลมีอำานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการ 
สาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองดังนี้ 
(1) การจัดทำาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง 
(2) การจัดให้มีและบำารุงรักษาทางบก ทางนำ้า และทางระบาย 
นำ้า 
(3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่ 
จอดรถ 
(4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ
(5) การสาธารณูปการ 
(6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ 
(7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน 
(8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว 
(9) การจัดการศึกษา 
(10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี 
คนชรา และผู้ด้อยโอกาส 
(11) การบำารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น 
และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 
(12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่ 
อยู่อาศัย 
(13) การจัดให้มีและบำารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 
(14) การส่งเสริมกีฬา 
(15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิ 
เสรีภาพของประชาชน 
(16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น 
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ 
บ้านเมือง 
(18) การกำาจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และนำ้าเสีย 
(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษา 
พยาบาล 
(20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน 
(21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ 
(22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ 
(23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และ 
การอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่นๆ 
(24) การจัดการ การบำารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่า 
ไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
(25) การผังเมือง 
(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร 
(27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ 
(28) การควบคุมอาคาร 
(29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 
(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุน 
การป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 
-4-
(31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น 
ตามที่คณะกรรมการประกาศกำาหนด 
ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ตั้งอยู่ที่บ้านส้มป่อย 
หมู่ที่ 6 ตำาบลแม่สัน อำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปาง อยู่ห่างจากอำาเภอ 
ห้างฉัตร ประมาณ 12 กิโลเมตรหมู่ที่ 6 บ้านส้มป่อย ตำาบลแม่สัน 
อำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปางมีข้าราชการฝ่ายการเมือง จำานวน 22 คน 
แยกเป็น ฝ่ายบริหารท้องถิ่น 4 คน ฝ่ายสภาท้องถิ่นจำานวน 18 คน 
และฝ่ายข้าราชการประจำารวมจำานวน 23 คน แยกเป็นข้าราชการประจำา 
จำานวน 16 คน พนักงานจ้าง จำานวน 7 คน 
พื้นที่รับผิดชอบ 
องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน มีเนื้อที่ทั้งหมด 73.90 
ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 46,188 ไร่ 
จำานวนหมู่บ้าน 
- องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน มีจำานวนหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน 
ได้แก่ 
หมู่ที่ 1 บ้านป่าเหียง มีจำานวน 275 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 2 บ้านลุ่มกลาง มีจำานวน 274 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 3 บ้านหัวทุ่ง มีจำานวน 208 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 4 บ้านแม่สัน มีจำานวน 53 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 5 บ้านโป่งขวาก มีจำานวน 248 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 6 บ้านส้มป่อย มีจำานวน 163 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 7 บ้านปันเต้า มีจำานวน 200 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 8 บ้านนาเงิน มีจำานวน 79 ครัวเรือน 
หมู่ที่ 9 บ้านหัวทุ่งพัฒนา มีจำานวน 190 ครัวเรือน 
รวมตำาบลแม่สันมีครัวเรือนทั้งสิ้น 1,590 
ครัวเรือน 
( ที่มา: ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์อำาเภอห้างฉัตร ณ 
เดือนธันวาคม 2555) 
ตำาบลแม่สันมีประชากรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ทั้งสิ้น 
4,596 คน แยกเป็น ชาย 2,262 คน หญิง 2,334 คน มีความ 
หนาแน่นเฉลี่ย 40 คน /ตารางกิโลเมตร โดยมีรายละเอียด 
-มีประชากรทั้งหมด 4,596 คน แบ่งเป็น 
ชาย 2,262 คน หญิง 2,334 คน 
เด็ก (ทารก – 6 ปี) 152 คน เด็ก (ทารก – 6 
ปี) 121 คน
เด็กโต (7-12 ปี) 126 คน เด็กโต (7-12 ปี) 
116 คน 
วัยรุ่น (13-17 ปี) 145 คน วัยรุ่น (13-17 ปี) 
124 คน 
ผู้ใหญ่(18-60 ปี) 1,558 คน ผู้ใหญ่(18-60 ปี) 
1,625 คน 
คนชรา ( 60 ปีขึ้นไป) 281 คน คนชรา ( 60 ปีขึ้นไป) 
348 คน 
(ข้อมูลประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ณ เดือน มกราคม 2556 : ฐาน 
ข้อมูลทะเบียนราษฎร์อำาเภอห้างฉัตร) 
-5- 
6.ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง (Scope of BCP) 
แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ใช้รับรองสถานการณ์ กรณี 
เกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่สำานักงานของหน่วยงาน 
ห รือ ภ า ย ใ น ห น่ ว ย ง า น ด้ ว ย เ ห ตุ ก า ร ณ์ต่ อ ไ ป นี้ 
1) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อั ค คี ภั ย 
2) เ ห ตุ ก า ร ณ์ ว า ต ภั ย 
3) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อุ ท ก ภั ย 
4) เ ห ตุ ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ดั บ 
5) เ ห ตุ ก า ร ณ์ชุ ม นุ ม ป ร ะ ท้ ว ง /จ ล า จ ล 
7.การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำาคัญ 
สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น 
เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการดำาเนินงานขององค์กรให้มี 
ความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำาคัญจึงเป็นสิ่งจำาเป็น และต้องระบุไว้ 
ในแผนความต่อเนื่อง ซึ่งการเตรียมการทรัพยากรที่สำาคัญ จะพิจารณา 
จากผลกระทบใน 5 ด้าน ดังนี้ 
1) ผลกระทบด้านอาคาร /สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมาย 
ถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำาให้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสีย 
หายหรือไม่สามารถใช้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้ และส่งผลให้ 
บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ชั่วคราวหรือระยะยาว
2) ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำาคัญ/การจัดหาจัดส่ง 
วัส ดุอุป ก รณ์ที่สำา คัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำา ให้ไม่ 
สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สำาคัญ หรือไม่สามารถจัดหา/จัดส่งวัสดุ 
อุ ป ก ร ณ์ ที่ สำา คั ญ ไ ด้ 
3) ผลกร ะทบด้านเทคโนโลยีสา รสนเทศและข้อมูลที่ 
สำาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำาให้ระบบงานเทคโนโลยี หรือ 
ระบบสารสนเทศ หรือข้อมูลที่สำาคัญไม่สามารถนำามาใช้ในการ 
ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ด้ ต า ม ป ก ติ 
4) ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิด 
ขึ้นทำา ให้บุคลากรหลักไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้ตามปกติ 
5) ผลกร ะทบด้านคู่ค้า / ผู้ให้บริกา รที่สำา คัญ หมายถึง 
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำาให้คู่ค้า/ ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วน 
เ สีย ไม่สามา รถติดต่อหรือให้บริกา รหรือส่งมอบง านได้ 
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อระบุความเสี่ยง ภัยคุกคามที่มีโอกาสเกิด 
ขึ้นในพื้นที่ปฏิบัติงาน โดยอาศัยแนวทางการวิเคราะห์ผลกระทบต่อ 
ทรัพยากร 5 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านอาคาร/สถานที่ (2) ด้านวัสดุอุปกรณ์ที่ 
สำาคัญ (3) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำาคัญ (4) ด้าน 
บุคลากรหลัก และ (5) ด้านคู่ค้า/ผู้ให้บริการ และสรุปความเสี่ยง ภัยคุกคาม 
ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันได้ดังนี้ 
-6- 
ความเสี่ยงและภัย 
คุกคาม 
ผลกระทบ 
ด้าน 
อาคาร/ 
สถานที่ 
ปฏิบัติ 
งานหลัก 
ด้านวัสดุ 
อุปกรณ์ 
ที่สำาคัญ 
ด้าน 
เทคโนโล 
ยี 
สารสนเท 
ศและ 
ข้อมูลที่ 
สำาคัญ 
ด้าน 
บุคลาก 
รหลัก 
ด้านคู่ 
ค้า / 
ผู้ให้ 
บริการ/ 
ผู้มีส่วน 
ได้เสีย 
อัคคีภัย / / / / / 
วาตภัย / / / / / 
อุทกภัย / / / / / 
ไฟฟ้าดับ / / /
ชุมนุมประท้วง/จลาจล / / / / / 
แผนความต่อเนื่อง(BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานใน 
กรณีที่เหตุขัดข้องเกิดขึ้นจากการดำาเนินงานปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าว 
ไม่ส่งผลกระทบในระดับสูงต่อการดำาเนินงานและให้บริการของหน่วยงาน 
ยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขสถานการณ์ได้ภายในระยะเวลาที่ 
เหมาะสม โดยผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละส่วนและฝ่ายงาน 
สามารถรับผิดชอบและดำาเนินการได้ด้วยตนเอง 
8. ทีมงานแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan Team) 
เพื่อให้แผนความต่อเนื่อง (BCP) ของฝ่ายบริหารทั่วไป 
สามารถนำาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จะต้องจัด 
ตั้งทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ขึ้น โดย BCP Team 
ประกอบด้วย หัวหน้าทีมงานบริหารความต่อเนื่อง และทีมงานบริหารความ 
ต่อเนื่องโดยทุกตำาแหน่งจะต้องร่วมมือกันดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืน 
เหตุการณ์ฉุกเฉินในฝ่ายงานของตนเอง ให้สามารถบริหารความต่อเนื่อง 
และกลับสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว ตามบทบาทหน้าที่ที่กำาหนดไว้ของทีมงาน 
บริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) และในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถ 
ปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสำารองรับผิดชอบทำาหน้าที่ในบทบาทของ 
บุคลากรหลัก ปรากฏดังตารางที่ 1 
9. โครงสร้างและทีมบริหารความต่อเนื่อง : 
เพื่อให้แผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity 
Plan : BCP) ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน สามารถนาไปปฏิบัติได้ 
อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จึงกาหนดให้มี “คณะบริหารความ 
ต่อเนื่อง (BCP Team)” ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน โดยที่ 
โครงสร้างประกอบด้วย 
1) หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง 
2) รองหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง 
3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง 
4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ซึ่งประกอบด้วย หัวหน้าทีม และทีม 
งาน จำานวน 3 ทีม ได้แก่ 
(1) ทีมบริหารความต่อเนื่อง 1 : ทีมงานบริหารความต่อ 
เนื่อง สำานักปลัด อบต.แม่สัน 
(2) ทีมบริหารความต่อเนื่อง 2 ทีมงานบริหารความต่อ 
เนื่อง กองคลัง 
(3) ทีมบริหารความต่อเนื่อง 3 : ทีมงานบริหารความต่อ 
เนื่อง ส่วนโยธา
-7- 
ตารางที่ 1 รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมงานบริหารความ 
ต่อเนื่อง (BCP Team) 
บุคลากรหลัก 
บทบาท 
บุคลากรสำารอง 
ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
ชื่อ-สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
นายก อบต.แม่ 
สัน 
- หัวหน้าคณะ 
บริหารความ 
ต่อเนื่อง 
อบต.แม่สัน 
-รองนายก 
อบต. (1) 
-รองนายก 
อบต. (2) 
- 
นายนิกร ผัสดี 
(ปลัด อบต.) 
086-914- 
6034 
รองหัวหน้า 
คณะบริหาร 
ความต่อเนื่อง 
อบต.แม่สัน 
นายอาคม 
จันมะโน 
(รองปลัด 
อบต.) 
085-523- 
1115 
นางรุวิตาภร 
เทพเสน 
(หน.สป.) 
084-043- 
2144 
หัวหน้าทีมงาน 
บริหารความ 
ต่อเนื่อง สำานัก 
ปลัด อบต.แม่ 
สัน 
นายกฤษฎา 
เทพภาพ 
(จนท.วผ.) 
085- 
7073-173 
นางโชติกา ปง 
แปง 
084-6114- 
550 
หัวหน้าทีม 
บริหารความ 
นางสาวฐานิ 
ตา 
085-616- 
9736 
หัวหน้าคณะบริหาร 
ความต่อเนื่อง 
อบต.แม่สัน 
รองหัวหน้าคณะ 
บริหารความต่อเนื่อง 
อบต.แม่สัน 
ผู้ประสานงานคณะ 
บริหารต่อเนื่อง 
ทีมงาน 
บริหาร 
ความต่อ 
เนื่อง สำา 
นักปลัดฯ 
ทีมงาน 
บริหาร 
ความต่อ 
เนื่อง กอง 
คลัง 
ทีมงาน 
บริหาร 
ความต่อ 
เนื่อง ส่วน 
โยธา
(ผอ.กองคลัง) ต่อเนื่องกอง 
คลัง 
เตชะ 
มงคล 
(นวก.การ 
เงินฯ) 
นายสิทธิโชค 
ปิ่นประยูร 
(หน.ส่วนโยธา) 
081-992- 
6739 
หัวหน้าทีม 
บริหารความ 
ต่อเนื่องส่วน 
โยธา 
นายวิสิฐศักดิ์ 
ธรรมชัย 
(นายช่าง 
โยธา) 
090-750- 
2074 
นางศิริวรรณ 
แสนทิพย์ 
(จพง.ธุรการ) 
087-1815- 
566 
ผู้ประสานคณะ 
บริหารความ 
ต่อเนื่อง อบต. 
แม่สัน 
นางสาวกมล 
ทิพย์ 
ศรี 
อรุณ 
(ผช.จนท.ธุรก 
าร) 
083-567- 
0706 
-8- 
ทีมบริหารความต่อเนื่อง 1 : 
ทีมบริหารความต่อเนื่องสำานักปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่ 
สัน 
หัวหน้าทีม 
บุคลากรหลัก บุคลากรรอง 
ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
นางรุวิตาภร 
เทพเสนา 
(หน.สป.) 
084-043- 
2144 
นายกฤษฎา เทพ 
ภาพ 
(จนท.ผว.) 
085- 
7073-173 
นายกฤษฎา เทพ 
ภาพ 
(จนท.วผ.) 
085-7073- 
173 
นางศริวรรณ แสน 
ทิพย์ 
(จพง.ธุรการ) 
087- 
1815-566 
นายชัยยศ ฮาวปิน 
ใจ 
(บุคลากร) 
086-6596- 
625 
นางสาวกมลทิพย์ ศรี 
อรุณ 
(ผช.จนท.ธุรการ) 
083- 
5670-760 
นางสาวปริศรา วัน 
ทะยะ 
(นวก. ศึกษา) 
089-1910- 
302 
- นางอัฉรา จำาฟู 
(หน.ศพด.) 
083- 
7650-425 
นางสุพัตรา ปูสาร 
(จพง.พัฒนาชุมชน) 
083-2853- 
509 
นางบุญเตี่ยม ลือราช 
(ครูผู้ดูแลเด็ก) 
086- 
1909-982
นางศิริวรรณ แสน 
ทิพย์ 
(จพง.ธุรการ) 
087-1815- 
566 
นายศิธานนท์ พุทธิมา 
(พนักงานขับรถยนต์) 
080- 
4961-521 
นายธวัชชัย แก้วคำา 
แดง 
(พนักงานดับเพลิง) 
084-8039- 
465 
นายวนชัย นามะเสน 
(พนักงานขับรถยนต์) 
086- 
5877-144 
ทีมบริหารความต่อเนื่อง 2 : 
ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลังองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 
หัวหน้าทีม 
บุคลากรหลัก บุคลากรรอง 
ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
นางโชติกา ปงแปง 
(ผอ.กองคลัง) 
084-6114- 
550 
นางสาวฐานิตา เต 
ชะมงคล 
(นวก.การเงินและ 
บัญชี) 
085-6169- 
736 
นางสาวฐานิตา เต 
ชะมงคล 
(นวก.การเงินและ 
บัญชี) 
085-6169- 
736 
นางสาวนุจรินทร์ 
ดวงยา 
(ผช.จนท.การเงิน 
และบัญชี) 
083-8641- 
110 
นางธนัชยา ลังกา 
(นวก.จัดเก็บรายได้) 
086-9186- 
352 
- นางจันทร์เพ็ญ ทา 
วงศ์มาธนากร 
(ครูผู้ดูแลเด็ก) 
084-6136- 
166 
นางณัฐชยา เปียง 
ใจ 
(จพง.พัสดุ) 
080-1216- 
529 
นางสาวสุริวัลย์ สุภา 
พันธ์ 
(ผช.จนท.พัสดุ) 
085-0317- 
906 
-9- 
ทีมบริหารความต่อเนื่อง 3 : 
ทีมบริหารความต่อเนื่องส่วนโยธาองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่ 
สัน 
หัวหน้าทีม 
บุคลากรหลัก บุคลากรรอง
ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ 
มือถือ 
นายสิทธิโชค ปิ่น 
ประยูร 
(หน.ส่วนโยธา) 
081-992- 
6739 
นายวิสิฐศักดิ์ ธรรม 
ชัย 
(นายช่างโยธา) 
090-750- 
2074 
10. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) 
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการจัดหาและบริหาร 
จัดการทรัพยากรให้มีความพร้อมเมื่อเกิดสภาวะวิกฤต ซึ่งพิจารณา 
ทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังตารางที่ 2 
ตารางที่ 2 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)
ทรัพยากร กลยุทธความต่อเนื่อง หน่วยงาน 
เจ้าภาพรับ 
ผิดชอบ 
อาคาร/สถานที่ 
ปฏิบัติงาน 
สำารอง 
กำาหนดใช้สถานที่สำารองที่อยู่ในอำาเภอ 
ห้างฉัตร (เป็นอันดับแรก ) เช่น 
สำานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 
อำาเภอห้างฉัตร ทั้งนี้ต้องมีการสำารวจ 
ความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน 
และการเตรียมความพร้อม กับ หน่วยงาน 
เจ้าของพื้นที่ 
สำานักปลัดฯ 
ส่วนโยธา 
วัสดุอุปกรณ์ที่ 
สำาคัญ/ การ 
จัดหาจัดส่งวัสดุ 
อุปกรณ์ที่สำาคัญ 
1) จัดเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพก 
พา(Note Book) เครื่องพิมพ์ อุปกรณ์ 
IT. อื่นเพื่อรองรับการใช้งานกรณีเกิด 
สภาวะวิกฤติ 
2) จัดเตรียม Air Card เพื่อรองรับการ 
เชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต กรณีผู้ให้ 
บริการอินเตอร์เน็ตในระบบปกติไม่ 
สามารถให้บริการได้ 
3) จัดเตรียมเครื่องถ่ายเอกสาร โทรศัพท์ 
พื้นฐาน โทรสาร กระดาษ เครื่องเขียน 
รถยนต์ เพื่อรองรับการใช้งานกรณีเกิด 
สถาวะวิกฤต 
4) จัดหาเครื่องมือ / วัสดุ / อุปกรณ์ ที่จา 
เป็นโดยการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีพิเศษ 
(กรณีมีความจาเป็น) 
กองคลัง 
เทคโนโลยี 
สารสนเทศและ 
ข้อมูลที่สำาคัญ 
1) จัดให้มีระบบงานเทคโนโลยีหรือระบบ 
สารสนเทศสารสำารอง มีการ Back UP 
ข้อมูลและทดสอบความพร้อมใช้งาน 
อย่างสม่าเสมอ 
2) กำาหนดให้มีการปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ 
ระบบเทคโนโลยี (Manual) ไปก่อน แล้ว 
จึงนาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเมื่อ 
กลับคืนสู่สภาวะปกติ 
สำานักปลัด
-10- 
ทรัพยากร กลยุทธความต่อเนื่อง หน่วยงาน 
11. ขั้นตอนบริหารความต่อเนื่อง : 
เพื่อให้องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันสามารถปฏิบัติงานใน 
สภาวะวิกฤตได้อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ จึงได้ 
กาหนดขั้นตอน/แนวทางปฏิบัติกรณีเกิดสภาวะวิกฤติใน 6 กรณี คือ 
1) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อั ค คี ภั ย 
2) เ ห ตุ ก า ร ณ์ ว า ต ภั ย 
3) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อุ ท ก ภั ย 
4) เ ห ตุ ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ดั บ 
5) เ ห ตุ ก า ร ณ์ชุ ม นุ ม ป ร ะ ท้ ว ง /จ ล า จ ล 
โดยระบุถึงขั้นตอน/แนวทางที่ผู้เกี่ยวข้องจะต้องถือปฏิบัติตาม 
ห้วงเวลาของการเกิดเหตุการณ์ในแต่ละเหตุการณ์ ออกเป็น 3 ห้วงเวลา 
ประกอบด้วย 
1) เมื่อเริ่มมีสถานการณ์ 
2) เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทำาให้ 
การปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง และ 
3) เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 
โดยมีรายละเอียดขั้นตอน/แนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 
11.1 กรณีเกิดอัคคีภัย : 
เมื่อเกิดเหตุการณ์ 
กำาหนดให้ถือปฏิบัติตาม “แผนป้องกันและบรรเทา 
สาธารณภัย” ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 
เจ้าภาพรับ 
ผิดชอบ 
บุคลากรหลัก 1) กำาหนดใช้บุคลากรสำารอง ทดแทน 
ภายในสำานัก/ส่วนเดียวกัน 
2) กำาหนดใช้บุคลากรนอกสำานัก/ส่วน ใน 
กรณีที่บุคลากรไม่เพียงพอหรือขาดแคลน 
ทุกสำานัก 
ส่วนกองที่ 
เกี่ยวข้อง 
คู่ค้า/ผู้ให้บริหาร 
ที่สำาคัญ/ผู้มีส่วน 
ได้เสีย 
1) กำาหนดให้มีคู่ค้า/ผู้ให้บริการ เพื่อเรียก 
ใช้บริการได้ในกรณีที่เกิดสภาวะวิกฤต 
2) พิจารณากระจายความเสี่ยง โดยจัด 
ให้มีคู่ค้า/ผู้ให้บริการมากกว่า 1 ราย 
กองคลัง 
สำานักปลัด 
ส่วนโยธา
เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 
1) ส่วนโยธาสำารวจความเสียหาย รายงานต่อปลัดองค์การ 
บริหารส่วนตำาบลแม่สัน และนายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ตาม 
สายบังคับบัญชา 
-11- 
2) กองคลัง ดำาเนินการจัดหาสถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุ 
อุปกรณ์ ฯลฯ ที่จำาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานให้กับสานัก/กอง ที่ได้รับผลก 
ระทบจากเหตุอัคคีภัย 
3) สำานักปลัด ดำาเนินการเกี่ยวกับระบบเชื่อมโยงเครือข่าย 
คอมพิวเตอร์ ณ สถานที่ปฏิบัติงานสำารองให้กับสำานัก/กองที่ได้รับผลกระ 
ทบ 
4) กำาหนดเป้าหมายให้สามารถเริ่มปฏิบัติงานได้ภายใน 72 
ชั่วโมง นับจากเหตุการณ์ กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 
11.2 กรณีเหตุการณ์วาตภัย : 
เมื่อเริ่มมีเหตุการณ์ : 
1) ศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ 
บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน 
ทำาหน้าที่ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร และสถานการณ์การเกิดอุทกภัย 
อย่างใกล้ชิด วิเคราะห์แนวโน้ม และรายงานผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น 
ทุกระยะ และแจ้งเวียนให้สานัก/กองทราบถึงสถานการณ์ 
2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานติดตาม 
สถานการณ์จากศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ 
บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน 
3) ทุกสานัก/กอง จัดให้มีการ Back UP ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับ 
การปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้อยู่ในระบบสารสนเทศ หรือระบบข้อมูลกลาง ลง 
อุปกรณ์สำารองข้อมูล อาทิ External Hard disk แผ่น CD ฯลฯ เพื่อป้องกัน 
ความเสียหายของข้อมูล รวมถึงเป็นการเตรียมข้อมูลสำาหรับการปฏิบัติงาน 
ในสภาวะวิกฤติ 
4) ส่วนโยธา ประสานงานในการเตรียมจัดหาสถานที่ปฏิบัติ 
งานสำารอง และกองคลังประสานในการเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ 
เพื่อเตรียมรับกับสถานการณ์หากพัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤติ
5) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ 
แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree เพื่อทราบ 
และเตรียมพร้อมในเบื้องต้น 
โดยกระบวนการจะเริ่มจาก 
1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งหัวหน้าทีม 
บริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม 
2) หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม แจ้ง ทีมงานฯ 
3) กรณีที่ไม่สามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ ให้ติดต่อบุคลากร 
สำารอง ตามลำาดับที่ที่กาหนดไว้ในรายชื่อของทีมบริหารความต่อเนื่อง 
เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทาให้การ 
ปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง 
1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานงานกับ 
ส่วนโยธา และกองคลัง เตรียมความพร้อมของสถานที่ปฏิบัติงานสำารอง 
เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ให้เรียบร้อย พร้อมสำาหรับการปฏิบัติงานของ 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมงานบริหารความต่อเนื่อง 
-12- 
2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง เสนอนายก 
องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในฐานะหัวหน้าคณะบริหาร 
ความต่อเนื่องดำาเนินการตามแผนความต่อเนื่องที่ได้วางแผนไว้ 
3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ 
แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ เพื่อปฏิบัติตามแผนความต่อเนื่อง (กรณีที่ 
บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้แจ้งบุคลากรสำารอง) 
4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ไปรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ณ 
สถานที่ปฏิบัติงานสำารอง ที่กำาหนด ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่ที่ได้รับ 
แจ้งจากหัวหน้าทีมฯ 
5) การประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อสรุปสถานการณ์ 
ความพร้อมของบุคลากร เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ รวมถึงรับทราบ 
นโยบาย แนวทางในการปฏิบัติงาน 
6) ทีมบริหารความต่อเนื่องปฏิบัติงานตามกระบวนงานที่รับผิด 
ชอบ
7) ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลัง เป็นเจ้าภาพในการจัดหา 
อาหาร น้าดื่ม ที่พัก (กรณีจำาเป็น) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน 
8) คณะบริหารความต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติงานของทีม 
บริหารความต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมถึงติดตาม 
สถานการณ์ว่าได้กลับสู่สภาวะปกติแล้วหรือไม่ เพื่อตัดสินใจในการกลับมา 
ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติ 
เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 
ให้สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย (ถ้ามี) และดำาเนินการ 
เพื่อให้เข้าสู่การทางาน ในสภาวะปกติ 
11.3 กรณีเหตุการณ์อุทกภัย : 
เมื่อเริ่มมีเหตุการณ์ : 
1) ศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ 
บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน 
ทำาหน้าที่ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร และสถานการณ์การเกิดอุทกภัย 
อย่างใกล้ชิด วิเคราะห์แนวโน้ม และรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำาดับชั้น 
ทุกระยะ และแจ้งเวียนให้สานัก/กองทราบถึงสถานการณ์ 
2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานติดตาม 
สถานการณ์จากศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ 
บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน 
3) ทุกสานัก/กอง จัดให้มีการ Back UP ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับ 
การปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้อยู่ในระบบสารสนเทศ หรือระบบข้อมูลกลาง ลง 
อุปกรณ์สำารองข้อมูล อาทิ External Hard disk แผ่น CD ฯลฯ เพื่อป้องกัน 
ความเสียหายของข้อมูล รวมถึงเป็นการเตรียมข้อมูลสำาหรับการปฏิบัติงาน 
ในสภาวะวิกฤติ 
4) ส่วนโยธา ประสานงานในการเตรียมจัดหาสถานที่ปฏิบัติ 
งานสำารอง และกองคลังประสานในการเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ 
เพื่อเตรียมรับกับสถานการณ์หากพัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤติ 
-13- 
5) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ 
แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree เพื่อทราบ 
และเตรียมพร้อมในเบื้องต้น
โดยกระบวนการจะเริ่มจาก 
1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งหัวหน้าทีม 
บริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม 
2) หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม แจ้ง ทีมงานฯ 
3) กรณีที่ไม่สามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ ให้ติดต่อบุคลากร 
สำารอง ตามลำาดับที่ที่กาหนดไว้ในรายชื่อของทีมบริหารความต่อเนื่อง 
เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทาให้การ 
ปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง 
1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานงานกับ 
ส่วนโยธา และกองคลัง เตรียมความพร้อมของสถานที่ปฏิบัติงานสำารอง 
เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ให้เรียบร้อย พร้อมสำาหรับการปฏิบัติงานของ 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมงานบริหารความต่อเนื่อง 
2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง เสนอนายก 
องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในฐานะหัวหน้าคณะบริหาร 
ความต่อเนื่องดำาเนินการตามแผนความต่อเนื่องที่ได้วางแผนไว้ 
3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ 
แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ เพื่อปฏิบัติตามแผนความต่อเนื่อง (กรณีที่ 
บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้แจ้งบุคลากรสำารอง) 
4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ไปรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ณ 
สถานที่ปฏิบัติงานสำารอง ที่กำาหนด ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่ที่ 
ได้รับแจ้งจากหัวหน้าทีมฯ 
5) การประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อสรุปสถานการณ์ 
ความพร้อมของบุคลากร เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ รวมถึงรับทราบ 
นโยบาย แนวทางในการปฏิบัติงาน 
6) ทีมบริหารความต่อเนื่องปฏิบัติงานตามกระบวนงานที่รับผิด 
ชอบ 
7) ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลัง เป็นเจ้าภาพในการจัดหา 
อาหาร น้าดื่ม ที่พัก (กรณีจำาเป็น) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน 
8) คณะบริหารความต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติงานของทีม 
บริหารความต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมถึงติดตาม
สถานการณ์ว่าได้กลับสู่สภาวะปกติแล้วหรือไม่ เพื่อตัดสินใจในการกลับมา 
ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติ 
เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 
ให้สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย (ถ้ามี) และดำาเนินการ 
เพื่อให้เข้าสู่การทางาน ในสภาวะปกติ 
-14- 
11.4 กรณีเกิดไฟฟ้าดับ : 
เมื่อเกิดเหตุการณ์ 
1) เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลกรณีเกิดไฟฟ้าดับที่ผ่านมาในพื้นที่ปฏิบัติ 
งานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน เกิดขึ้นน้อยมาก และเป็นช่วงเวลา 
สั้นๆและจะได้รับการแจ้งจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาห้างฉัตรก่อนการ 
ดับไฟฟ้า ซึ่งผลกระทบที่สำาคัญกรณีเกิดไฟฟ้าดับ คือ ผลกระทบ ที่จะมีต่อ 
ระบบข้อมูลและสารสนเทศเป็นหลัก ดังนั้น จุดเน้นของการดำาเนินการ คือ 
การปิดระบบให้ทันภายใต้เงื่อนไขของระบบไฟฟ้าสำารองที่มีอยู่ เพื่อ 
ป้องกันความเสียหายของข้อมูลและระบบสารสนเทศ 
2) ให้ปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ระบบเทคโนโลยี (Manual) และนำา 
เข้าข้อมูลเมื่อไฟฟ้ากลับมาใช้งานได้เป็นปกติ 
ภายหลังเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 
1) สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย 
2) กำาหนดเป้าหมายให้สามารถปฏิบัติงานตามปกติได้ภายใน 6 
ชั่วโมง นับจากไฟฟ้ากลับมา ใช้งานได้เป็นปกติ 
11.5 กรณีเกิดเหตุชุมนุมประท้วง/จลาจล : 
เมื่อเริ่มเกิดเหตุการณ์ : 
1) สำานักปลัดฯ ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และรายงานผู้ 
บังคับบัญชาตามลาดับชั้นทุกระยะและแจ้งเวียนให้สานัก/กองทราบถึง 
สถานการณ์ 
2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานติดตาม 
สถานการณ์จากสำานักปลัดฯ และแจ้งให้ทุกสำานัก/กอง/ส่วน จัดให้มีการ 
Back UP ข้อมูลที่จาเป็นสำาหรับการปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้อยู่ในระบบ 
สารสนเทศ หรือระบบข้อมูลกลาง ลงอุปกรณ์สารองข้อมูล อาทิ External 
Hard disk แผ่น CD ฯลฯ เพื่อป้องกันความเสียหายของข้อมูล รวมถึง 
เป็นการเตรียมข้อมูลสำาหรับการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต
3) ส่วนโยธา ประสานงานในการเตรียมจัดหาสถานที่ปฏิบัติ 
งานสำารอง และส่วนการคลังประสานจัดหา เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ 
เพื่อเตรียมรับกับสถานการณ์หากพัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต 
4) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อแจ้ง 
ข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree เพื่อทราบและ 
เตรียมพร้อมในเบื้องต้น 
เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทำาให้การ 
ปฏิบัติงานขององค์การส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง 
1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานงานกับ 
ส่วนโยธา เพื่อเตรียมความพร้อมของสถานที่ปฏิบัติงานสำารอง และ 
ประสานกับกองคลังเพื่อเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ให้เรียบร้อย 
พร้อมสำาหรับการปฏิบัติงานของคณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมงาน 
บริหารความต่อเนื่อง 
2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง เสนอนายก 
องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในฐานะหัวหน้าคณะบริหาร 
ความต่อเนื่องดำาเนินการตามแผนความต่อเนื่องที่ได้วางแผนไว้ 
-15- 
3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า 
คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ 
แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ เพื่อปฏิบัติตามแผนความต่อเนื่อง 
(กรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้แจ้งบุคลากรสำารอง) 
4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ไปรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ณ 
สถานที่ปฏิบัติงานสำารอง ที่กำาหนด ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่ 
ที่ได้รับแจ้งจากหัวหน้าทีมฯ 
5) การประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อสรุปสถานการณ์ 
ความพร้อมของบุคลากรเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ รวมถึงรับทราบ 
นโยบาย แนวทางในการปฏิบัติงาน 
6) ทีมบริหารความต่อเนื่องปฏิบัติงานตามกระบวนงานที่รับผิด 
ชอบ 
7) ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลัง เป็นเจ้าภาพในการจัดหา 
อาหาร น้าดื่ม ที่พัก (กรณีจำาเป็น) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
8) คณะบริหารความต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติงานของทีม 
บริหารความต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมถึงติดตาม 
สถานการณ์ว่าได้กลับสู่สภาวะปกติแล้วหรือไม่ เพื่อตัดสินใจในการกลับมา 
ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติ 
เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 
ให้สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย (ถ้ามี) และดำาเนินการ 
เพื่อให้เข้าสู่การทางาน ในสภาวะปกติ 
(นายนิกร ผัสดี) 
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ปฏิบัติหน้าที่ 
นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน

More Related Content

What's hot

00000116
0000011600000116
00000116
nan2128
 
บทความกองทุน
บทความกองทุนบทความกองทุน
บทความกองทุน
Pom Pom Insri
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
auy48
 
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 

What's hot (15)

การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลการประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
 
00000116
0000011600000116
00000116
 
รายงานการประชุมสภา สมัยวิสามัญ สมัยที่ 1 ครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม
รายงานการประชุมสภา สมัยวิสามัญ สมัยที่ 1 ครั้งที่ 1 เดือน มีนาคมรายงานการประชุมสภา สมัยวิสามัญ สมัยที่ 1 ครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม
รายงานการประชุมสภา สมัยวิสามัญ สมัยที่ 1 ครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
 
แบบรายงาน ปี 57
แบบรายงาน ปี 57แบบรายงาน ปี 57
แบบรายงาน ปี 57
 
Operation plan
Operation planOperation plan
Operation plan
 
บทความกองทุน
บทความกองทุนบทความกองทุน
บทความกองทุน
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
คู่มือติดต่อราชการ สพป.สตูล ปี 2559
คู่มือติดต่อราชการ สพป.สตูล ปี 2559คู่มือติดต่อราชการ สพป.สตูล ปี 2559
คู่มือติดต่อราชการ สพป.สตูล ปี 2559
 
หัวข้อ 08
หัวข้อ 08หัวข้อ 08
หัวข้อ 08
 
ข้อบัญญัติ 2558
ข้อบัญญัติ 2558ข้อบัญญัติ 2558
ข้อบัญญัติ 2558
 
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
 

Viewers also liked

Thai Auto Sales
Thai Auto SalesThai Auto Sales
Thai Auto Sales
autobid
 
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารพิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
แผนงาน นสธ.
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
Nukool Thanuanram
 
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการเทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
tra thailand
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
Sutasinee Phu-on
 
การเปรียบ..
การเปรียบ..การเปรียบ..
การเปรียบ..
chatuporn
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหาร
พัน พัน
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
Suradet Sriangkoon
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Sorawit Yuenyongvithayakul
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรม
หน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรมหน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรม
หน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรม
Mint NutniCha
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
Yaowaluk Chaobanpho
 

Viewers also liked (20)

Technology seeker, innovation conscious (1)
Technology seeker, innovation conscious (1)Technology seeker, innovation conscious (1)
Technology seeker, innovation conscious (1)
 
นางสาวจงรักษ์ สุขมหันต์
นางสาวจงรักษ์   สุขมหันต์นางสาวจงรักษ์   สุขมหันต์
นางสาวจงรักษ์ สุขมหันต์
 
Noir noir presentation
Noir noir presentationNoir noir presentation
Noir noir presentation
 
Thai Auto Sales
Thai Auto SalesThai Auto Sales
Thai Auto Sales
 
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารพิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
 
JJ Green presentation
JJ Green presentationJJ Green presentation
JJ Green presentation
 
แผนที่ 7 local food (lab pla)
แผนที่ 7 local food (lab pla)แผนที่ 7 local food (lab pla)
แผนที่ 7 local food (lab pla)
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
 
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการเทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
 
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
การเปรียบ..
การเปรียบ..การเปรียบ..
การเปรียบ..
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหาร
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้าการจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรม
หน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรมหน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรม
หน้าที่และความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรม
 
The Future of Food - Business Model Challenges
The Future of Food - Business Model ChallengesThe Future of Food - Business Model Challenges
The Future of Food - Business Model Challenges
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 

Similar to ของอ้ายต อม ลงเว_ป

Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Kamolkan Thippaboon
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
Tananya Jangouksom
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
Poramate Minsiri
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
WeIvy View
 

Similar to ของอ้ายต อม ลงเว_ป (20)

แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยคณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
คณะกรรมการและกลไกการปฏิบัติงานฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 

ของอ้ายต อม ลงเว_ป

  • 2. องค์การบริหารส่วน ตำาบลแม่สัน อำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปาง ประกาศองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน เรื่อง แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์กร ขององค์การบริหาร ส่วนตำาบลแม่สัน …………………………………….. ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท ๐๘๑๒/ว ๑๙๖๔ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ เรื่องการดำาเนินการเตรียมความพร้อม ต่อสภาวะวิกฤต ซึ่งสำานักงาน กพร. ได้แจ้งมติคณะรัฐมนตรีในการ ประชุมเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๕ เห็นชอบแนวทางและมาตรการ ที่กำาหนดให้หน่วยงานของรัฐ ทั้งระดับกรม จังหวัด สถาน อุดมศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน และ รัฐวิสาหกิจ ดำาเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตขององค์การ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง แม้เกิดสภาวะวิกฤต ดังนั้น อาศัยตามมติคณะรัฐมนตรี องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันจึงได้จัด ทำาแผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity Plan) เพื่อเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขึ้น จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
  • 3. นิกร ผัสดี (นายนิกร ผัสดี) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน -ก- คำานำา ตามที่ได้รับแจ้งจากอำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปางและกรมส่ง เสริมการปกครองท้องถิ่น ตามหนังสืออำาเภอห้างฉัตร ว่า สำานักงาน กพร. ได้แจ้งมติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 เห็นชอบแนวทางและมาตรการที่กำาหนดให้หน่วยงานของ รัฐทั้งระดับกรม จังหวัด สถานอุดมศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน และรัฐวิสาหกิจ ดำาเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะ วิกฤตขององค์การเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานใน “ภารกิจหลัก” หรือ “งาน บริการที่สำาคัญ” ได้อย่างต่อเนื่อง แม้เกิดสภาวะวิกฤตตามที่ ก.พ.ร. เสนอ และส านักงาน ก.พ.ร. ในฐานะได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักใน การสนับสนุนการดำาเนินการ ได้กำาหนดให้ทุกส่วนราชการจัดทำา “แผน บริหารความต่อเนื่องขององค์การ” (Business Continuity Plan) เพื่อ เตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต นั้น องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน อำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปาง ได้จัดทำา“แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ” (Business Continuity Plan) ฉบับนี้ขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมและสามารถ บริหารจัดการองค์การให้สามารถปฏิบัติงานใน “งานบริการหลักที่มีความ
  • 4. สำาคัญ” ได้อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ แม้ต้อง ประสบสถานการณ์วิกฤต อันจะส่งผลต่อการสร้างความเชื่อมั่นในระบบ การให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน และระบบการให้บริการ ภาครัฐในภาพรวมต่อไป (นายนิกร ผัสดี) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ปฏิบัติ หน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 24 ตุลาคม 2556 -ข- สารบัญ หน้า คำานำา ก สารบัญ ข บทนำา 1 แนวคิดพื้นฐานในการจัดทำาแผนบริหารความต่อเนื่อง 1 วัตถุประสงค์ 1 สมมติฐานของแผนความต่อเนื่อง 2 การประเมินความเสี่ยง ภัยคุกคาม และผลกระทบ 2
  • 5. ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง 5 การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำาคัญ 5 ทีมงานแผนความต่อเนื่อง 6 โครงสร้างและทีมบริหารความต่อเนื่อง 6 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง 9 ขั้นตอนบริหารความต่อเนื่อง 10 - กรณีเกิดอัคคีภัย 10 - กรณีเหตุการณ์วาตภัย 11 - กรณีเหตุการณ์อุทกภัย 12 - กรณีเกิดไฟฟ้าดับ 14 - กรณีเกิดเหตุชุมนุมประท้วง/จลาจล 14
  • 6. แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business 1.บทนำา Continuity Plan : BCP) แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity Plan : BCP) ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันฉบับนี้ จัดทำาขึ้นเพื่อให้ องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในราชการบริหารส่วนท้องถิ่นสามารถนำา ไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเกิดเหตุการณ์ ฉุกเฉินต่างๆ ซึ่งส่งผลให้องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดการ ดำาเนินงาน หรือไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง ให้สามารถปฏิบัติ งานใน “งานบริการหลักที่มีความสำาคัญ” ได้อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมี ประสิทธิภาพ 2.แนวคิดพื้นฐานในการจัดทำาแผนบริหารความต่อเนื่อง : 1) การบริหารความต่อเนื่อง : (Business Continuity Management : BCM) “คือ องค์รวมของ กระบวนการบริหารซึ่งบ่งภัยคุกคามขององค์กรและผลกระทบของภัย คุกคามนั้นต่อการดำาเนินธุรกิจ และให้แนวทางในการสร้างขีดความ สามารถให้องค์กรมีความยืดหยุ่น เพื่อการตอบสนองและปกป้องผล ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และกิจกรรมที่สร้าง มูลค่าที่มีประสิทธิผล” มอก. 22301-2553 2) แนวทางการบริหารความต่อเนื่อง/การตอบสนองต่อสภาวะ วิกฤต : (2.1) ในระดับแรกเป็นการจัดการแผนเผชิญเหตุ ที่แสดง ให้เห็นว่าทำาอย่างไรให้การปฏิบัติงานมีความต่อเนื่องและสามารถให้ บริการได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ (2.2) เมื่อเหตุการณ์ขยายวงกว้างในระดับเกิดความเสีย หาย จะเริ่มเป็นวิกฤตขององค์กร องค์กร จึงต้องมีการบริหารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจ รวมทั้งการกอบ กู้ให้กลับมาทำางานได้เป็นปกติ ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการบริหารความต่อ เนื่อง คือ เพื่อให้องค์กรสามารถให้บริการได้ในระดับหนึ่งแม้จะประสบ สถานการณ์วิกฤต ซึ่งหน่วยงานต้องหาคำาตอบว่าระดับใดที่คิดว่าเหมาะสม และจำาเป็น (2.3) สามารถใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติได้จริงเมื่อเกิด ภาวะวิกฤต 3.วัตถุประสงค์ (Objectives)
  • 7. แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity Plan : BCP) ขององค์กาบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ฉบับนี้ จัดทำาขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์สำาคัญ ดังนี้ 1) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องขององค์การ บริหารส่วนตำาบลแม่สันในสภาวะวิกฤต 2) เพื่อให้องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันมีการเตรียมความ พร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่เกิดขึ้น 3) เพื่อลดผลกระทบจากการหยัดชะงักในการปฏิบัติงานหรือ การให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน 4) เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในสภาพที่ยอมรับได้ และลด ระดับความรุนแรงของผลกระทบ ที่เกิดขึ้น 5) เพื่อให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์การ บริหารส่วนตำาบลแม่สัน มีความเชื่อมั่นในศักยภาพขององค์การบริหารส่วน ตำาบลแม่สันแม้ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทำาให้ การดำาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงัก -2- 4.สมมติฐานของแผนความต่อเนื่อง (BCP Assumptions) แผนบริหารความต่อเนื่องขององค์การ (Business Continuity Plan : BCP) ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ฉบับนี้ จัดทำาขึ้น โดยมี สมมติฐาน ดังนี้ 1) เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ ปฏิบัติงานสำารองที่ได้จัดเตรียมไว้ 2) ระบบสารสนเทศสำารอง ไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ ฉุกเฉินเช่นเดียวกับระบบสารสนเทศหลัก 5.การประเมินความเสี่ยง ภัยคุกคาม และผลกระทบ : ตามพระราชบัญญัติสภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 ได้กำาหนดให้ องค์การบริหารส่วนตำาบลมีหน้าที่ดังนี้ มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนตำาบลมีอำานาจหน้าที่ในการ พัฒนาตำาบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วน ตำาบล มีหน้าที่ต้องทำาในเขตองค์การบริหารส่วนตำาบล ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีและบำารุงรักษาทางนำ้าและทางบก (2) รักษาความสะอาดของถนน ทางนำ้า ทางเดิน และที่ สาธารณะ รวมทั้งกำาจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
  • 8. (4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ (7) คุ้มครอง ดูแล และบำารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม (8) บำารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบ ประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำาเป็นและสมควร มาตรา 68 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วน ตำาบลอาจจัดทำากิจการในเขตองค์การบริหารส่วนตำาบล ดังต่อไปนี้ (1) ให้มีนำ้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร (2) ให้มีและบำารุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น (3) ให้มีและบำารุงรักษาทางระบายนำ้า (4) ให้มีและบำารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อน ใจและสวนสาธารณะ (5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์ (6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว (7) บำารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร (8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติ ของแผ่นดิน (9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วน ตำาบล (10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม (11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ (12) การท่องเที่ยว (13) การผังเมือง -3- และตามพระราชบัญญัติกำาหนดแผนและขั้นตอนการกระจา ยอำานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่ม เติม(ถึงฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และ องค์การบริหารส่วนตำาบลมีอำานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการ สาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองดังนี้ (1) การจัดทำาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (2) การจัดให้มีและบำารุงรักษาทางบก ทางนำ้า และทางระบาย นำ้า (3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่ จอดรถ (4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ
  • 9. (5) การสาธารณูปการ (6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ (7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (9) การจัดการศึกษา (10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (11) การบำารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่ อยู่อาศัย (13) การจัดให้มีและบำารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (14) การส่งเสริมกีฬา (15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิ เสรีภาพของประชาชน (16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ บ้านเมือง (18) การกำาจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และนำ้าเสีย (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษา พยาบาล (20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน (21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และ การอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่นๆ (24) การจัดการ การบำารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่า ไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (25) การผังเมือง (26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร (27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ (28) การควบคุมอาคาร (29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุน การป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน -4-
  • 10. (31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ตามที่คณะกรรมการประกาศกำาหนด ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ตั้งอยู่ที่บ้านส้มป่อย หมู่ที่ 6 ตำาบลแม่สัน อำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปาง อยู่ห่างจากอำาเภอ ห้างฉัตร ประมาณ 12 กิโลเมตรหมู่ที่ 6 บ้านส้มป่อย ตำาบลแม่สัน อำาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำาปางมีข้าราชการฝ่ายการเมือง จำานวน 22 คน แยกเป็น ฝ่ายบริหารท้องถิ่น 4 คน ฝ่ายสภาท้องถิ่นจำานวน 18 คน และฝ่ายข้าราชการประจำารวมจำานวน 23 คน แยกเป็นข้าราชการประจำา จำานวน 16 คน พนักงานจ้าง จำานวน 7 คน พื้นที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน มีเนื้อที่ทั้งหมด 73.90 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 46,188 ไร่ จำานวนหมู่บ้าน - องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน มีจำานวนหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านป่าเหียง มีจำานวน 275 ครัวเรือน หมู่ที่ 2 บ้านลุ่มกลาง มีจำานวน 274 ครัวเรือน หมู่ที่ 3 บ้านหัวทุ่ง มีจำานวน 208 ครัวเรือน หมู่ที่ 4 บ้านแม่สัน มีจำานวน 53 ครัวเรือน หมู่ที่ 5 บ้านโป่งขวาก มีจำานวน 248 ครัวเรือน หมู่ที่ 6 บ้านส้มป่อย มีจำานวน 163 ครัวเรือน หมู่ที่ 7 บ้านปันเต้า มีจำานวน 200 ครัวเรือน หมู่ที่ 8 บ้านนาเงิน มีจำานวน 79 ครัวเรือน หมู่ที่ 9 บ้านหัวทุ่งพัฒนา มีจำานวน 190 ครัวเรือน รวมตำาบลแม่สันมีครัวเรือนทั้งสิ้น 1,590 ครัวเรือน ( ที่มา: ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์อำาเภอห้างฉัตร ณ เดือนธันวาคม 2555) ตำาบลแม่สันมีประชากรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ทั้งสิ้น 4,596 คน แยกเป็น ชาย 2,262 คน หญิง 2,334 คน มีความ หนาแน่นเฉลี่ย 40 คน /ตารางกิโลเมตร โดยมีรายละเอียด -มีประชากรทั้งหมด 4,596 คน แบ่งเป็น ชาย 2,262 คน หญิง 2,334 คน เด็ก (ทารก – 6 ปี) 152 คน เด็ก (ทารก – 6 ปี) 121 คน
  • 11. เด็กโต (7-12 ปี) 126 คน เด็กโต (7-12 ปี) 116 คน วัยรุ่น (13-17 ปี) 145 คน วัยรุ่น (13-17 ปี) 124 คน ผู้ใหญ่(18-60 ปี) 1,558 คน ผู้ใหญ่(18-60 ปี) 1,625 คน คนชรา ( 60 ปีขึ้นไป) 281 คน คนชรา ( 60 ปีขึ้นไป) 348 คน (ข้อมูลประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ณ เดือน มกราคม 2556 : ฐาน ข้อมูลทะเบียนราษฎร์อำาเภอห้างฉัตร) -5- 6.ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง (Scope of BCP) แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ใช้รับรองสถานการณ์ กรณี เกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่สำานักงานของหน่วยงาน ห รือ ภ า ย ใ น ห น่ ว ย ง า น ด้ ว ย เ ห ตุ ก า ร ณ์ต่ อ ไ ป นี้ 1) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อั ค คี ภั ย 2) เ ห ตุ ก า ร ณ์ ว า ต ภั ย 3) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อุ ท ก ภั ย 4) เ ห ตุ ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ดั บ 5) เ ห ตุ ก า ร ณ์ชุ ม นุ ม ป ร ะ ท้ ว ง /จ ล า จ ล 7.การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำาคัญ สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการดำาเนินงานขององค์กรให้มี ความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำาคัญจึงเป็นสิ่งจำาเป็น และต้องระบุไว้ ในแผนความต่อเนื่อง ซึ่งการเตรียมการทรัพยากรที่สำาคัญ จะพิจารณา จากผลกระทบใน 5 ด้าน ดังนี้ 1) ผลกระทบด้านอาคาร /สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมาย ถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำาให้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสีย หายหรือไม่สามารถใช้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้ และส่งผลให้ บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ชั่วคราวหรือระยะยาว
  • 12. 2) ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำาคัญ/การจัดหาจัดส่ง วัส ดุอุป ก รณ์ที่สำา คัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำา ให้ไม่ สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สำาคัญ หรือไม่สามารถจัดหา/จัดส่งวัสดุ อุ ป ก ร ณ์ ที่ สำา คั ญ ไ ด้ 3) ผลกร ะทบด้านเทคโนโลยีสา รสนเทศและข้อมูลที่ สำาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำาให้ระบบงานเทคโนโลยี หรือ ระบบสารสนเทศ หรือข้อมูลที่สำาคัญไม่สามารถนำามาใช้ในการ ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ด้ ต า ม ป ก ติ 4) ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิด ขึ้นทำา ให้บุคลากรหลักไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้ตามปกติ 5) ผลกร ะทบด้านคู่ค้า / ผู้ให้บริกา รที่สำา คัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำาให้คู่ค้า/ ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วน เ สีย ไม่สามา รถติดต่อหรือให้บริกา รหรือส่งมอบง านได้ เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อระบุความเสี่ยง ภัยคุกคามที่มีโอกาสเกิด ขึ้นในพื้นที่ปฏิบัติงาน โดยอาศัยแนวทางการวิเคราะห์ผลกระทบต่อ ทรัพยากร 5 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านอาคาร/สถานที่ (2) ด้านวัสดุอุปกรณ์ที่ สำาคัญ (3) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำาคัญ (4) ด้าน บุคลากรหลัก และ (5) ด้านคู่ค้า/ผู้ให้บริการ และสรุปความเสี่ยง ภัยคุกคาม ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันได้ดังนี้ -6- ความเสี่ยงและภัย คุกคาม ผลกระทบ ด้าน อาคาร/ สถานที่ ปฏิบัติ งานหลัก ด้านวัสดุ อุปกรณ์ ที่สำาคัญ ด้าน เทคโนโล ยี สารสนเท ศและ ข้อมูลที่ สำาคัญ ด้าน บุคลาก รหลัก ด้านคู่ ค้า / ผู้ให้ บริการ/ ผู้มีส่วน ได้เสีย อัคคีภัย / / / / / วาตภัย / / / / / อุทกภัย / / / / / ไฟฟ้าดับ / / /
  • 13. ชุมนุมประท้วง/จลาจล / / / / / แผนความต่อเนื่อง(BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานใน กรณีที่เหตุขัดข้องเกิดขึ้นจากการดำาเนินงานปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าว ไม่ส่งผลกระทบในระดับสูงต่อการดำาเนินงานและให้บริการของหน่วยงาน ยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขสถานการณ์ได้ภายในระยะเวลาที่ เหมาะสม โดยผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละส่วนและฝ่ายงาน สามารถรับผิดชอบและดำาเนินการได้ด้วยตนเอง 8. ทีมงานแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan Team) เพื่อให้แผนความต่อเนื่อง (BCP) ของฝ่ายบริหารทั่วไป สามารถนำาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จะต้องจัด ตั้งทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ขึ้น โดย BCP Team ประกอบด้วย หัวหน้าทีมงานบริหารความต่อเนื่อง และทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องโดยทุกตำาแหน่งจะต้องร่วมมือกันดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืน เหตุการณ์ฉุกเฉินในฝ่ายงานของตนเอง ให้สามารถบริหารความต่อเนื่อง และกลับสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว ตามบทบาทหน้าที่ที่กำาหนดไว้ของทีมงาน บริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) และในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสำารองรับผิดชอบทำาหน้าที่ในบทบาทของ บุคลากรหลัก ปรากฏดังตารางที่ 1 9. โครงสร้างและทีมบริหารความต่อเนื่อง : เพื่อให้แผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan : BCP) ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน สามารถนาไปปฏิบัติได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จึงกาหนดให้มี “คณะบริหารความ ต่อเนื่อง (BCP Team)” ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน โดยที่ โครงสร้างประกอบด้วย 1) หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง 2) รองหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง 3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง 4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ซึ่งประกอบด้วย หัวหน้าทีม และทีม งาน จำานวน 3 ทีม ได้แก่ (1) ทีมบริหารความต่อเนื่อง 1 : ทีมงานบริหารความต่อ เนื่อง สำานักปลัด อบต.แม่สัน (2) ทีมบริหารความต่อเนื่อง 2 ทีมงานบริหารความต่อ เนื่อง กองคลัง (3) ทีมบริหารความต่อเนื่อง 3 : ทีมงานบริหารความต่อ เนื่อง ส่วนโยธา
  • 14. -7- ตารางที่ 1 รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมงานบริหารความ ต่อเนื่อง (BCP Team) บุคลากรหลัก บทบาท บุคลากรสำารอง ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ มือถือ ชื่อ-สกุล โทรศัพท์ มือถือ นายก อบต.แม่ สัน - หัวหน้าคณะ บริหารความ ต่อเนื่อง อบต.แม่สัน -รองนายก อบต. (1) -รองนายก อบต. (2) - นายนิกร ผัสดี (ปลัด อบต.) 086-914- 6034 รองหัวหน้า คณะบริหาร ความต่อเนื่อง อบต.แม่สัน นายอาคม จันมะโน (รองปลัด อบต.) 085-523- 1115 นางรุวิตาภร เทพเสน (หน.สป.) 084-043- 2144 หัวหน้าทีมงาน บริหารความ ต่อเนื่อง สำานัก ปลัด อบต.แม่ สัน นายกฤษฎา เทพภาพ (จนท.วผ.) 085- 7073-173 นางโชติกา ปง แปง 084-6114- 550 หัวหน้าทีม บริหารความ นางสาวฐานิ ตา 085-616- 9736 หัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเนื่อง อบต.แม่สัน รองหัวหน้าคณะ บริหารความต่อเนื่อง อบต.แม่สัน ผู้ประสานงานคณะ บริหารต่อเนื่อง ทีมงาน บริหาร ความต่อ เนื่อง สำา นักปลัดฯ ทีมงาน บริหาร ความต่อ เนื่อง กอง คลัง ทีมงาน บริหาร ความต่อ เนื่อง ส่วน โยธา
  • 15. (ผอ.กองคลัง) ต่อเนื่องกอง คลัง เตชะ มงคล (นวก.การ เงินฯ) นายสิทธิโชค ปิ่นประยูร (หน.ส่วนโยธา) 081-992- 6739 หัวหน้าทีม บริหารความ ต่อเนื่องส่วน โยธา นายวิสิฐศักดิ์ ธรรมชัย (นายช่าง โยธา) 090-750- 2074 นางศิริวรรณ แสนทิพย์ (จพง.ธุรการ) 087-1815- 566 ผู้ประสานคณะ บริหารความ ต่อเนื่อง อบต. แม่สัน นางสาวกมล ทิพย์ ศรี อรุณ (ผช.จนท.ธุรก าร) 083-567- 0706 -8- ทีมบริหารความต่อเนื่อง 1 : ทีมบริหารความต่อเนื่องสำานักปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่ สัน หัวหน้าทีม บุคลากรหลัก บุคลากรรอง ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ มือถือ ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ มือถือ นางรุวิตาภร เทพเสนา (หน.สป.) 084-043- 2144 นายกฤษฎา เทพ ภาพ (จนท.ผว.) 085- 7073-173 นายกฤษฎา เทพ ภาพ (จนท.วผ.) 085-7073- 173 นางศริวรรณ แสน ทิพย์ (จพง.ธุรการ) 087- 1815-566 นายชัยยศ ฮาวปิน ใจ (บุคลากร) 086-6596- 625 นางสาวกมลทิพย์ ศรี อรุณ (ผช.จนท.ธุรการ) 083- 5670-760 นางสาวปริศรา วัน ทะยะ (นวก. ศึกษา) 089-1910- 302 - นางอัฉรา จำาฟู (หน.ศพด.) 083- 7650-425 นางสุพัตรา ปูสาร (จพง.พัฒนาชุมชน) 083-2853- 509 นางบุญเตี่ยม ลือราช (ครูผู้ดูแลเด็ก) 086- 1909-982
  • 16. นางศิริวรรณ แสน ทิพย์ (จพง.ธุรการ) 087-1815- 566 นายศิธานนท์ พุทธิมา (พนักงานขับรถยนต์) 080- 4961-521 นายธวัชชัย แก้วคำา แดง (พนักงานดับเพลิง) 084-8039- 465 นายวนชัย นามะเสน (พนักงานขับรถยนต์) 086- 5877-144 ทีมบริหารความต่อเนื่อง 2 : ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลังองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน หัวหน้าทีม บุคลากรหลัก บุคลากรรอง ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ มือถือ ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ มือถือ นางโชติกา ปงแปง (ผอ.กองคลัง) 084-6114- 550 นางสาวฐานิตา เต ชะมงคล (นวก.การเงินและ บัญชี) 085-6169- 736 นางสาวฐานิตา เต ชะมงคล (นวก.การเงินและ บัญชี) 085-6169- 736 นางสาวนุจรินทร์ ดวงยา (ผช.จนท.การเงิน และบัญชี) 083-8641- 110 นางธนัชยา ลังกา (นวก.จัดเก็บรายได้) 086-9186- 352 - นางจันทร์เพ็ญ ทา วงศ์มาธนากร (ครูผู้ดูแลเด็ก) 084-6136- 166 นางณัฐชยา เปียง ใจ (จพง.พัสดุ) 080-1216- 529 นางสาวสุริวัลย์ สุภา พันธ์ (ผช.จนท.พัสดุ) 085-0317- 906 -9- ทีมบริหารความต่อเนื่อง 3 : ทีมบริหารความต่อเนื่องส่วนโยธาองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่ สัน หัวหน้าทีม บุคลากรหลัก บุคลากรรอง
  • 17. ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ มือถือ ชื่อ - สกุล โทรศัพท์ มือถือ นายสิทธิโชค ปิ่น ประยูร (หน.ส่วนโยธา) 081-992- 6739 นายวิสิฐศักดิ์ ธรรม ชัย (นายช่างโยธา) 090-750- 2074 10. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) กลยุทธ์ความต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการจัดหาและบริหาร จัดการทรัพยากรให้มีความพร้อมเมื่อเกิดสภาวะวิกฤต ซึ่งพิจารณา ทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)
  • 18. ทรัพยากร กลยุทธความต่อเนื่อง หน่วยงาน เจ้าภาพรับ ผิดชอบ อาคาร/สถานที่ ปฏิบัติงาน สำารอง กำาหนดใช้สถานที่สำารองที่อยู่ในอำาเภอ ห้างฉัตร (เป็นอันดับแรก ) เช่น สำานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อำาเภอห้างฉัตร ทั้งนี้ต้องมีการสำารวจ ความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการเตรียมความพร้อม กับ หน่วยงาน เจ้าของพื้นที่ สำานักปลัดฯ ส่วนโยธา วัสดุอุปกรณ์ที่ สำาคัญ/ การ จัดหาจัดส่งวัสดุ อุปกรณ์ที่สำาคัญ 1) จัดเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพก พา(Note Book) เครื่องพิมพ์ อุปกรณ์ IT. อื่นเพื่อรองรับการใช้งานกรณีเกิด สภาวะวิกฤติ 2) จัดเตรียม Air Card เพื่อรองรับการ เชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต กรณีผู้ให้ บริการอินเตอร์เน็ตในระบบปกติไม่ สามารถให้บริการได้ 3) จัดเตรียมเครื่องถ่ายเอกสาร โทรศัพท์ พื้นฐาน โทรสาร กระดาษ เครื่องเขียน รถยนต์ เพื่อรองรับการใช้งานกรณีเกิด สถาวะวิกฤต 4) จัดหาเครื่องมือ / วัสดุ / อุปกรณ์ ที่จา เป็นโดยการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีพิเศษ (กรณีมีความจาเป็น) กองคลัง เทคโนโลยี สารสนเทศและ ข้อมูลที่สำาคัญ 1) จัดให้มีระบบงานเทคโนโลยีหรือระบบ สารสนเทศสารสำารอง มีการ Back UP ข้อมูลและทดสอบความพร้อมใช้งาน อย่างสม่าเสมอ 2) กำาหนดให้มีการปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ ระบบเทคโนโลยี (Manual) ไปก่อน แล้ว จึงนาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเมื่อ กลับคืนสู่สภาวะปกติ สำานักปลัด
  • 19. -10- ทรัพยากร กลยุทธความต่อเนื่อง หน่วยงาน 11. ขั้นตอนบริหารความต่อเนื่อง : เพื่อให้องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันสามารถปฏิบัติงานใน สภาวะวิกฤตได้อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ จึงได้ กาหนดขั้นตอน/แนวทางปฏิบัติกรณีเกิดสภาวะวิกฤติใน 6 กรณี คือ 1) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อั ค คี ภั ย 2) เ ห ตุ ก า ร ณ์ ว า ต ภั ย 3) เ ห ตุ ก า ร ณ์ อุ ท ก ภั ย 4) เ ห ตุ ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ดั บ 5) เ ห ตุ ก า ร ณ์ชุ ม นุ ม ป ร ะ ท้ ว ง /จ ล า จ ล โดยระบุถึงขั้นตอน/แนวทางที่ผู้เกี่ยวข้องจะต้องถือปฏิบัติตาม ห้วงเวลาของการเกิดเหตุการณ์ในแต่ละเหตุการณ์ ออกเป็น 3 ห้วงเวลา ประกอบด้วย 1) เมื่อเริ่มมีสถานการณ์ 2) เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทำาให้ การปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง และ 3) เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ โดยมีรายละเอียดขั้นตอน/แนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 11.1 กรณีเกิดอัคคีภัย : เมื่อเกิดเหตุการณ์ กำาหนดให้ถือปฏิบัติตาม “แผนป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย” ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน เจ้าภาพรับ ผิดชอบ บุคลากรหลัก 1) กำาหนดใช้บุคลากรสำารอง ทดแทน ภายในสำานัก/ส่วนเดียวกัน 2) กำาหนดใช้บุคลากรนอกสำานัก/ส่วน ใน กรณีที่บุคลากรไม่เพียงพอหรือขาดแคลน ทุกสำานัก ส่วนกองที่ เกี่ยวข้อง คู่ค้า/ผู้ให้บริหาร ที่สำาคัญ/ผู้มีส่วน ได้เสีย 1) กำาหนดให้มีคู่ค้า/ผู้ให้บริการ เพื่อเรียก ใช้บริการได้ในกรณีที่เกิดสภาวะวิกฤต 2) พิจารณากระจายความเสี่ยง โดยจัด ให้มีคู่ค้า/ผู้ให้บริการมากกว่า 1 ราย กองคลัง สำานักปลัด ส่วนโยธา
  • 20. เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 1) ส่วนโยธาสำารวจความเสียหาย รายงานต่อปลัดองค์การ บริหารส่วนตำาบลแม่สัน และนายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ตาม สายบังคับบัญชา -11- 2) กองคลัง ดำาเนินการจัดหาสถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ที่จำาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานให้กับสานัก/กอง ที่ได้รับผลก ระทบจากเหตุอัคคีภัย 3) สำานักปลัด ดำาเนินการเกี่ยวกับระบบเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ณ สถานที่ปฏิบัติงานสำารองให้กับสำานัก/กองที่ได้รับผลกระ ทบ 4) กำาหนดเป้าหมายให้สามารถเริ่มปฏิบัติงานได้ภายใน 72 ชั่วโมง นับจากเหตุการณ์ กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 11.2 กรณีเหตุการณ์วาตภัย : เมื่อเริ่มมีเหตุการณ์ : 1) ศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน ทำาหน้าที่ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร และสถานการณ์การเกิดอุทกภัย อย่างใกล้ชิด วิเคราะห์แนวโน้ม และรายงานผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น ทุกระยะ และแจ้งเวียนให้สานัก/กองทราบถึงสถานการณ์ 2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานติดตาม สถานการณ์จากศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน 3) ทุกสานัก/กอง จัดให้มีการ Back UP ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับ การปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้อยู่ในระบบสารสนเทศ หรือระบบข้อมูลกลาง ลง อุปกรณ์สำารองข้อมูล อาทิ External Hard disk แผ่น CD ฯลฯ เพื่อป้องกัน ความเสียหายของข้อมูล รวมถึงเป็นการเตรียมข้อมูลสำาหรับการปฏิบัติงาน ในสภาวะวิกฤติ 4) ส่วนโยธา ประสานงานในการเตรียมจัดหาสถานที่ปฏิบัติ งานสำารอง และกองคลังประสานในการเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ เพื่อเตรียมรับกับสถานการณ์หากพัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤติ
  • 21. 5) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree เพื่อทราบ และเตรียมพร้อมในเบื้องต้น โดยกระบวนการจะเริ่มจาก 1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งหัวหน้าทีม บริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม 2) หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม แจ้ง ทีมงานฯ 3) กรณีที่ไม่สามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ ให้ติดต่อบุคลากร สำารอง ตามลำาดับที่ที่กาหนดไว้ในรายชื่อของทีมบริหารความต่อเนื่อง เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทาให้การ ปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง 1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานงานกับ ส่วนโยธา และกองคลัง เตรียมความพร้อมของสถานที่ปฏิบัติงานสำารอง เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ให้เรียบร้อย พร้อมสำาหรับการปฏิบัติงานของ คณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมงานบริหารความต่อเนื่อง -12- 2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง เสนอนายก องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในฐานะหัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเนื่องดำาเนินการตามแผนความต่อเนื่องที่ได้วางแผนไว้ 3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ เพื่อปฏิบัติตามแผนความต่อเนื่อง (กรณีที่ บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้แจ้งบุคลากรสำารอง) 4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ไปรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ณ สถานที่ปฏิบัติงานสำารอง ที่กำาหนด ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่ที่ได้รับ แจ้งจากหัวหน้าทีมฯ 5) การประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อสรุปสถานการณ์ ความพร้อมของบุคลากร เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ รวมถึงรับทราบ นโยบาย แนวทางในการปฏิบัติงาน 6) ทีมบริหารความต่อเนื่องปฏิบัติงานตามกระบวนงานที่รับผิด ชอบ
  • 22. 7) ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลัง เป็นเจ้าภาพในการจัดหา อาหาร น้าดื่ม ที่พัก (กรณีจำาเป็น) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน 8) คณะบริหารความต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติงานของทีม บริหารความต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมถึงติดตาม สถานการณ์ว่าได้กลับสู่สภาวะปกติแล้วหรือไม่ เพื่อตัดสินใจในการกลับมา ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติ เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ ให้สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย (ถ้ามี) และดำาเนินการ เพื่อให้เข้าสู่การทางาน ในสภาวะปกติ 11.3 กรณีเหตุการณ์อุทกภัย : เมื่อเริ่มมีเหตุการณ์ : 1) ศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน ทำาหน้าที่ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร และสถานการณ์การเกิดอุทกภัย อย่างใกล้ชิด วิเคราะห์แนวโน้ม และรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำาดับชั้น ทุกระยะ และแจ้งเวียนให้สานัก/กองทราบถึงสถานการณ์ 2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานติดตาม สถานการณ์จากศูนย์อำานวยการเฉพาะกิจและคณะกรรมการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยตำาบลแม่สัน 3) ทุกสานัก/กอง จัดให้มีการ Back UP ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับ การปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้อยู่ในระบบสารสนเทศ หรือระบบข้อมูลกลาง ลง อุปกรณ์สำารองข้อมูล อาทิ External Hard disk แผ่น CD ฯลฯ เพื่อป้องกัน ความเสียหายของข้อมูล รวมถึงเป็นการเตรียมข้อมูลสำาหรับการปฏิบัติงาน ในสภาวะวิกฤติ 4) ส่วนโยธา ประสานงานในการเตรียมจัดหาสถานที่ปฏิบัติ งานสำารอง และกองคลังประสานในการเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ เพื่อเตรียมรับกับสถานการณ์หากพัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤติ -13- 5) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree เพื่อทราบ และเตรียมพร้อมในเบื้องต้น
  • 23. โดยกระบวนการจะเริ่มจาก 1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งหัวหน้าทีม บริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม 2) หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องแต่ละทีม แจ้ง ทีมงานฯ 3) กรณีที่ไม่สามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ ให้ติดต่อบุคลากร สำารอง ตามลำาดับที่ที่กาหนดไว้ในรายชื่อของทีมบริหารความต่อเนื่อง เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทาให้การ ปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง 1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานงานกับ ส่วนโยธา และกองคลัง เตรียมความพร้อมของสถานที่ปฏิบัติงานสำารอง เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ให้เรียบร้อย พร้อมสำาหรับการปฏิบัติงานของ คณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมงานบริหารความต่อเนื่อง 2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง เสนอนายก องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในฐานะหัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเนื่องดำาเนินการตามแผนความต่อเนื่องที่ได้วางแผนไว้ 3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ เพื่อปฏิบัติตามแผนความต่อเนื่อง (กรณีที่ บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้แจ้งบุคลากรสำารอง) 4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ไปรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ณ สถานที่ปฏิบัติงานสำารอง ที่กำาหนด ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่ที่ ได้รับแจ้งจากหัวหน้าทีมฯ 5) การประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อสรุปสถานการณ์ ความพร้อมของบุคลากร เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ รวมถึงรับทราบ นโยบาย แนวทางในการปฏิบัติงาน 6) ทีมบริหารความต่อเนื่องปฏิบัติงานตามกระบวนงานที่รับผิด ชอบ 7) ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลัง เป็นเจ้าภาพในการจัดหา อาหาร น้าดื่ม ที่พัก (กรณีจำาเป็น) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน 8) คณะบริหารความต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติงานของทีม บริหารความต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมถึงติดตาม
  • 24. สถานการณ์ว่าได้กลับสู่สภาวะปกติแล้วหรือไม่ เพื่อตัดสินใจในการกลับมา ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติ เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ ให้สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย (ถ้ามี) และดำาเนินการ เพื่อให้เข้าสู่การทางาน ในสภาวะปกติ -14- 11.4 กรณีเกิดไฟฟ้าดับ : เมื่อเกิดเหตุการณ์ 1) เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลกรณีเกิดไฟฟ้าดับที่ผ่านมาในพื้นที่ปฏิบัติ งานขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน เกิดขึ้นน้อยมาก และเป็นช่วงเวลา สั้นๆและจะได้รับการแจ้งจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาห้างฉัตรก่อนการ ดับไฟฟ้า ซึ่งผลกระทบที่สำาคัญกรณีเกิดไฟฟ้าดับ คือ ผลกระทบ ที่จะมีต่อ ระบบข้อมูลและสารสนเทศเป็นหลัก ดังนั้น จุดเน้นของการดำาเนินการ คือ การปิดระบบให้ทันภายใต้เงื่อนไขของระบบไฟฟ้าสำารองที่มีอยู่ เพื่อ ป้องกันความเสียหายของข้อมูลและระบบสารสนเทศ 2) ให้ปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ระบบเทคโนโลยี (Manual) และนำา เข้าข้อมูลเมื่อไฟฟ้ากลับมาใช้งานได้เป็นปกติ ภายหลังเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ 1) สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย 2) กำาหนดเป้าหมายให้สามารถปฏิบัติงานตามปกติได้ภายใน 6 ชั่วโมง นับจากไฟฟ้ากลับมา ใช้งานได้เป็นปกติ 11.5 กรณีเกิดเหตุชุมนุมประท้วง/จลาจล : เมื่อเริ่มเกิดเหตุการณ์ : 1) สำานักปลัดฯ ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และรายงานผู้ บังคับบัญชาตามลาดับชั้นทุกระยะและแจ้งเวียนให้สานัก/กองทราบถึง สถานการณ์ 2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานติดตาม สถานการณ์จากสำานักปลัดฯ และแจ้งให้ทุกสำานัก/กอง/ส่วน จัดให้มีการ Back UP ข้อมูลที่จาเป็นสำาหรับการปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้อยู่ในระบบ สารสนเทศ หรือระบบข้อมูลกลาง ลงอุปกรณ์สารองข้อมูล อาทิ External Hard disk แผ่น CD ฯลฯ เพื่อป้องกันความเสียหายของข้อมูล รวมถึง เป็นการเตรียมข้อมูลสำาหรับการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต
  • 25. 3) ส่วนโยธา ประสานงานในการเตรียมจัดหาสถานที่ปฏิบัติ งานสำารอง และส่วนการคลังประสานจัดหา เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ เพื่อเตรียมรับกับสถานการณ์หากพัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต 4) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า คณะบริหารความต่อเนื่อง และหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อแจ้ง ข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ ตามกระบวนการ Call Tree เพื่อทราบและ เตรียมพร้อมในเบื้องต้น เมื่อเหตุการณ์พัฒนาเข้าสู่สภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นผลทำาให้การ ปฏิบัติงานขององค์การส่วนตำาบลแม่สันต้องหยุดชะงักลง 1) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง ประสานงานกับ ส่วนโยธา เพื่อเตรียมความพร้อมของสถานที่ปฏิบัติงานสำารอง และ ประสานกับกองคลังเพื่อเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ ให้เรียบร้อย พร้อมสำาหรับการปฏิบัติงานของคณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมงาน บริหารความต่อเนื่อง 2) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง เสนอนายก องค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ในฐานะหัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเนื่องดำาเนินการตามแผนความต่อเนื่องที่ได้วางแผนไว้ -15- 3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง แจ้งรองหัวหน้า คณะบริหารความต่อเนื่อง และแจ้งหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อ แจ้งข้อมูลให้กับบุคลากรในทีมฯ เพื่อปฏิบัติตามแผนความต่อเนื่อง (กรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้แจ้งบุคลากรสำารอง) 4) ทีมบริหารความต่อเนื่อง ไปรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ณ สถานที่ปฏิบัติงานสำารอง ที่กำาหนด ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่ ที่ได้รับแจ้งจากหัวหน้าทีมฯ 5) การประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อสรุปสถานการณ์ ความพร้อมของบุคลากรเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ รวมถึงรับทราบ นโยบาย แนวทางในการปฏิบัติงาน 6) ทีมบริหารความต่อเนื่องปฏิบัติงานตามกระบวนงานที่รับผิด ชอบ 7) ทีมบริหารความต่อเนื่องกองคลัง เป็นเจ้าภาพในการจัดหา อาหาร น้าดื่ม ที่พัก (กรณีจำาเป็น) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
  • 26. 8) คณะบริหารความต่อเนื่อง ติดตามการปฏิบัติงานของทีม บริหารความต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมถึงติดตาม สถานการณ์ว่าได้กลับสู่สภาวะปกติแล้วหรือไม่ เพื่อตัดสินใจในการกลับมา ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติ เมื่อเหตุการณ์กลับเข้าสู่สภาวะปกติ ให้สานัก/กอง/ส่วน ตรวจสอบความเสียหาย (ถ้ามี) และดำาเนินการ เพื่อให้เข้าสู่การทางาน ในสภาวะปกติ (นายนิกร ผัสดี) ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลแม่สัน