SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระยะ 4 ปี (2563 – 2566)
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คํานํา
การพัฒนาคุณภาพของการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระยะที่มีสภาวการณ์ของการ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้บริหาร
สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาจึงต้องร่วมมือกันกําหนดแนวทาง กระบวนการ และเครื่องมือ
ในการบริหารจัดการศึกษาให้มีความหลากหลาย การขับเคลื่อนการพัฒนาโดยยุทธศาสตร์จก่อให้เกิด
คุณค่าตามเป้าประสงค์ที่กําหนดไว้
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2563-2566) ของโรงเรียนกุดชุม
วิทยาคม ฉบับนี้ เป็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้บังเกิดผล โดยใช้กลยุทธ์การบริหาร
แบบใช้โรงเรียนเป็นฐานและการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม จัดทําเป็นแผนพัฒนาคุณภาพระยะ
ยาว ที่สามารถนําไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 บริบทของโรงเรียน
ส่วนที่ 2 วิเคราะห์บริบทของโรงเรียน (SWOT)
ส่วนที่ 3 การกําหนดแผนยุทธศาสตร์
ส่วนที่ 4 แผนพัฒนาคุณภาพ โครงการ/กิจกรรม
ส่วนที่ 5 แผนการควบคุมและกํากับติดตาม
คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2563-2566)
ฉบับนี้จะเป็นแบบอย่างและแนวทางการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม ให้ประสบผลสําเร็จตามเป้าหมายที่
โรงเรียนกําหนดไว้
คณะผู้จัดทํา
3
สารบัญ
หน้า
คํานํา
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา 4
- ประวัติโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 5
- เกียรติประวัติของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 9
- จํานวนข้าราชการครูและบุคลากร 11
- ผลประเมินภายนอกรอบสาม 12
- บทสรุปสําหรับผู้บริหาร 13
ส่วนที่ 2 วิเคราะห์องค์กร 15
- วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 16
- วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม (SWOT) สภาพภายนอก 16
- วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม (SWOT) สภาพภายใน 18
- ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 19
- แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 20
บนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT
ส่วนที่ 3 สาระสําคัญของแผนกลยุทธ์ 21
- อุดมการณ์ หลักการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 22
- มาตรฐานการศึกษาของชาติ 23
- นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 26
- ทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษาของ สพม.28 28
- ทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 29
- KUTCHUM MODEL 31
ส่วนที่ 4 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี 32
- กรอบการดําเนินงาน กลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ระดับแผนงาน 35
- โครงการและเป้าหมายความสําเร็จจําแนกตามกลยุทธ์ 42
ส่วนที่ 5 แผนการควบคุม กํากับติดตาม 52
- แนวทางการบริหารแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ 53
- ปฏิทินการกํากับติดตาม 54
ภาคผนวก
คณะกรรมการจัดทําแผนกลยุทธ์ 55
4
ส่วนที่ 1
ข้อมูลพืÊนฐานสถานศึกษา
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม โรงเรียนมาตรฐานสากล
(World – Class Standard School)
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
ประวัติโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
สถาปนาโรงเรียน และให้เปิดทําการเรียนการสอน ในปีการศึกษา
โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา (ศรีวิสารรังสรรค์
ราชพัสดุ และที่ดินบริจาคของวัดวินิจธรรมารามบางส่วน มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น
ถนนวารีราชเดช หมู่ 8 ตําบล กุดชุม อําเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร
กิโลเมตร โดยมี นางสาวเจริญ กาลวัน
นายกุศล แสงพันธุ์ ดํารงตําแหน่งครูใหญ่คนแรก และกรมสามัญศึกษาได้อนุมัติงบประมาณ ก่อสร้างอาคารเรียน
แบบ 216 ก. จํานวน 1 หลัง อาคารชั่วคราว จํานวน
จํานวน 1 หลัง
โรงเรียนได้รับการพัฒนาขึ้นในทุกด้าน
และครูเพิ่มมากขึ้นทุกปีเป็นลําดับ พร้อมนี้ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียน
ตามสัดส่วนของจํานวนนักเรียนที่เพิ่มขั้น
ในปีการศึกษา 2525
ความไว้วางใจให้เข้าร่วมโครงการสําคัญ ๆ ของกรมสามัญศึกษาหลายโครงการ เช่น
ขยายโอกาสทางการศึกษา โครงการปฏิรูปการศึกษา เป็นต้น
ในปี พ.ศ. 2540-2541
ในปี พ.ศ. 2542 โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ
ในปี พ.ศ. 2545 โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเ
ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างหอประชุม แบบ
ในปี พ.ศ. 2548 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบ
โรงเรียนในฝัน” ซึ่งเป็นที่ภาคภูมิใจอย่างยิ่ง ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน
กุดชุมวิทยาคม
กุดชุมวิทยาคม
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม ได้รับอนุมัติจากกรมสามัญศึกษา เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม
ให้เปิดทําการเรียนการสอน ในปีการศึกษา 2515 โดยในครึ่งปีแรกได้อาศัยอาคารเรียนของ
ศรีวิสารรังสรรค์) ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ ณ ที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่ดินของ
และที่ดินบริจาคของวัดวินิจธรรมารามบางส่วน มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 102 ไร่
ตําบล กุดชุม อําเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร ห่างจากที่ตั้งที่ว่าการอําเภอกุดชุม ประม
นางสาวเจริญ กาลวัน รักษาการในตําแหน่งครูใหญ่ พ.ศ. 2516 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้
ดํารงตําแหน่งครูใหญ่คนแรก และกรมสามัญศึกษาได้อนุมัติงบประมาณ ก่อสร้างอาคารเรียน
หลัง อาคารชั่วคราว จํานวน 1 หลัง บ้านพักครู จํานวน 2 หลัง
โรงเรียนได้รับการพัฒนาขึ้นในทุกด้าน โดยได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากชุมชน มีจํานวนนักเรียน
และครูเพิ่มมากขึ้นทุกปีเป็นลําดับ พร้อมนี้ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียน
ตามสัดส่วนของจํานวนนักเรียนที่เพิ่มขั้น
2525 โรงเรียนได้เปิดการเรียนการสอนจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ความไว้วางใจให้เข้าร่วมโครงการสําคัญ ๆ ของกรมสามัญศึกษาหลายโครงการ เช่น
ครงการปฏิรูปการศึกษา เป็นต้น
2541 ได้รับงบประมาณ ให้ก่อสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น แบบ
โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ Resource Center
โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนต้นแบบ " หนึ่งอําเภอหนึ่งโรงเรียน
ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างหอประชุม แบบ 100/27 จํานวน
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบ
ภูมิใจอย่างยิ่ง ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน
5
ส่วนที่ 1
สภาพทั่วไป
พฤษภาคม 2515 และถือเป็นวัน
โดยในครึ่งปีแรกได้อาศัยอาคารเรียนของ
ยู่ ณ ที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่ดินของ
ไร่ 3 งาน 36 ตารางวา ตั้งอยู่
ห่างจากที่ตั้งที่ว่าการอําเภอกุดชุม ประมาณ 1.5
กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้
ดํารงตําแหน่งครูใหญ่คนแรก และกรมสามัญศึกษาได้อนุมัติงบประมาณ ก่อสร้างอาคารเรียน
หลัง บ้านพักนักการภารโรง
โดยได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากชุมชน มีจํานวนนักเรียน
และครูเพิ่มมากขึ้นทุกปีเป็นลําดับ พร้อมนี้ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบเพิ่มมาขึ้น
โรงเรียนได้เปิดการเรียนการสอนจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และได้รับ
ความไว้วางใจให้เข้าร่วมโครงการสําคัญ ๆ ของกรมสามัญศึกษาหลายโครงการ เช่น โครงการ รพชส. โครงการ
แบบ 424 ล./(พิเศษ)
หนึ่งอําเภอหนึ่งโรงเรียน ในฝัน "
จํานวน 1 หลัง
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบ “หนึ่งอําเภอหนึ่ง
6
ในปี พ.ศ.2554 ได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชรและโรงเรียนดีเด่นด้าน
คุณธรรมและจริยธรรม
ในปี พ.ศ.2556 เปิดหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4
ในปี พ.ศ.2558 ได้รับการประเมินเป็นสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ระดับดีเด่น
ในปี พ.ศ. 2561 – 62 ได้รับงบประมาณ ให้ก่อสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น แบบ 324 ล/55 นอกเขต
แผ่นดินไหว
ในปัจจุบัน นายบุญมี พุ่มจันทร์ เป็นผู้อํานวยการโรงเรียน
1.2 ข้อมูลผู้บริหาร
๑. นายกุศล แสงพันธุ์ ตําแหน่งอาจารย์ใหญ่ พ.ศ.2516 – 2522
๒. นายบุญทัน ศรีใสคํา ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2522 – 2529
๓. นายไวยวุฒิ มนต์ขลัง ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2529 – 2531
๔. นายประสิทธิ์ รัตนวงศ์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2531 – 2533
๕. นายเพชร แก้วใส ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2533 – 2541
๖. นายสําเร็จ โพธิวรรณา ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2541 – 2542
๗. นายสรรเพชญ อาจวิชัย ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2542 – 2548
๘. นายวิศิษฐ์ ขุณิกากรณ์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2548 – 2553
๙. นายไพฑูรย์ แสงพันธุ์ รองผู้อํานวยการรักษาราชการแทน พ.ศ.2553 – 2554
10. นายเสนอเกียรติ พราวศรี ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2554 – 2555
11. นายไตรสรณ์ สุวพงษ์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2555 – 2558
12. นายวิวัฒนา ไชยา ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2558 – 2560
13. นายศักดิ์ชัย ครู่แก้ว รองผู้อํานวยการรักษาราชการแทน พ.ศ.2560 – 2561
14. นายบุญมี พุ่มจันทร์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2561 – ปัจจุบัน
7
.
สัญลักษณ์
คติพจน์ “สุวิชาโน ภวํ โหติ” (ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ)
ปรัชญาโรงเรียน “ตั้งใจอบรมสั่งสอนนักเรียนให้มีความรู้ คู่ระเบียบวินัย มีคุณธรรม
มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์”
ชื่อย่อโรงเรียน
สีประจําโรงเรียน
ก.ช.
เขียว – ขาว
รูปจําลองศาลเจ้าพ่อหลักเมืองกุดชุม ภายใต้รัศมี 9 แฉก ตั้งอยู่บนฐาน
บัวหงาย มีอักษรย่อ ก.ช. กํากับ มีชื่อกุดชุมวิทยาคม
สัญลักษณ์ประจําโรงเรียน
เอกลักษณ์ ภูมิทัศน์สวยงาม
ค่านิยมของโรงเรียน ความสะอาด ยิ้มง่าย จิตอาสา มีความมุ่งมั่น
วัฒนธรรมของโรงเรียน รู้รักสามัคคี มีจิตอาสา ผูกพันร่วมกันทํางานอย่างมีความสุข
อัตลักษณ์ของโรงเรียน จิตอาสา จรรยางาม
สมรรถนะหลักของโรงเรียน 1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี
3. การพัฒนาตนเอง 4. การทํางานเป็นทีม
ต้นไม้ประจําโรงเรียน ต้นราชพฤกษ์
8
,4
แผนผังโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
1/4
9
1. ผลงานนักเรียนดีเด่นของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
พ.ศ. 2562 “ได้รับรางวัล 18 เหรียญทอง 8 เหรียญเงิน 3 เหรียญทองแดง 2 เข้าร่วมของการแข่งขัน
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69 ประจําปีการศึกษา 2562 ระดับชาติ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ณ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ 12-14 เดือนกันยายน 2562 ได้แก่
1. ภาษาไทย
1.1 เด็กหญิงอัจฉรา จันทมาศ เข้าร่วม การแข่งขันวรรณกรรมพิจารณ์ ม.1-ม.3
1.2 เด็กหญิงสุริยะประภา ชูรัตน์ เข้าร่วม การแข่งขันพินิจวรรณคดี ม.1-ม.3
1.3 นางสาววิภาพร เวฬุวนาธร เหรียญทองแดง การแข่งขันการท่องอาขยานทํานองเสนาะ ม.4-ม.6
2. คณิตศาสตร์
2.1 นางสาวกัลยา สีโย เหรียญเงิน การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ม.4-ม.6
2.2 นางสาวมลฤดี แสวงผลและนางสาวลินรตา ไชยศรี เหรียญเงิน การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงาน
คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ม.4-ม.6
2.3 เด็กหญิงสุรีรัตน์ โคตรพัฒน์ เหรียญทองแดง การแข่งขันซูโดกุ ม.1-ม.3
3. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
3.1 เด็กหญิงจิราพร ไชยสัจ, เด็กหญิงสุภิตรา สารารัตน์, เด็กหญิงสุรภา บุญจันทร์สุนีย์, เด็กหญิงธนัช
พร กาลจักร์และเด็กหญิงสิริญาดา ข่าสะโปน เหรียญทอง การประกวดโครงงานคุณธรรม ม.1-ม.3
3.2 นางสาวจณิตา จันลาชัย, นายณัฐพล คําใบ, นายภูวฤทธิ์ บุญบรรลุ, นางสาวสุพรรณิการ์ นวพัฒน์
ธานีและนางสาวอรหทัย จันดี เหรียญทอง การประกวดภาพยนตร์สั้น ม.4-ม.6
4. สุขศึกษา และพลศึกษา
นางสาวจินต์จุฑา สิงคิบุตรและนางสาวศศิฃา จันชุม เหรียญทองแดง การแข่งขันตอบปัญหา
สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4-ม.6
5. ศิลปะ
5.1 นายอรรถพันธ์ อ่างแก้ว เหรียญทอง การแข่งขัน "ศิลป์สร้างสรรค์" ม.4-ม.6
5.2 เด็กชายณัฐพงศ์ ศรีวะสุทธิ์ เหรียญเงิน การแข่งขันเขียนภาพไทยประเพณี ม.1-ม.3
5.3 นายพีรวัส คงบุญวาส เหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทชาย ม.4-ม.6
5.4 นางสาววิภาพร เวฬุวนาธร เหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทหญิง ม.4-ม.6
5.5 นางสาววิภาพร เวฬุวนาธร เหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกกรุง ประเภทหญิง ม.4-ม.6
5.6 นายธนากร มลิวัน เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวซอด้วง ม.4-ม.6
5.7 นายธนากร มลิวัน เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวซออู้ ม.4-ม.6
5.8 นายธนากร มลิวัน เหรียญทอง การแข่งขันการขับร้องเพลงไทย ม.4-ม.6
เกียรติประวัติของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
10
5.9 นางสาวคริสมาสต์ มูลสาร,นางสาวจุฑาทิพย์ โสมาบุตร,นางสาวนภัสสร มุละสิวะ,นางสาวนันพัฒน์
คําประวัติ,นายรัชชานนท์ วงษ์ศรีแก้ว,นายวศิน ไชยมี,นายวิศิษฐ์ มูละสิวะ,นายศุภชัย น้ําใจดี, นายสิทธิพงษ์
ชิณสิทธิ์และนางสาวสุรีพร สว่างวงษ์ เหรียญเงิน การแข่งขันรําวงมาตรฐาน ม.4-ม.6
5.10 นางสาวกาญจนา ไตรยสุทธิ์, นางสาวนาตาลี บุญยอ, นางสาวปิยดา อินทนาม, นางสาวพร
พิมล สุวรรณเพชร, นางสาวศิริรัตน์ หงษ์คํา, นางสาวสุชาวดี มาตขาวและนางสาวอาทิญา ตาสว่าง
เหรียญทอง การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ ม.4-ม.6
6. ภาษาต่างประเทศ
- นางสาวกุลวดี มีคุณ เหรียญเงิน การแข่งขันต่อศัพท์ภาษาอังกฤษ (ครอสเวิร์ด) ม.4-ม.6
7. วิทยาศาสตร์และคอมพิวเตอร์
7.1 เด็กหญิงพีรชญา ช่างไชยและเด็กหญิงอัจฉริยา แว่นรัมย์ ชนะเลิศเหรียญทอง การแข่งขันการสร้าง
เกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ม.1-ม.3
7.2 นางสาวพรพิมล แสงศรีและนางสาวสุดารัตน์ ขุนนรา เหรียญทอง การแข่งขันการสร้างเกม
สร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ม.4-ม.6
7.3 เด็กชายคณิต บุญบรรลุ, เด็กชายพีรยุทธ บุญทวี และเด็กชายสุชาติ มูลสาร เหรียญทอง การ
แข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ม.1-ม.3
7.4 นายนพรัตน์ บุญทวี, นายพีรณัฐ สุนทราและนายสุธิพล คําโตนด เหรียญทอง การแข่งขันหุ่นยนต์
ระดับพื้นฐาน ม.4-ม.6
8. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
นางสาวพรไพลิน ทองเพิ่ม, นางสาวสิราวรรณ ศรีธรรมมา และนายอานนท์ บุญศรี เหรียญเงิน การ
ประกวดหนังสือเล่มเล็ก ม.4-ม.6
9. การงานอาชีพ
9.1 เด็กหญิงจิรัชยา พรมลิ, เด็กหญิงดวงจันทร์ จันทร์น้อย และเด็กหญิงอุทุมพร สารศรี เหรียญทอง
การแข่งขันทําอาหาร น้ําพริก ผักสด เครื่องเคียง ม.1-ม.3
9.2 นางสาวกุลจิรา คําศรี, นางสาวจุฑาทิพย์ วงษ์ศรีแก้วและนางสาวพัชรินทร์ นาถาบํารุง เหรียญทอง
การแข่งขันทําอาหาร น้ําพริก ผักสด เครื่องเคียง ม.4-ม.6
9.3 เด็กหญิงนิปุณรัตน์ บุญอินทร์, เด็กหญิงประภาสิริ ทองน้อยและเด็กหญิงศรัณย์พร สมหวัง
เหรียญทอง การแข่งขันทําอาหารคาวหวานเพื่อสุขภาพ ม.1-ม.3
10. ศิลปวัฒนธรรมอีสาน
10.1 เด็กชายชนิทร โสมาบุตร เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวโหวด ม.1-ม.3
10.2 เด็กชายสุรพร ปากหวาน เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวพิณ ม.1-ม.3
10.2 เด็กชายปารเมศ สมบัติหล้า เ
หรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวแคน ม.1-ม.3
11. 2. ได้รับรางวัลชนะเลิศฟุตบอลรุ่นอายุ 18 ปี กีฬาธนาคารโรงเรียนธนาคารออมสิน ประจําปี 2562
11
โดย นายณัฐวุฒิ แก้วกัญญา ได้รับรางวัลนักเตะทรงคุณค่า MVP ได้รับคัดเลือกเข้ารับการฝึกอบรมโครงการ "GSB
Football Clinic 2019"จากนักเรียนโครงการ "ช้างชมพู" ทั่วประเทศ ที่ผ่านการคัดเลือกทั้ง 35 คน
2. ผลงานนักเรียนดีเด่นของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
1. โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(OBECQA) ระดับ SCQA ปี2561
2. นายบุญมี พุ่มจันทร์ ผู้อํานวยการโรงเรียน ได้รับรางวัลผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาที่มี
ผลงานดีเด่น ประจําปี 2562 ของสมาคมผู้บริหารโรงเรียนมัธยศึกษาแห่งประเทศไทย(ส.บ.ม.ท.)
ตําแหน่ง อันดับ
จํานวน (คน)
ร้อยละ
ชาย หญิง รวม
ผู้อํานวยการ คศ.3 1 - 1 1.08
รองผู้อํานวยการ คศ.3 2 - 2 2.15
ครู คศ.4 - - -
ครู คศ.3 16 25 41 44.09
ครู คศ.2 3 2 5 5.38
ครู คศ.1 15 20 35 37.63
ครูผู้ช่วย 3 6 9 9.68
รวม 40 53 93 100
ครูธุรการ(คืนครู) - 1 1 4.35
ครูพิเศษ 4 1 5 21.74
ครูชาวต่างชาติ 2 - 2 8.70
ลูกจ้างประจํา - - - -
ลูกจ้างชั่วคราว 6 7 13 56.52
เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 2 - 2 8.70
รวม 14 9 23 100
รวมทั้งหมด 54 62 116 -
จํานวนข้าราชการครูและบุคลากร ปีการศึกษา 2562
12
ข้อมูลแสดงจํานวนนักเรียนโรงเรียนกุดชุมวิทยาคมปีการศึกษา 2560 – 2566
ที่ ปีการศึกษา
จํานวนนักเรียน
ชาย หญิง รวม
1 2560 751 963 1714
2 2561 753 999 1752
3 2562 778 944 1722
4 2563 819 941 1760
5 2564 821 932 1753
6 2565 842 920 1762
7 2566 843 908 1750
ในวันที่ 23-25 กรกฎาคม 2555 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาจากการประเมิน
รอบสาม ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน)
ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จําแนกตามกลุ่มตัวบ่งชี้
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
(มัธยมศึกษา)
น้ําหนัก
(คะแนน)
คะแนน
ที่ได้
ระดับ
คุณภาพ
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10.00 9.62 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10.00 9.37 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10.00 9.15 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทําเป็น 10.00 9.27 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20.00 6.56 ต้องปรับปรุง
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 10.00 9.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น
สังกัด
5.00 4.69 ดีมาก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
13
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
(มัธยมศึกษา)
น้ําหนัก
(คะแนน)
คะแนน
ที่ได้
ระดับ
คุณภาพ
กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น
เอกลักษณ์ของ สถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ
สถานศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานรักษา
มาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป
การศึกษา
5.00 5.00 ดีมาก
คะแนนรวม 100.00 82.66 ดี
การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
 ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป  ใช่  ไม่ใช่
 มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไปอย่างน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตัวบ่งชี้  ใช่  ไม่ใช่
 ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่
สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม
 สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม ตั้งอยู่เลขที่ 265 หมู่ที่ 8 ตําบลกุดชุม อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิด
สอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีบุคลากรสายบริหาร 4 คน ได้รับการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสาม เมื่อวันที่ 23 ถึง 25 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 มีการจัดการศึกษา 1 ระดับ คือ
1. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา มีบุคลากรครูจํานวน 63 คน ผู้เรียนจํานวน 1,731 คน
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา แสดงในตารางสรุปผลได้ ดังนี้
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
14
ลําดับที่ ตัวบ่งชี้
ที่
ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับ
คุณภาพ
1 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ดีมาก
2 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ดีมาก
3 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ดีมาก
4 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทําเป็น ดีมาก
5 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสําคัญ
ดีมาก
6 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
ดีมาก
7 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษา
และต้นสังกัด
ดีมาก
8 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ของ การจัดตั้งสถานศึกษา
ดีมาก
9 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ดีมาก
10 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา
ดีมาก
11 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ
ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
ดีมาก
15
ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพต่ํากว่าระดับดี ได้แก่
ลําดับที่ ตัวบ่งชี้
ที่
ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับ
คุณภาพ
1 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ต้องปรับปรุง
จุดเด่น
1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีความใฝ่รู้และ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คิดเป็นทําเป็น ผลการพัฒนาบรรลุตามปรัชญาปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์
ของการจัดตั้งสถานศึกษา มีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษามี
ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
2. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา และสถานศึกษามีผลการส่งเสริม
พัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐานที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา
3. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
4. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและต้นสังกัด
จุดที่ควรพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฏกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553
ด้านผลการจัดการศึกษา
1. ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยครูร่วมกันพัฒนา
ศึกษาปัญหาเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้และเป็นรายบุคคล วางแผนจัดกิจกรรมพัฒนาเป็นรายบุคคลหรือเป็น
กลุ่มย่อยดําเนินการอย่างเป็นระบบ ครบวงจร PDCA อย่างต่อเนื่องและผู้เรียนควรมีความกระในการพัฒนาตนเอง
ติดตาม ประเมินผล และพัฒนาตนเองและครูควรใช้การวิจัยในชั้นเรียนพัฒนาผู้เรียน
2. สถานศึกษาควรมีการสอนซ่อมเสริมอย่างเป็นระบบครบวงจร PDCA และการติวข้อสอบในแนวข้อสอบ
O-NET อย่างเป็นระบบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเคยชินและเรียนรู้ข้อสอบในแบบของ สทศ. และ
กระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิดรวมทั้งการจัดระบบการวัดผลประเมินผลข้อทดสอบในการสอบ
ประจําภาคเรียนควรปรับปรุงข้อสอบในแนวทางการสอบความรู้ความคิดมากกว่าการจํา
ที่มา : ผลการประเมินภายนอกรอบสาม ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
16
ส่วนที่ 2
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
17
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
(SWOT Analysis)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อให้ผู้บริหารรู้ จุดแข็ง จุดอ่อน
สภาพภายในของโรงเรียน โอกาส และอุปสรรค์ของสภาพภายนอก ซึ่งจะช่วยให้ทราบว่าองค์กรได้เดินทางมาถูก
ทิศทางและไม่หลงทาง นอกจากนี้ยังบอกได้ว่าองค์กรมีแรงขับไปยังเป้าหมายได้ดีหรือไม่ มั่นใจได้อย่างไรว่าระบบ
การทํางานในองค์กรยังมีประสิทธิพอยู่ มีจุดอ่อนที่จะต้องปรับปรุงอย่างไร ซึ่งการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT
Analysis) โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม มีดังนี้
วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
SWOT สภาพภายนอก
โอกาส (Opportunities) คุกคาม (Threats)
S1 ชุมชน / ศิษย์เก่า มีส่วนร่วมในการสนับสนุน
ทรัพยากรเพื่อการ จัดการศึกษา
S2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุน
งบประมาณในการ จัดการศึกษา
S6 การนําวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น
มาร่วม จัดการเรียนการสอน
S7 ความร่วมมือของสถาบัน บ้าน วัด โรงเรียน
ส่งเสริมสนับสนุนจัดการศึกษา
T1 ชุมชนมีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตบริการ
T4 การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานด้วยระบบ E-
Office เป็นไปด้วยความรวดเร็ว
T5 การติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กรโดยใช้ระบบ line
สะดวกรวดเร็ว
E2 ประชาชน-ชุมชน น้อมนําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
E3 สามารถหารายได้จากอาชีพในท้องถิ่น
E5 รัฐสนับสนุนรายบุคคลในครอบครัวที่มีรายได้น้อย
P1 มีการกระจายอํานาจการจัดการศึกษาสู่
สถานศึกษา
P2 มีระเบียบ กฎหมายที่ส่งเสริมองค์คณะบุคคลเข้า
มามีส่วนร่วม
P4 มีกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมความรู้ทักษะชีวิต
ร่วมกันจากองค์กรในท้องถิ่น
S3 ผู้ปกครองบางส่วนขาดความเอาใจใส่ ดูแลพฤติกรรมที่
ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน
S4 การ หย่าร้าง เสียชีวิต หรือไปประกอบอาชีพต่าง
ท้องถิ่นของบิดา - มารดา
S5 นักเรียนเลียนแบบพฤติกรรมค่านิยมและความเชื่อที่ผิด
ด้านประเพณีวัฒนธรรม
S8 ผู้ปกครองบางส่วน ไม่ให้ความสําคัญต่อการจัด
การศึกษาภาคบังคับ
S9 ชุมชนไม่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหานักเรียนหลบเรียน
S10 ชุมชนไม่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหานักเรียนหลบเรียน
T2 บุคลากรในชุมชนที่มีความรู้และทักษะทางเทคโนโลยีมี
จํานวนจํากัด
T3 ชุมชนมีเครื่องมือ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการ
จัดการศึกษาของโรงเรียน
T6 มีร้านเกมในชุมชน ทําให้นักเรียนหลบเรียน
E1 ความยากจนและขาดแคลนของผู้ปกครองนักเรียน
E4 ราคาพืชผลทางเศรษฐกิจ ส่งผลต่อรายได้ของ
ผู้ปกครอง
P3 ระเบียบกฎหมายของ เทศบาลไม่เอื้อต่อการสนับสนุน
งบประมาณ
P5 การนํากฏหมายปราบปรามยาเสพติดมาบังคับใช้ไม่
จริงจังต่อเนื่อง
18
SWOT สภาพภายใน
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
S11 โครงสร้างการบริหารจัดการของโรงเรียนมีความชัดเจนและ
สอดคล้องกับหลักการกระจายอํานาจการบริหารและการจัด
การศึกษา
S12 นโยบายและกลยุทธ์ของโรงเรียน มีความชัดเจน สามารถ
ปฎิบัติได้
S13 มีคําสั่ง การปฏิบัติงานพิเศษ งานการสอนชัดเจน
S21 นักเรียนได้รับรางวัลจากการประกวด แข่งขันทักษะทาง
วิชาการระดับภาคฯ/สพม.
S25 การให้บริการด้านอาคารสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ แก่ชุมชน
S26 การให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนแก่ชุมชน
หลากหลายรูปแบบ
M12 ครูและบุคลากรทางการศึกษาสําเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ร้อยละ 100
M13 ครูสอนตรงวิชาเอกและความถนัด
M14 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการพัฒนาตนเองสู่
ความก้าวหน้าทางวิชาการ.
M17 ครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านการอบรมคุณธรรม
จริยธรรมทุกคน
M21 การจัดซื้อ จัดจ้าง ถูกต้องตามระเบียบ
M23 การใช้จ่ายงบประมาณตรงตามโครงการในแผนปฏิบัติการ
M24 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ได้รับการสนับสนุนจาก
ชุมชนเป็นอย่างดี
M32 .การจัดหาวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ได้รับการสนับสนุนจาก
ชุมชน
M33 โรงเรียน ใช้วัสดุอุปกรณ์ครุภัณฑ์อาคารสถานที่อย่างคุ้มค่า
M41 การจัดทําแผนกลยุทธ์และแผนประจําปีเกิดจากการมีส่วน
ร่วมของทุกฝ่าย
M43 มีการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี
M44 โรงเรียนมีดําเนินการบริหารแบบมีส่วนร่วม
M45 การนิเทศ กํากับติดตามประเมินผลเป็นระบบและต่อเนื่อง
M46 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดําเนินงาน
S14 ครูมีภาระงานพิเศษหลายงาน
S22 ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยการประเมินระดับชาติ
(O-NET) อยู่ในระดับต่ํากว่าร้อยละ 50
S23 การให้บริการด้านวิชาการแก่นักเรียน
ชุมชน ไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน
S24 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนยังไม่
เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญและหลากหลาย
S27 นักเรียนขาดความรับผิดชอบ ขาด
วินัย และจิตสาธารณะน้อย
M11 ครูมีภาระงาน อื่นมาก
M15 ครูบางส่วนยังไม่ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการสอนและการปฏิบัติงาน.
M16 ครูและบุคลากรทางการศึกษาขาด
ทักษะการทําวิจัยเพื่อพัฒนา
M18 ครูย้ายโรงเรียนบ่อย
M19 ครูมีอายุราชการน้อย
M110 ครูขาดความเอาใจใส่ในภาระงาน
อย่างจริงจัง
M111 ครูขาดขวัญกําลังใจ
M22 การส่งหลักฐานเบิกจ่ายเงินล่าช้า
M25 งบประมาณไม่เพียงพอ
M31 .วัสดุ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ไม่
เพียงพอ
M34 การดูแลวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์
M42 การดําเนินงานบางโครงการ ไม่ทัน
ตามปีงบประมาณ
M47 การรายงานผลตามโครงการล่าช้า
19
ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
1. สรุปผลการวิเคราะห์สสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP)
รายการปัจจัย
สภาพแวดล้อมภายนอก
น้ําหนัก
คะแนนเฉลี่ย น้ําหนักคะแนนเฉลี่ย สรุปผลการ
วิเคราะห์โอกาส คุกคาม โอกาส คุกคาม
1. ด้านสังคม-วัฒนธรรม
(Social = S)
35 4.36 3.89 1.53 1.36 0.17
2. ด้านเทคโนโลยี
(Technology = T )
25 4.11 3.66 1.03 0.91 0.11
3. ด้านเศรษฐกิจ
( Economic = E )
20 4.03 3.90 0.81 0.78 0.03
4. ด้านการเมืองและ
กฎหมาย (Politic = P)
20 4.16 4.18 0.83 0.84 0.00
รวม 100 4.19 3.89 0.30
2. สรุปผลการวิเคราะห์สสภาพแวดล้อมภายใน (2S 4M)
รายการปัจจัยสภาพแวดล้อม
ภาย.o
น้ําหนัก
คะแนนเฉลี่ย น้ําหนักคะแนนเฉลี่ย สรุปผลการ
วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง จุดอ่อน
1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย
(Structure =S1 ) 10 4.04 3.64 0.40 0.36 0.04
2. ด้านผลผลิตและการบริการ
(Service and Products = S2 ) 25 3.88 3.94 0.97 0.98 -0.01
3. ด้านบุคลากร
(Man = M1) 20 4.11 4.08 0.82 0.82 0.01
4. ด้านประสิทธิทางการเงิน
(Money = M2) 14 3.93 3.75 0.55 0.53 0.03
5. ด้านวัสดุ และอุปกรณ์
(Materials = M3 ) 11 3.69 3.75 0.41 0.41 -0.01
6. ด้านการบริหารจัดการ
( Mannagement = M4 ) 20 4.16 3.92 0.83 0.78 0.05
รวม 100 3.98 3.89 0.10
20
แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
บนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT
ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียน จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของ
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมดังกล่าวข้างต้น สามารถประเมินสถานภาพของโรงเรยีนได้อยู่ในลักษณะ “เอื้อและแข็ง”
(STAR) กล่าวคือ โรงเรียนมีสมรรถนะภายในที่เข็มแข็งและสภาพแวดล้อมภายนอกที่เอื้อต่อการดําเนินกิจการ
กลยุทธ์ที่ควรนํามาใช้คือขยายงานและสร้างความเจริญ โดยขยายภารกิจในการจัดการศึกษา และให้บริการ
ทางการศึกษากับชุมชนหรือกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ตรงตามความรู้
ความสามารถของตนเอง และมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ําเสมอ ก่อให้เกิดการปฏิบัติหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพ การ
บริหารการจัดการที่เป็นระบบชัดเจน และมีคุณภาพ ด้านผลผลิตและการให้บริการที่ดีมีชื่อเสียง เป็นจุดแข็งในการ
พัฒนาภายใต้การส่งเสริม สนับสนุนจากปัจจัยภายนอก ซึ่งได้แก่ ปัจจัยด้านสังคม และวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ
ด้านเทคโนโลยี ด้านการเมืองและกฎหมาย ซึ่งมีระเบียบพระราชบัญญัติที่เอื้อต่อการดําเนินการ
ดังนั้นโรงเรียนกุดชุวิทยาคม ได้กําหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลที่สูงขึ้นในปีการศึกษา 2563-2566 จึงเน้น “การสร้างความเจริญก้าวหน้า” ประกอบด้วย
1. พัฒนาโรงเรียนรับการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล
2. จัดการเรียนการสอนโดยเพิ่มห้องเรียนคุณภาพให้กับนักเรียนที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการคู่ขนาน
ห้องเรียนปกติ
3. โครงการปรับปรุงสื่อด้านเทคโนโลยี เพื่อสร้างทักษะตามคุณลักษณะศตวรรตที่ 21
4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีทักษะการใช้สื่อยุค 4.0 ประกอบการเรียนการสอน
5. โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจําตําบลสู่โรงเรียนคุณภาพระดับจังหวัดต่อไป
21
ส่วนที่ 3
สาระสําคัญของแผนกลยุทธ์
22
ส่วนที่ 3
สาระสําคัญของแผนกลยุทธ์
อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อุดมการณ์
เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชนโดยรัฐต้องจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาเยาวชนไทยทุกคน
ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะที่เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก เพื่อเป็นรากฐานที่พอเพียงสําหรับการ
ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งเพื่อการพัฒนาหน้าที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิตส่วนตนและครอบครัว และ
เพื่อสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งสําหรับการสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาประเทศที่
ยั่งยืนในอนาคต
หลักการ
ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ ดังนี้
1.หลักการพัฒนาผู้เรียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ
คุณธรรม เป็นผู้มีจริยธรรมในการดําเนินชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ใฝ่รู้มีทักษะในการแสวงหา
ความรู้ที่พอเพียงต่อการพัฒนางานอาชีพและคุณภาพชีวิตส่วนตน สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลงได้อย่างเท่าทัน
และชาญฉลาด และมีความเป็นประชาธิปไตย
2.หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นไทย ให้มีความรัก และภาคภูมิใจในท้องถิ่นและประเทศชาติ
มีความรู้และทักษะพื้นฐานสําหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุ่งมั่น ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน มีลักษณะ
นิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมไทย และสังคมโลก
3.หลักแห่งความเสมอภาค คนไทยทั่งปวงต้องมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษา
พื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างเท่าถึงเท่าเทียม ควบคู่ไปกับความมีคุณภาพ โดยไม่แบ่งชนชั้นหรือความแตกต่าง
ทางสังคมวัฒนธรรม
4.หลักการมีส่วนร่วม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการบริหารและการ
จัดการศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างเอกลักษณ์ศักดิ์ศรี
และตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นตามนัยของธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เกี่ยวกับ
การกระจายอํานาจ
5.หลักแห่งความสอดคล้อง อุดมการณ์และมาตรฐานในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ต้องสอดคล้องกับสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 นโยบายการศึกษาของรัฐบาลที่
แถลงต่อรัฐสภา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติและสัมพันธ์เชื่อมโยงกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา และ
มาตรฐานการอุดมศึกษา
23
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
หลักการ
1.ให้ความสําคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ทั้งผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ข้าราชการพลเรือน และผู้บริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทและเป็นการศึกษา
ตลอดชีวิต
2.บูรณาการการทํางานร่วมกันระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การมหาชนในกํากับของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการให้มีความคล่องตัว รวมทั้งหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่ภูมิภาคให้สมารถ
ปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพื่อดําเนินการปฏิรูการศึกษาร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ตามนโยบาย
ประชารัฐ
ระดับมัธยมศึกษา
มุ่งต่อยอดระดับประถมศึกษา ด้วยจุดเน้น ดังนี้
1.จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) และ
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาที่สาม)
2.จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างทักษะพื้นฐานที่เชื่อมโยงสู่การสร้างอาชีพและการมีงานทํา เช่น
ทักษะด้านกีฬาที่สามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬามืออาชีพ ทักษะภาษาเพื่อเป็นมัคคุเทศก์
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขในสังคม
พันธกิจ
1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ/ประเภทสู่สากล
2. เสริมสร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาของประชาชนอย่างทั่วถึง เท่าเทียม
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์
1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
3. ผลิตและพัฒนากําลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ
4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
24
เป้าประสงค์
1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และการ
พัฒนาประเทศในอนาคต
2. กําลังคนได้รับการผลิตและพัฒนา เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ
3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
4. คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
มัธยมปลาย/อาชีวศึกษา
ผู้เรียนรู้
(Leamer Person)
เพื่อสร้างานและ
คุณภาพชีวิตที่ดี
ชี้นําการเรียนรู้ด้วยตนเองมีทักษะการเรียนรู้ มีความรอบรู้รู้ทันการ
เปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาสุขภาวะคุณภาพชีวิตและอาชีพ
ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม
(Innovative Co-creator)
เพื่อสังคมที่มั่นคง
มั่งคั่งและยั่งยืน
สามารถแก้ปัญหาสื่อสารเชิงบวกทักษะข้ามวัฒนธรรมทักษะการสะท้อนคิด
การวิพากษ์เพื่อสร้างนวัตกรรมและสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
พลเมืองที่เข้มแข็ง
(Active Citizen)
เพื่อสันติสุข
เชื่อมั่นในความเท่าเทียมเป็นธรรม มีจิตอาสากล้าหาญทางจริธรรมและเป็น
พลเมืองที่กระตือรือร้นร่วมสร้างสังคมที่ยั่งยืน
ค่านิยมร่วม : ความเพียรอันบริสุทธิ์ ความพอเพียง วิธีประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค
คุณธรรม:ลักษณะนิสัยและคุณธรรมพื้นฐานที่เป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความขยัน ความซื่อสัตย์
ความรับผิดชอบ ฯลฯ
25
แผนภาพที่ 1ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (คุณลักษณะของคนไทย 4.0) ซึ่งมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันและ
มีระดับความลึกต่างกันสําหรับแต่ละระดับการศึกษา
ตารางที่ 1ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา ซึ่งมีการสะสมและต่อเนื่องเชื่อมโยงทุกระดับและประเภท
การศึกษา
คุณลักษณะ มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย/อาชีวศึกษา
1. ผู้เรียนรู้ รู้จักตนเองและผู้อื่น มีเป้าหมายและ
ทักษะการเรียนรู้ บริหารจัดการตนเองเป็น
ทักษะชีวิต มีความรู้ความรอบรู้และ
สมรรถนะที่จําเป็นต่อการสร้างสุขภาวะ
การศึกษาต่อหรือการทํางานที่เหมาะสม
กับช่วงวัย
สามารถชี้นําการเรียนรู้ด้วยตนเองมี
ทักษะการเรียนรู้ รู้ทันการ
เปลี่ยนแปลงปรับตัวในโลกยุคดิจิทัล
ได้ มีทักษะชีวิตฟันฝ่าอุปสรรคได้ มี
ความรู้ ความรอบรู้ด้านต่างๆ และ
สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ในการ
พัฒนาสุขภาวการณ์ศึกษา/การ
ทํางาน/อาชีพ เพื่อพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของตน
2. ผู้ร่วม
สร้างสรรค์
นวัตกรรม
มีทักษะการทํางานร่วมกัน ทักษะการ
สื่อสาร มีความรอบรู้ทางข้อมูลสารสนเทศ
และทางดิจิทัลเพื่อแก้ปัญหา มีการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์
สามารถนําความคิดสู่การสร้างผลงานใน
ลักษณะต่างๆ
สามารถแก้ปัญหา สื่อสารเชิงบวก
ทักษะข้ามวัฒนธรรม ทักษะการ
สะท้อน การวิพากษ์เพ่อสร้าง
นวัตกรรม และสามารถเป็น
ผู้ประกอบการได้
3. พลเมืองที่
เข้มแข็ง
ความเชื่อมั่นในความถูกต้อง ความ
ยุติธรรม มีจิตประชาธิปไตย มีสํานึกและ
ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และ
พลเมืองอาเซียน
มีความเชื่อมั่นในความเท่าเทียมเป็น
ธรรมทางสังคม มีจิตอาสา มีความ
กล้าหาญทางจริยธรรม เป็นพลเมืองที่
กระตือรือร้นในการร่วมสร้าง
สังคมไทยและโลกที่ยั่งยืน มีความ
ซื่อสัตย์ในการทําเพื่อส่วนรวม
ค่านิยมร่วม:ความเพียรอันบริสุทธิ์ ความพอเพียง วิถีประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค
คุณธรรม:ลักษณะนิสัยที่ดี และคุณธรรมพื้นฐานที่เป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความขยัน ความซื่อสัตย์
ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
หมายเหตุ:หน่วยงานต้นสังกัดแต่ละแห่งอาจมีปรับเปลี่ยนผลลัพธ์ของการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาให้
เหมาะสมตามช่วงวัยและระดับการศึกษาของผู้เรียน แต่ต้องต่อเนื่องเชื่อมโยมกันและในทางปฏิบัติ หน่วยงานควรจัดทําตัว
บ่งชี้ที่แสดงถึงปัจจัยป้อน กระบวนการ วิธีการ หรือมาตรการที่เป็นรูปธรรมตามบริบทของระดับชั้น สถานศึกษา หรือ
ข้อมูลสารสนเทศอื่นที่แสดงถึงผลสําเร็จของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
26
นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
1.บทนํา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ มาตรา 54บัญญัติว่า “รัฐต้อง
ดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมี
คุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 28/2559 เรื่อง ให้จัดการศึกษาขั้น
พื้นฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตามนัยข้อ 3 กําหนดว่า “ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้น
พื้นฐานดําเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปีให้มีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และตามหมวด
6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 65บัญญัติว่า “ให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศ
อย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทําแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้
เกิดการผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว” อนึ่ง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2580) ประกาศ ณ วันที่ 8
ตุลาคม พ.ศ. 2561ได้กําหนดวิสัยทัศน์ ในการพัฒนาประเทศ ดังนี้ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น
ประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และได้กําหนดยุทธศาสตร์ในการ
พัฒนาประเทศตามวิสัยทัศน์ไว้ 6 ยุทธศาสตร์ คือ1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการ
สร้างความสามารถในการแข่งขัน3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์4.
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบน
คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ตระหนักถึงความสําคัญของยุทธศาสตร์ชาติเป็นอย่างยิ่ง
เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่าง
เป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี เก่ง และมี
คุณภาพพร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่ง “คนไทยในอนาคต จะต้องมีความ
พร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ
สังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง
มีทักษะที่จําเป็นในศตวรรษที่ 21มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและ ภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรัก
การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทย ที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด
ผู้ประกอบการเกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมี สัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง” ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนา
ประเทศไปสู่เป้าหมาย “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุขเศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม
ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กําหนดนโยบายสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณพ.ศ. 2563 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 –
2580) แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาลที่ได้แถลงนโยบายต่อ
รัฐสภา เมื่อวันที่ 25 - 26กรกฎาคม 2562 และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.
2563 โดยได้กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และมาตรการและแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้
27
2.วิสัยทัศน์
“สร้างคุณภาพทุนมนุษย์สู่สังคมอนาคตที่ยั่งยืน”
3.พันธกิจ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน3.
พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 214. สร้าง
โอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ํา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง
ทั่วถึงและเท่าเทียม
5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0
4. เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของชาติ มี
คุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์สุจริต มัธยัสถ์ อด
ออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม
2. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและอื่น ๆ ได้รับ
การพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ
3. ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะมีสมรรถนะตาม
หลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัยมีความสามารถในการพึ่งพา
ตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมืองพลโลกที่ดี (Global Citizen) พร้อมก้าวสู่
สากล นําไปสู่การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
4. ผู้เรียนที่มีความต้องการจําเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่
ห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ
5. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณ ตาม
มาตรฐานวิชาชีพ
6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development
Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา

More Related Content

What's hot

แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ  แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ Watcharasak Chantong
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนาLaila Sama-ae
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557somdetpittayakom school
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาPinmanas Kotcha
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63Watcharasak Chantong
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57somdetpittayakom school
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินสมนึก สุดหล่อ
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่Watcharasak Chantong
 
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกsomdetpittayakom school
 
ถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดีถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดีPinmanas Kotcha
 

What's hot (20)

แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ  แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนา
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณา
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
 
ถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดีถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดี
 

Similar to แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา

วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60คมสัน คงเอี่ยม
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55dockrupornpana55
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาAssaneeongsara
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 

Similar to แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา (20)

วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 09/60
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
 
วารสาร
วารสารวารสาร
วารสาร
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
people
peoplepeople
people
 
หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 

More from Thawatchai Rustanawan

โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมโครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมThawatchai Rustanawan
 
แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563
แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563
แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563Thawatchai Rustanawan
 
E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1
E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1
E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1Thawatchai Rustanawan
 
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลThawatchai Rustanawan
 
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลThawatchai Rustanawan
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Thawatchai Rustanawan
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้Thawatchai Rustanawan
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้Thawatchai Rustanawan
 

More from Thawatchai Rustanawan (15)

Information kc schoolkc
Information kc schoolkcInformation kc schoolkc
Information kc schoolkc
 
Study kc online
Study kc onlineStudy kc online
Study kc online
 
Information kc school
Information kc schoolInformation kc school
Information kc school
 
โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมโครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
 
แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563
แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563
แผนงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม/งาน ประจำปีการศึกษา 2563
 
Kutchum
KutchumKutchum
Kutchum
 
Bgg
BggBgg
Bgg
 
ลูกเสือ
ลูกเสือลูกเสือ
ลูกเสือ
 
E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1
E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1
E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1
 
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
Desk top author-manual
Desk top author-manualDesk top author-manual
Desk top author-manual
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้
 

แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา

  • 1. แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2563 – 2566) โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คํานํา การพัฒนาคุณภาพของการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระยะที่มีสภาวการณ์ของการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้บริหาร สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาจึงต้องร่วมมือกันกําหนดแนวทาง กระบวนการ และเครื่องมือ ในการบริหารจัดการศึกษาให้มีความหลากหลาย การขับเคลื่อนการพัฒนาโดยยุทธศาสตร์จก่อให้เกิด คุณค่าตามเป้าประสงค์ที่กําหนดไว้ แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2563-2566) ของโรงเรียนกุดชุม วิทยาคม ฉบับนี้ เป็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้บังเกิดผล โดยใช้กลยุทธ์การบริหาร แบบใช้โรงเรียนเป็นฐานและการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม จัดทําเป็นแผนพัฒนาคุณภาพระยะ ยาว ที่สามารถนําไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 บริบทของโรงเรียน ส่วนที่ 2 วิเคราะห์บริบทของโรงเรียน (SWOT) ส่วนที่ 3 การกําหนดแผนยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 4 แผนพัฒนาคุณภาพ โครงการ/กิจกรรม ส่วนที่ 5 แผนการควบคุมและกํากับติดตาม คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2563-2566) ฉบับนี้จะเป็นแบบอย่างและแนวทางการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม ให้ประสบผลสําเร็จตามเป้าหมายที่ โรงเรียนกําหนดไว้ คณะผู้จัดทํา
  • 3. 3 สารบัญ หน้า คํานํา ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา 4 - ประวัติโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 5 - เกียรติประวัติของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 9 - จํานวนข้าราชการครูและบุคลากร 11 - ผลประเมินภายนอกรอบสาม 12 - บทสรุปสําหรับผู้บริหาร 13 ส่วนที่ 2 วิเคราะห์องค์กร 15 - วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 16 - วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม (SWOT) สภาพภายนอก 16 - วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม (SWOT) สภาพภายใน 18 - ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 19 - แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 20 บนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT ส่วนที่ 3 สาระสําคัญของแผนกลยุทธ์ 21 - อุดมการณ์ หลักการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 22 - มาตรฐานการศึกษาของชาติ 23 - นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 26 - ทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษาของ สพม.28 28 - ทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 29 - KUTCHUM MODEL 31 ส่วนที่ 4 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี 32 - กรอบการดําเนินงาน กลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ระดับแผนงาน 35 - โครงการและเป้าหมายความสําเร็จจําแนกตามกลยุทธ์ 42 ส่วนที่ 5 แผนการควบคุม กํากับติดตาม 52 - แนวทางการบริหารแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ 53 - ปฏิทินการกํากับติดตาม 54 ภาคผนวก คณะกรรมการจัดทําแผนกลยุทธ์ 55
  • 5. ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม ประวัติโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม สถาปนาโรงเรียน และให้เปิดทําการเรียนการสอน ในปีการศึกษา โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา (ศรีวิสารรังสรรค์ ราชพัสดุ และที่ดินบริจาคของวัดวินิจธรรมารามบางส่วน มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น ถนนวารีราชเดช หมู่ 8 ตําบล กุดชุม อําเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร กิโลเมตร โดยมี นางสาวเจริญ กาลวัน นายกุศล แสงพันธุ์ ดํารงตําแหน่งครูใหญ่คนแรก และกรมสามัญศึกษาได้อนุมัติงบประมาณ ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ 216 ก. จํานวน 1 หลัง อาคารชั่วคราว จํานวน จํานวน 1 หลัง โรงเรียนได้รับการพัฒนาขึ้นในทุกด้าน และครูเพิ่มมากขึ้นทุกปีเป็นลําดับ พร้อมนี้ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียน ตามสัดส่วนของจํานวนนักเรียนที่เพิ่มขั้น ในปีการศึกษา 2525 ความไว้วางใจให้เข้าร่วมโครงการสําคัญ ๆ ของกรมสามัญศึกษาหลายโครงการ เช่น ขยายโอกาสทางการศึกษา โครงการปฏิรูปการศึกษา เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2540-2541 ในปี พ.ศ. 2542 โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ ในปี พ.ศ. 2545 โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเ ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างหอประชุม แบบ ในปี พ.ศ. 2548 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนในฝัน” ซึ่งเป็นที่ภาคภูมิใจอย่างยิ่ง ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน กุดชุมวิทยาคม กุดชุมวิทยาคม โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม ได้รับอนุมัติจากกรมสามัญศึกษา เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ให้เปิดทําการเรียนการสอน ในปีการศึกษา 2515 โดยในครึ่งปีแรกได้อาศัยอาคารเรียนของ ศรีวิสารรังสรรค์) ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ ณ ที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่ดินของ และที่ดินบริจาคของวัดวินิจธรรมารามบางส่วน มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 102 ไร่ ตําบล กุดชุม อําเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร ห่างจากที่ตั้งที่ว่าการอําเภอกุดชุม ประม นางสาวเจริญ กาลวัน รักษาการในตําแหน่งครูใหญ่ พ.ศ. 2516 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้ ดํารงตําแหน่งครูใหญ่คนแรก และกรมสามัญศึกษาได้อนุมัติงบประมาณ ก่อสร้างอาคารเรียน หลัง อาคารชั่วคราว จํานวน 1 หลัง บ้านพักครู จํานวน 2 หลัง โรงเรียนได้รับการพัฒนาขึ้นในทุกด้าน โดยได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากชุมชน มีจํานวนนักเรียน และครูเพิ่มมากขึ้นทุกปีเป็นลําดับ พร้อมนี้ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียน ตามสัดส่วนของจํานวนนักเรียนที่เพิ่มขั้น 2525 โรงเรียนได้เปิดการเรียนการสอนจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ความไว้วางใจให้เข้าร่วมโครงการสําคัญ ๆ ของกรมสามัญศึกษาหลายโครงการ เช่น ครงการปฏิรูปการศึกษา เป็นต้น 2541 ได้รับงบประมาณ ให้ก่อสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น แบบ โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ Resource Center โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนต้นแบบ " หนึ่งอําเภอหนึ่งโรงเรียน ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างหอประชุม แบบ 100/27 จํานวน โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบ ภูมิใจอย่างยิ่ง ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน 5 ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไป พฤษภาคม 2515 และถือเป็นวัน โดยในครึ่งปีแรกได้อาศัยอาคารเรียนของ ยู่ ณ ที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่ดินของ ไร่ 3 งาน 36 ตารางวา ตั้งอยู่ ห่างจากที่ตั้งที่ว่าการอําเภอกุดชุม ประมาณ 1.5 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้ ดํารงตําแหน่งครูใหญ่คนแรก และกรมสามัญศึกษาได้อนุมัติงบประมาณ ก่อสร้างอาคารเรียน หลัง บ้านพักนักการภารโรง โดยได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากชุมชน มีจํานวนนักเรียน และครูเพิ่มมากขึ้นทุกปีเป็นลําดับ พร้อมนี้ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบเพิ่มมาขึ้น โรงเรียนได้เปิดการเรียนการสอนจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และได้รับ ความไว้วางใจให้เข้าร่วมโครงการสําคัญ ๆ ของกรมสามัญศึกษาหลายโครงการ เช่น โครงการ รพชส. โครงการ แบบ 424 ล./(พิเศษ) หนึ่งอําเภอหนึ่งโรงเรียน ในฝัน " จํานวน 1 หลัง โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบ “หนึ่งอําเภอหนึ่ง
  • 6. 6 ในปี พ.ศ.2554 ได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชรและโรงเรียนดีเด่นด้าน คุณธรรมและจริยธรรม ในปี พ.ศ.2556 เปิดหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 ในปี พ.ศ.2558 ได้รับการประเมินเป็นสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ระดับดีเด่น ในปี พ.ศ. 2561 – 62 ได้รับงบประมาณ ให้ก่อสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น แบบ 324 ล/55 นอกเขต แผ่นดินไหว ในปัจจุบัน นายบุญมี พุ่มจันทร์ เป็นผู้อํานวยการโรงเรียน 1.2 ข้อมูลผู้บริหาร ๑. นายกุศล แสงพันธุ์ ตําแหน่งอาจารย์ใหญ่ พ.ศ.2516 – 2522 ๒. นายบุญทัน ศรีใสคํา ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2522 – 2529 ๓. นายไวยวุฒิ มนต์ขลัง ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2529 – 2531 ๔. นายประสิทธิ์ รัตนวงศ์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2531 – 2533 ๕. นายเพชร แก้วใส ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2533 – 2541 ๖. นายสําเร็จ โพธิวรรณา ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2541 – 2542 ๗. นายสรรเพชญ อาจวิชัย ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2542 – 2548 ๘. นายวิศิษฐ์ ขุณิกากรณ์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2548 – 2553 ๙. นายไพฑูรย์ แสงพันธุ์ รองผู้อํานวยการรักษาราชการแทน พ.ศ.2553 – 2554 10. นายเสนอเกียรติ พราวศรี ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2554 – 2555 11. นายไตรสรณ์ สุวพงษ์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2555 – 2558 12. นายวิวัฒนา ไชยา ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2558 – 2560 13. นายศักดิ์ชัย ครู่แก้ว รองผู้อํานวยการรักษาราชการแทน พ.ศ.2560 – 2561 14. นายบุญมี พุ่มจันทร์ ตําแหน่งผู้อํานวยการ พ.ศ.2561 – ปัจจุบัน
  • 7. 7 . สัญลักษณ์ คติพจน์ “สุวิชาโน ภวํ โหติ” (ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ) ปรัชญาโรงเรียน “ตั้งใจอบรมสั่งสอนนักเรียนให้มีความรู้ คู่ระเบียบวินัย มีคุณธรรม มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์” ชื่อย่อโรงเรียน สีประจําโรงเรียน ก.ช. เขียว – ขาว รูปจําลองศาลเจ้าพ่อหลักเมืองกุดชุม ภายใต้รัศมี 9 แฉก ตั้งอยู่บนฐาน บัวหงาย มีอักษรย่อ ก.ช. กํากับ มีชื่อกุดชุมวิทยาคม สัญลักษณ์ประจําโรงเรียน เอกลักษณ์ ภูมิทัศน์สวยงาม ค่านิยมของโรงเรียน ความสะอาด ยิ้มง่าย จิตอาสา มีความมุ่งมั่น วัฒนธรรมของโรงเรียน รู้รักสามัคคี มีจิตอาสา ผูกพันร่วมกันทํางานอย่างมีความสุข อัตลักษณ์ของโรงเรียน จิตอาสา จรรยางาม สมรรถนะหลักของโรงเรียน 1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี 3. การพัฒนาตนเอง 4. การทํางานเป็นทีม ต้นไม้ประจําโรงเรียน ต้นราชพฤกษ์
  • 9. 9 1. ผลงานนักเรียนดีเด่นของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม พ.ศ. 2562 “ได้รับรางวัล 18 เหรียญทอง 8 เหรียญเงิน 3 เหรียญทองแดง 2 เข้าร่วมของการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69 ประจําปีการศึกษา 2562 ระดับชาติ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ณ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ 12-14 เดือนกันยายน 2562 ได้แก่ 1. ภาษาไทย 1.1 เด็กหญิงอัจฉรา จันทมาศ เข้าร่วม การแข่งขันวรรณกรรมพิจารณ์ ม.1-ม.3 1.2 เด็กหญิงสุริยะประภา ชูรัตน์ เข้าร่วม การแข่งขันพินิจวรรณคดี ม.1-ม.3 1.3 นางสาววิภาพร เวฬุวนาธร เหรียญทองแดง การแข่งขันการท่องอาขยานทํานองเสนาะ ม.4-ม.6 2. คณิตศาสตร์ 2.1 นางสาวกัลยา สีโย เหรียญเงิน การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ม.4-ม.6 2.2 นางสาวมลฤดี แสวงผลและนางสาวลินรตา ไชยศรี เหรียญเงิน การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงาน คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ม.4-ม.6 2.3 เด็กหญิงสุรีรัตน์ โคตรพัฒน์ เหรียญทองแดง การแข่งขันซูโดกุ ม.1-ม.3 3. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3.1 เด็กหญิงจิราพร ไชยสัจ, เด็กหญิงสุภิตรา สารารัตน์, เด็กหญิงสุรภา บุญจันทร์สุนีย์, เด็กหญิงธนัช พร กาลจักร์และเด็กหญิงสิริญาดา ข่าสะโปน เหรียญทอง การประกวดโครงงานคุณธรรม ม.1-ม.3 3.2 นางสาวจณิตา จันลาชัย, นายณัฐพล คําใบ, นายภูวฤทธิ์ บุญบรรลุ, นางสาวสุพรรณิการ์ นวพัฒน์ ธานีและนางสาวอรหทัย จันดี เหรียญทอง การประกวดภาพยนตร์สั้น ม.4-ม.6 4. สุขศึกษา และพลศึกษา นางสาวจินต์จุฑา สิงคิบุตรและนางสาวศศิฃา จันชุม เหรียญทองแดง การแข่งขันตอบปัญหา สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4-ม.6 5. ศิลปะ 5.1 นายอรรถพันธ์ อ่างแก้ว เหรียญทอง การแข่งขัน "ศิลป์สร้างสรรค์" ม.4-ม.6 5.2 เด็กชายณัฐพงศ์ ศรีวะสุทธิ์ เหรียญเงิน การแข่งขันเขียนภาพไทยประเพณี ม.1-ม.3 5.3 นายพีรวัส คงบุญวาส เหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทชาย ม.4-ม.6 5.4 นางสาววิภาพร เวฬุวนาธร เหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทหญิง ม.4-ม.6 5.5 นางสาววิภาพร เวฬุวนาธร เหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกกรุง ประเภทหญิง ม.4-ม.6 5.6 นายธนากร มลิวัน เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวซอด้วง ม.4-ม.6 5.7 นายธนากร มลิวัน เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวซออู้ ม.4-ม.6 5.8 นายธนากร มลิวัน เหรียญทอง การแข่งขันการขับร้องเพลงไทย ม.4-ม.6 เกียรติประวัติของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
  • 10. 10 5.9 นางสาวคริสมาสต์ มูลสาร,นางสาวจุฑาทิพย์ โสมาบุตร,นางสาวนภัสสร มุละสิวะ,นางสาวนันพัฒน์ คําประวัติ,นายรัชชานนท์ วงษ์ศรีแก้ว,นายวศิน ไชยมี,นายวิศิษฐ์ มูละสิวะ,นายศุภชัย น้ําใจดี, นายสิทธิพงษ์ ชิณสิทธิ์และนางสาวสุรีพร สว่างวงษ์ เหรียญเงิน การแข่งขันรําวงมาตรฐาน ม.4-ม.6 5.10 นางสาวกาญจนา ไตรยสุทธิ์, นางสาวนาตาลี บุญยอ, นางสาวปิยดา อินทนาม, นางสาวพร พิมล สุวรรณเพชร, นางสาวศิริรัตน์ หงษ์คํา, นางสาวสุชาวดี มาตขาวและนางสาวอาทิญา ตาสว่าง เหรียญทอง การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ ม.4-ม.6 6. ภาษาต่างประเทศ - นางสาวกุลวดี มีคุณ เหรียญเงิน การแข่งขันต่อศัพท์ภาษาอังกฤษ (ครอสเวิร์ด) ม.4-ม.6 7. วิทยาศาสตร์และคอมพิวเตอร์ 7.1 เด็กหญิงพีรชญา ช่างไชยและเด็กหญิงอัจฉริยา แว่นรัมย์ ชนะเลิศเหรียญทอง การแข่งขันการสร้าง เกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ม.1-ม.3 7.2 นางสาวพรพิมล แสงศรีและนางสาวสุดารัตน์ ขุนนรา เหรียญทอง การแข่งขันการสร้างเกม สร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ม.4-ม.6 7.3 เด็กชายคณิต บุญบรรลุ, เด็กชายพีรยุทธ บุญทวี และเด็กชายสุชาติ มูลสาร เหรียญทอง การ แข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ม.1-ม.3 7.4 นายนพรัตน์ บุญทวี, นายพีรณัฐ สุนทราและนายสุธิพล คําโตนด เหรียญทอง การแข่งขันหุ่นยนต์ ระดับพื้นฐาน ม.4-ม.6 8. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นางสาวพรไพลิน ทองเพิ่ม, นางสาวสิราวรรณ ศรีธรรมมา และนายอานนท์ บุญศรี เหรียญเงิน การ ประกวดหนังสือเล่มเล็ก ม.4-ม.6 9. การงานอาชีพ 9.1 เด็กหญิงจิรัชยา พรมลิ, เด็กหญิงดวงจันทร์ จันทร์น้อย และเด็กหญิงอุทุมพร สารศรี เหรียญทอง การแข่งขันทําอาหาร น้ําพริก ผักสด เครื่องเคียง ม.1-ม.3 9.2 นางสาวกุลจิรา คําศรี, นางสาวจุฑาทิพย์ วงษ์ศรีแก้วและนางสาวพัชรินทร์ นาถาบํารุง เหรียญทอง การแข่งขันทําอาหาร น้ําพริก ผักสด เครื่องเคียง ม.4-ม.6 9.3 เด็กหญิงนิปุณรัตน์ บุญอินทร์, เด็กหญิงประภาสิริ ทองน้อยและเด็กหญิงศรัณย์พร สมหวัง เหรียญทอง การแข่งขันทําอาหารคาวหวานเพื่อสุขภาพ ม.1-ม.3 10. ศิลปวัฒนธรรมอีสาน 10.1 เด็กชายชนิทร โสมาบุตร เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวโหวด ม.1-ม.3 10.2 เด็กชายสุรพร ปากหวาน เหรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวพิณ ม.1-ม.3 10.2 เด็กชายปารเมศ สมบัติหล้า เ หรียญทอง การแข่งขันเดี่ยวดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวแคน ม.1-ม.3 11. 2. ได้รับรางวัลชนะเลิศฟุตบอลรุ่นอายุ 18 ปี กีฬาธนาคารโรงเรียนธนาคารออมสิน ประจําปี 2562
  • 11. 11 โดย นายณัฐวุฒิ แก้วกัญญา ได้รับรางวัลนักเตะทรงคุณค่า MVP ได้รับคัดเลือกเข้ารับการฝึกอบรมโครงการ "GSB Football Clinic 2019"จากนักเรียนโครงการ "ช้างชมพู" ทั่วประเทศ ที่ผ่านการคัดเลือกทั้ง 35 คน 2. ผลงานนักเรียนดีเด่นของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 1. โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) ระดับ SCQA ปี2561 2. นายบุญมี พุ่มจันทร์ ผู้อํานวยการโรงเรียน ได้รับรางวัลผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาที่มี ผลงานดีเด่น ประจําปี 2562 ของสมาคมผู้บริหารโรงเรียนมัธยศึกษาแห่งประเทศไทย(ส.บ.ม.ท.) ตําแหน่ง อันดับ จํานวน (คน) ร้อยละ ชาย หญิง รวม ผู้อํานวยการ คศ.3 1 - 1 1.08 รองผู้อํานวยการ คศ.3 2 - 2 2.15 ครู คศ.4 - - - ครู คศ.3 16 25 41 44.09 ครู คศ.2 3 2 5 5.38 ครู คศ.1 15 20 35 37.63 ครูผู้ช่วย 3 6 9 9.68 รวม 40 53 93 100 ครูธุรการ(คืนครู) - 1 1 4.35 ครูพิเศษ 4 1 5 21.74 ครูชาวต่างชาติ 2 - 2 8.70 ลูกจ้างประจํา - - - - ลูกจ้างชั่วคราว 6 7 13 56.52 เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 2 - 2 8.70 รวม 14 9 23 100 รวมทั้งหมด 54 62 116 - จํานวนข้าราชการครูและบุคลากร ปีการศึกษา 2562
  • 12. 12 ข้อมูลแสดงจํานวนนักเรียนโรงเรียนกุดชุมวิทยาคมปีการศึกษา 2560 – 2566 ที่ ปีการศึกษา จํานวนนักเรียน ชาย หญิง รวม 1 2560 751 963 1714 2 2561 753 999 1752 3 2562 778 944 1722 4 2563 819 941 1760 5 2564 821 932 1753 6 2565 842 920 1762 7 2566 843 908 1750 ในวันที่ 23-25 กรกฎาคม 2555 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาจากการประเมิน รอบสาม ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จําแนกตามกลุ่มตัวบ่งชี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) น้ําหนัก (คะแนน) คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณภาพ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10.00 9.62 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10.00 9.37 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10.00 9.15 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทําเป็น 10.00 9.27 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20.00 6.56 ต้องปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 10.00 9.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น สังกัด 5.00 4.69 ดีมาก ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
  • 13. 13 การศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) น้ําหนัก (คะแนน) คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณภาพ กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น เอกลักษณ์ของ สถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานรักษา มาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป การศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก คะแนนรวม 100.00 82.66 ดี การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา  ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป  ใช่  ไม่ใช่  มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไปอย่างน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตัวบ่งชี้  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่ สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม ตั้งอยู่เลขที่ 265 หมู่ที่ 8 ตําบลกุดชุม อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สํานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิด สอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีบุคลากรสายบริหาร 4 คน ได้รับการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสาม เมื่อวันที่ 23 ถึง 25 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 มีการจัดการศึกษา 1 ระดับ คือ 1. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : มัธยมศึกษา มีบุคลากรครูจํานวน 63 คน ผู้เรียนจํานวน 1,731 คน ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา แสดงในตารางสรุปผลได้ ดังนี้ บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
  • 14. 14 ลําดับที่ ตัวบ่งชี้ ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับ คุณภาพ 1 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ดีมาก 2 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ดีมาก 3 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ดีมาก 4 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทําเป็น ดีมาก 5 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสําคัญ ดีมาก 6 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา ดีมาก 7 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย สถานศึกษา และต้นสังกัด ดีมาก 8 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของ การจัดตั้งสถานศึกษา ดีมาก 9 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ดีมาก 10 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศึกษา ดีมาก 11 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ดีมาก
  • 15. 15 ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพต่ํากว่าระดับดี ได้แก่ ลําดับที่ ตัวบ่งชี้ ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับ คุณภาพ 1 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ต้องปรับปรุง จุดเด่น 1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีความใฝ่รู้และ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คิดเป็นทําเป็น ผลการพัฒนาบรรลุตามปรัชญาปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา มีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษามี ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา 2. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา และสถานศึกษามีผลการส่งเสริม พัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐานที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา 3. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 4. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและต้นสังกัด จุดที่ควรพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฏกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 ด้านผลการจัดการศึกษา 1. ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยครูร่วมกันพัฒนา ศึกษาปัญหาเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้และเป็นรายบุคคล วางแผนจัดกิจกรรมพัฒนาเป็นรายบุคคลหรือเป็น กลุ่มย่อยดําเนินการอย่างเป็นระบบ ครบวงจร PDCA อย่างต่อเนื่องและผู้เรียนควรมีความกระในการพัฒนาตนเอง ติดตาม ประเมินผล และพัฒนาตนเองและครูควรใช้การวิจัยในชั้นเรียนพัฒนาผู้เรียน 2. สถานศึกษาควรมีการสอนซ่อมเสริมอย่างเป็นระบบครบวงจร PDCA และการติวข้อสอบในแนวข้อสอบ O-NET อย่างเป็นระบบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเคยชินและเรียนรู้ข้อสอบในแบบของ สทศ. และ กระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิดรวมทั้งการจัดระบบการวัดผลประเมินผลข้อทดสอบในการสอบ ประจําภาคเรียนควรปรับปรุงข้อสอบในแนวทางการสอบความรู้ความคิดมากกว่าการจํา ที่มา : ผลการประเมินภายนอกรอบสาม ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
  • 17. 17 วิเคราะห์สภาพแวดล้อม โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม (SWOT Analysis) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อให้ผู้บริหารรู้ จุดแข็ง จุดอ่อน สภาพภายในของโรงเรียน โอกาส และอุปสรรค์ของสภาพภายนอก ซึ่งจะช่วยให้ทราบว่าองค์กรได้เดินทางมาถูก ทิศทางและไม่หลงทาง นอกจากนี้ยังบอกได้ว่าองค์กรมีแรงขับไปยังเป้าหมายได้ดีหรือไม่ มั่นใจได้อย่างไรว่าระบบ การทํางานในองค์กรยังมีประสิทธิพอยู่ มีจุดอ่อนที่จะต้องปรับปรุงอย่างไร ซึ่งการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม มีดังนี้ วิเคราะห์บริบทโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม SWOT สภาพภายนอก โอกาส (Opportunities) คุกคาม (Threats) S1 ชุมชน / ศิษย์เก่า มีส่วนร่วมในการสนับสนุน ทรัพยากรเพื่อการ จัดการศึกษา S2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุน งบประมาณในการ จัดการศึกษา S6 การนําวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาร่วม จัดการเรียนการสอน S7 ความร่วมมือของสถาบัน บ้าน วัด โรงเรียน ส่งเสริมสนับสนุนจัดการศึกษา T1 ชุมชนมีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตบริการ T4 การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานด้วยระบบ E- Office เป็นไปด้วยความรวดเร็ว T5 การติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กรโดยใช้ระบบ line สะดวกรวดเร็ว E2 ประชาชน-ชุมชน น้อมนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ E3 สามารถหารายได้จากอาชีพในท้องถิ่น E5 รัฐสนับสนุนรายบุคคลในครอบครัวที่มีรายได้น้อย P1 มีการกระจายอํานาจการจัดการศึกษาสู่ สถานศึกษา P2 มีระเบียบ กฎหมายที่ส่งเสริมองค์คณะบุคคลเข้า มามีส่วนร่วม P4 มีกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมความรู้ทักษะชีวิต ร่วมกันจากองค์กรในท้องถิ่น S3 ผู้ปกครองบางส่วนขาดความเอาใจใส่ ดูแลพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน S4 การ หย่าร้าง เสียชีวิต หรือไปประกอบอาชีพต่าง ท้องถิ่นของบิดา - มารดา S5 นักเรียนเลียนแบบพฤติกรรมค่านิยมและความเชื่อที่ผิด ด้านประเพณีวัฒนธรรม S8 ผู้ปกครองบางส่วน ไม่ให้ความสําคัญต่อการจัด การศึกษาภาคบังคับ S9 ชุมชนไม่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหานักเรียนหลบเรียน S10 ชุมชนไม่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหานักเรียนหลบเรียน T2 บุคลากรในชุมชนที่มีความรู้และทักษะทางเทคโนโลยีมี จํานวนจํากัด T3 ชุมชนมีเครื่องมือ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการ จัดการศึกษาของโรงเรียน T6 มีร้านเกมในชุมชน ทําให้นักเรียนหลบเรียน E1 ความยากจนและขาดแคลนของผู้ปกครองนักเรียน E4 ราคาพืชผลทางเศรษฐกิจ ส่งผลต่อรายได้ของ ผู้ปกครอง P3 ระเบียบกฎหมายของ เทศบาลไม่เอื้อต่อการสนับสนุน งบประมาณ P5 การนํากฏหมายปราบปรามยาเสพติดมาบังคับใช้ไม่ จริงจังต่อเนื่อง
  • 18. 18 SWOT สภาพภายใน จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) S11 โครงสร้างการบริหารจัดการของโรงเรียนมีความชัดเจนและ สอดคล้องกับหลักการกระจายอํานาจการบริหารและการจัด การศึกษา S12 นโยบายและกลยุทธ์ของโรงเรียน มีความชัดเจน สามารถ ปฎิบัติได้ S13 มีคําสั่ง การปฏิบัติงานพิเศษ งานการสอนชัดเจน S21 นักเรียนได้รับรางวัลจากการประกวด แข่งขันทักษะทาง วิชาการระดับภาคฯ/สพม. S25 การให้บริการด้านอาคารสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ แก่ชุมชน S26 การให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนแก่ชุมชน หลากหลายรูปแบบ M12 ครูและบุคลากรทางการศึกษาสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ร้อยละ 100 M13 ครูสอนตรงวิชาเอกและความถนัด M14 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการพัฒนาตนเองสู่ ความก้าวหน้าทางวิชาการ. M17 ครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านการอบรมคุณธรรม จริยธรรมทุกคน M21 การจัดซื้อ จัดจ้าง ถูกต้องตามระเบียบ M23 การใช้จ่ายงบประมาณตรงตามโครงการในแผนปฏิบัติการ M24 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ได้รับการสนับสนุนจาก ชุมชนเป็นอย่างดี M32 .การจัดหาวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ได้รับการสนับสนุนจาก ชุมชน M33 โรงเรียน ใช้วัสดุอุปกรณ์ครุภัณฑ์อาคารสถานที่อย่างคุ้มค่า M41 การจัดทําแผนกลยุทธ์และแผนประจําปีเกิดจากการมีส่วน ร่วมของทุกฝ่าย M43 มีการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี M44 โรงเรียนมีดําเนินการบริหารแบบมีส่วนร่วม M45 การนิเทศ กํากับติดตามประเมินผลเป็นระบบและต่อเนื่อง M46 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดําเนินงาน S14 ครูมีภาระงานพิเศษหลายงาน S22 ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยการประเมินระดับชาติ (O-NET) อยู่ในระดับต่ํากว่าร้อยละ 50 S23 การให้บริการด้านวิชาการแก่นักเรียน ชุมชน ไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน S24 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนยังไม่ เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญและหลากหลาย S27 นักเรียนขาดความรับผิดชอบ ขาด วินัย และจิตสาธารณะน้อย M11 ครูมีภาระงาน อื่นมาก M15 ครูบางส่วนยังไม่ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการสอนและการปฏิบัติงาน. M16 ครูและบุคลากรทางการศึกษาขาด ทักษะการทําวิจัยเพื่อพัฒนา M18 ครูย้ายโรงเรียนบ่อย M19 ครูมีอายุราชการน้อย M110 ครูขาดความเอาใจใส่ในภาระงาน อย่างจริงจัง M111 ครูขาดขวัญกําลังใจ M22 การส่งหลักฐานเบิกจ่ายเงินล่าช้า M25 งบประมาณไม่เพียงพอ M31 .วัสดุ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ไม่ เพียงพอ M34 การดูแลวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ M42 การดําเนินงานบางโครงการ ไม่ทัน ตามปีงบประมาณ M47 การรายงานผลตามโครงการล่าช้า
  • 19. 19 ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม 1. สรุปผลการวิเคราะห์สสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP) รายการปัจจัย สภาพแวดล้อมภายนอก น้ําหนัก คะแนนเฉลี่ย น้ําหนักคะแนนเฉลี่ย สรุปผลการ วิเคราะห์โอกาส คุกคาม โอกาส คุกคาม 1. ด้านสังคม-วัฒนธรรม (Social = S) 35 4.36 3.89 1.53 1.36 0.17 2. ด้านเทคโนโลยี (Technology = T ) 25 4.11 3.66 1.03 0.91 0.11 3. ด้านเศรษฐกิจ ( Economic = E ) 20 4.03 3.90 0.81 0.78 0.03 4. ด้านการเมืองและ กฎหมาย (Politic = P) 20 4.16 4.18 0.83 0.84 0.00 รวม 100 4.19 3.89 0.30 2. สรุปผลการวิเคราะห์สสภาพแวดล้อมภายใน (2S 4M) รายการปัจจัยสภาพแวดล้อม ภาย.o น้ําหนัก คะแนนเฉลี่ย น้ําหนักคะแนนเฉลี่ย สรุปผลการ วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง จุดอ่อน 1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure =S1 ) 10 4.04 3.64 0.40 0.36 0.04 2. ด้านผลผลิตและการบริการ (Service and Products = S2 ) 25 3.88 3.94 0.97 0.98 -0.01 3. ด้านบุคลากร (Man = M1) 20 4.11 4.08 0.82 0.82 0.01 4. ด้านประสิทธิทางการเงิน (Money = M2) 14 3.93 3.75 0.55 0.53 0.03 5. ด้านวัสดุ และอุปกรณ์ (Materials = M3 ) 11 3.69 3.75 0.41 0.41 -0.01 6. ด้านการบริหารจัดการ ( Mannagement = M4 ) 20 4.16 3.92 0.83 0.78 0.05 รวม 100 3.98 3.89 0.10
  • 20. 20 แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม บนแกนความสัมพันธ์ของ SWOT ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียน จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของ โรงเรียนกุดชุมวิทยาคมดังกล่าวข้างต้น สามารถประเมินสถานภาพของโรงเรยีนได้อยู่ในลักษณะ “เอื้อและแข็ง” (STAR) กล่าวคือ โรงเรียนมีสมรรถนะภายในที่เข็มแข็งและสภาพแวดล้อมภายนอกที่เอื้อต่อการดําเนินกิจการ กลยุทธ์ที่ควรนํามาใช้คือขยายงานและสร้างความเจริญ โดยขยายภารกิจในการจัดการศึกษา และให้บริการ ทางการศึกษากับชุมชนหรือกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ตรงตามความรู้ ความสามารถของตนเอง และมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ําเสมอ ก่อให้เกิดการปฏิบัติหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพ การ บริหารการจัดการที่เป็นระบบชัดเจน และมีคุณภาพ ด้านผลผลิตและการให้บริการที่ดีมีชื่อเสียง เป็นจุดแข็งในการ พัฒนาภายใต้การส่งเสริม สนับสนุนจากปัจจัยภายนอก ซึ่งได้แก่ ปัจจัยด้านสังคม และวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี ด้านการเมืองและกฎหมาย ซึ่งมีระเบียบพระราชบัญญัติที่เอื้อต่อการดําเนินการ ดังนั้นโรงเรียนกุดชุวิทยาคม ได้กําหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลที่สูงขึ้นในปีการศึกษา 2563-2566 จึงเน้น “การสร้างความเจริญก้าวหน้า” ประกอบด้วย 1. พัฒนาโรงเรียนรับการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล 2. จัดการเรียนการสอนโดยเพิ่มห้องเรียนคุณภาพให้กับนักเรียนที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการคู่ขนาน ห้องเรียนปกติ 3. โครงการปรับปรุงสื่อด้านเทคโนโลยี เพื่อสร้างทักษะตามคุณลักษณะศตวรรตที่ 21 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีทักษะการใช้สื่อยุค 4.0 ประกอบการเรียนการสอน 5. โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจําตําบลสู่โรงเรียนคุณภาพระดับจังหวัดต่อไป
  • 22. 22 ส่วนที่ 3 สาระสําคัญของแผนกลยุทธ์ อุดมการณ์ หลักการในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน อุดมการณ์ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชนโดยรัฐต้องจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาเยาวชนไทยทุกคน ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะที่เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก เพื่อเป็นรากฐานที่พอเพียงสําหรับการ ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งเพื่อการพัฒนาหน้าที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิตส่วนตนและครอบครัว และ เพื่อสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งสําหรับการสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาประเทศที่ ยั่งยืนในอนาคต หลักการ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ ดังนี้ 1.หลักการพัฒนาผู้เรียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม เป็นผู้มีจริยธรรมในการดําเนินชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ใฝ่รู้มีทักษะในการแสวงหา ความรู้ที่พอเพียงต่อการพัฒนางานอาชีพและคุณภาพชีวิตส่วนตน สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลงได้อย่างเท่าทัน และชาญฉลาด และมีความเป็นประชาธิปไตย 2.หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นไทย ให้มีความรัก และภาคภูมิใจในท้องถิ่นและประเทศชาติ มีความรู้และทักษะพื้นฐานสําหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุ่งมั่น ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน มีลักษณะ นิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมไทย และสังคมโลก 3.หลักแห่งความเสมอภาค คนไทยทั่งปวงต้องมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษา พื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างเท่าถึงเท่าเทียม ควบคู่ไปกับความมีคุณภาพ โดยไม่แบ่งชนชั้นหรือความแตกต่าง ทางสังคมวัฒนธรรม 4.หลักการมีส่วนร่วม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการบริหารและการ จัดการศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างเอกลักษณ์ศักดิ์ศรี และตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นตามนัยของธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เกี่ยวกับ การกระจายอํานาจ 5.หลักแห่งความสอดคล้อง อุดมการณ์และมาตรฐานในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องสอดคล้องกับสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 นโยบายการศึกษาของรัฐบาลที่ แถลงต่อรัฐสภา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติและสัมพันธ์เชื่อมโยงกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา และ มาตรฐานการอุดมศึกษา
  • 23. 23 มาตรฐานการศึกษาของชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ หลักการ 1.ให้ความสําคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ทั้งผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ข้าราชการพลเรือน และผู้บริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทและเป็นการศึกษา ตลอดชีวิต 2.บูรณาการการทํางานร่วมกันระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การมหาชนในกํากับของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการให้มีความคล่องตัว รวมทั้งหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่ภูมิภาคให้สมารถ ปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพื่อดําเนินการปฏิรูการศึกษาร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ตามนโยบาย ประชารัฐ ระดับมัธยมศึกษา มุ่งต่อยอดระดับประถมศึกษา ด้วยจุดเน้น ดังนี้ 1.จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) และ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาที่สาม) 2.จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างทักษะพื้นฐานที่เชื่อมโยงสู่การสร้างอาชีพและการมีงานทํา เช่น ทักษะด้านกีฬาที่สามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬามืออาชีพ ทักษะภาษาเพื่อเป็นมัคคุเทศก์ วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขในสังคม พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ/ประเภทสู่สากล 2. เสริมสร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาของประชาชนอย่างทั่วถึง เท่าเทียม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 3. ผลิตและพัฒนากําลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ 4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
  • 24. 24 เป้าประสงค์ 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และการ พัฒนาประเทศในอนาคต 2. กําลังคนได้รับการผลิตและพัฒนา เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ 3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน 4. คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน มัธยมปลาย/อาชีวศึกษา ผู้เรียนรู้ (Leamer Person) เพื่อสร้างานและ คุณภาพชีวิตที่ดี ชี้นําการเรียนรู้ด้วยตนเองมีทักษะการเรียนรู้ มีความรอบรู้รู้ทันการ เปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาสุขภาวะคุณภาพชีวิตและอาชีพ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน สามารถแก้ปัญหาสื่อสารเชิงบวกทักษะข้ามวัฒนธรรมทักษะการสะท้อนคิด การวิพากษ์เพื่อสร้างนวัตกรรมและสามารถเป็นผู้ประกอบการได้ พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข เชื่อมั่นในความเท่าเทียมเป็นธรรม มีจิตอาสากล้าหาญทางจริธรรมและเป็น พลเมืองที่กระตือรือร้นร่วมสร้างสังคมที่ยั่งยืน ค่านิยมร่วม : ความเพียรอันบริสุทธิ์ ความพอเพียง วิธีประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค คุณธรรม:ลักษณะนิสัยและคุณธรรมพื้นฐานที่เป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความขยัน ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ฯลฯ
  • 25. 25 แผนภาพที่ 1ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (คุณลักษณะของคนไทย 4.0) ซึ่งมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันและ มีระดับความลึกต่างกันสําหรับแต่ละระดับการศึกษา ตารางที่ 1ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา ซึ่งมีการสะสมและต่อเนื่องเชื่อมโยงทุกระดับและประเภท การศึกษา คุณลักษณะ มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย/อาชีวศึกษา 1. ผู้เรียนรู้ รู้จักตนเองและผู้อื่น มีเป้าหมายและ ทักษะการเรียนรู้ บริหารจัดการตนเองเป็น ทักษะชีวิต มีความรู้ความรอบรู้และ สมรรถนะที่จําเป็นต่อการสร้างสุขภาวะ การศึกษาต่อหรือการทํางานที่เหมาะสม กับช่วงวัย สามารถชี้นําการเรียนรู้ด้วยตนเองมี ทักษะการเรียนรู้ รู้ทันการ เปลี่ยนแปลงปรับตัวในโลกยุคดิจิทัล ได้ มีทักษะชีวิตฟันฝ่าอุปสรรคได้ มี ความรู้ ความรอบรู้ด้านต่างๆ และ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ในการ พัฒนาสุขภาวการณ์ศึกษา/การ ทํางาน/อาชีพ เพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของตน 2. ผู้ร่วม สร้างสรรค์ นวัตกรรม มีทักษะการทํางานร่วมกัน ทักษะการ สื่อสาร มีความรอบรู้ทางข้อมูลสารสนเทศ และทางดิจิทัลเพื่อแก้ปัญหา มีการคิด อย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถนําความคิดสู่การสร้างผลงานใน ลักษณะต่างๆ สามารถแก้ปัญหา สื่อสารเชิงบวก ทักษะข้ามวัฒนธรรม ทักษะการ สะท้อน การวิพากษ์เพ่อสร้าง นวัตกรรม และสามารถเป็น ผู้ประกอบการได้ 3. พลเมืองที่ เข้มแข็ง ความเชื่อมั่นในความถูกต้อง ความ ยุติธรรม มีจิตประชาธิปไตย มีสํานึกและ ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และ พลเมืองอาเซียน มีความเชื่อมั่นในความเท่าเทียมเป็น ธรรมทางสังคม มีจิตอาสา มีความ กล้าหาญทางจริยธรรม เป็นพลเมืองที่ กระตือรือร้นในการร่วมสร้าง สังคมไทยและโลกที่ยั่งยืน มีความ ซื่อสัตย์ในการทําเพื่อส่วนรวม ค่านิยมร่วม:ความเพียรอันบริสุทธิ์ ความพอเพียง วิถีประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค คุณธรรม:ลักษณะนิสัยที่ดี และคุณธรรมพื้นฐานที่เป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความขยัน ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม หมายเหตุ:หน่วยงานต้นสังกัดแต่ละแห่งอาจมีปรับเปลี่ยนผลลัพธ์ของการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาให้ เหมาะสมตามช่วงวัยและระดับการศึกษาของผู้เรียน แต่ต้องต่อเนื่องเชื่อมโยมกันและในทางปฏิบัติ หน่วยงานควรจัดทําตัว บ่งชี้ที่แสดงถึงปัจจัยป้อน กระบวนการ วิธีการ หรือมาตรการที่เป็นรูปธรรมตามบริบทของระดับชั้น สถานศึกษา หรือ ข้อมูลสารสนเทศอื่นที่แสดงถึงผลสําเร็จของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
  • 26. 26 นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1.บทนํา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ มาตรา 54บัญญัติว่า “รัฐต้อง ดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมี คุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 28/2559 เรื่อง ให้จัดการศึกษาขั้น พื้นฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตามนัยข้อ 3 กําหนดว่า “ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานดําเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปีให้มีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และตามหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 65บัญญัติว่า “ให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทําแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้ เกิดการผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว” อนึ่ง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2580) ประกาศ ณ วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2561ได้กําหนดวิสัยทัศน์ ในการพัฒนาประเทศ ดังนี้ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และได้กําหนดยุทธศาสตร์ในการ พัฒนาประเทศตามวิสัยทัศน์ไว้ 6 ยุทธศาสตร์ คือ1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการ สร้างความสามารถในการแข่งขัน3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ตระหนักถึงความสําคัญของยุทธศาสตร์ชาติเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่าง เป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี เก่ง และมี คุณภาพพร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่ง “คนไทยในอนาคต จะต้องมีความ พร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ สังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จําเป็นในศตวรรษที่ 21มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและ ภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรัก การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทย ที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการเกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมี สัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง” ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนา ประเทศไปสู่เป้าหมาย “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุขเศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กําหนดนโยบายสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณพ.ศ. 2563 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาลที่ได้แถลงนโยบายต่อ รัฐสภา เมื่อวันที่ 25 - 26กรกฎาคม 2562 และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยได้กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และมาตรการและแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้
  • 27. 27 2.วิสัยทัศน์ “สร้างคุณภาพทุนมนุษย์สู่สังคมอนาคตที่ยั่งยืน” 3.พันธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 214. สร้าง โอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ํา ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง ทั่วถึงและเท่าเทียม 5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ 6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0 4. เป้าหมาย 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของชาติ มี คุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์สุจริต มัธยัสถ์ อด ออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม 2. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและอื่น ๆ ได้รับ การพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ 3. ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะมีสมรรถนะตาม หลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัยมีความสามารถในการพึ่งพา ตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมืองพลโลกที่ดี (Global Citizen) พร้อมก้าวสู่ สากล นําไปสู่การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4. ผู้เรียนที่มีความต้องการจําเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ ห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ 5. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณ ตาม มาตรฐานวิชาชีพ 6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง