SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบความรู้
พิธีเปิด –ปิดประชุมกอง
ลูกเสือสามัญ
พิธีเปิดประชุมกอง
พิธีเปิดประชุมกองลูกเสือสามัญ ลูกเสือตรี ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. การเปิด
2. การเชิญธงขึ้น
3. การสวดมนต์
4. การสงบนิ่ง
5. การตรวจ – แยก
การเปิด
การเปิด ผู้กากับยืนหน้าเสาธง ห่างจากเสาธงพอสมควรเรียกลูกเสือเข้าแถวรูปครึ่งวงกลม
การเชิญธงขึ้น
การเชิญธงขึ้น เมื่อลูกเสือเข้าแถวเรียบร้อยแล้วผู้กากับสั่งลูกเสือ “กอง – ตรง” ลูกเสือที่ทา
หน้าที่เป็นหมู่บริการ หรือทาหน้าที่หมู่บริการ 2 คน เข้าไปเชิญธง โดยยืนห่างจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว ทา
วันทยหัตถ์พร้อมกัน ลดมือลง คนที่หนึ่งก้าวเข้าไปข้างหน้า 2 ก้าว แล้วยืนเท้าชิด แก้เชือกที่ผูกธงออกถอย
กลับมายืนที่เดิม สองคนช่วยกันเชิญธง (ให้ผืนธงอยู่ทางขวาของผู้เชิญธง) ผู้กากับเป็นผู้สั่ง “กองเคารพธง
ชาติวันทยหัตถ์” ให้ลูกเสือทาวันทยหัตถ์ผู้กากับและรองผู้กากับทาวันทยหัตถ์ด้วยหมู่บริการนาร้องเพลง
ชาติ เมื่อธงชาติขึ้นสู่ยอดเสา ผู้เชิญธงคนหนึ่งก้าวเข้าไป 2 ก้าว เท้าชิด ผูกเชือกธง อีกคนหนึ่งคงยืนในท่าตรง
เมื่อผูกเชือกเรียบร้อยแล้ว ถอยกลับมายืนคู่กับคนที่ยืนรอยอู่ ทั้งสองทาวันทยหัตถ์พร้อมกัน ลดมือลง ผู้
กากับและรองผู้กากับลดมือลงพร้อมกับผู้เชิญธง ส่วนลูกเสืออื่นยังทาวันทยหัตถ์อยู่ และเมื่อลูกเสือ 2 คน ที่
เชิญธงกลับเข้าไปยืนที่หมู่ของตนแล้ว ให้ทาวันทยหัตถ์เหมือลูกเสือคนอื่นด้วย ผู้กากับจึงสั่งว่า “มือลง” ทุก
คนลดมือลงพร้อมกัน
ถ้าลูกเสือมีอาวุธ (ไม้พลอง หรือไม้ง่าม) เมื่อจะออกไปเชิญธงให้ฝากอาวุธไว้กับลูกเสือคน
ต่อไปก่อน เมือเชิญธงเสร็จกลับเข้าที่ก็ให้รับอาวุธ มาถือและทาวันทยาวุธ เหมือลุกเสือคนอื่นและคาสั่งวที่ผู้
กากับสั่ง หเปลี่ยนคาสั่งจาก “กอง – วันทยหัตถ์” เป็น “กอง - วันทยวุธ” จากคาว่า “มือลง” เป็น “เรียบ -
อาวุธ”
การสวดมนต์
การสวดมนต์เมื่อทุกคนลดมือลง (หรือเรียบอาวุธ) แล้วให้อยู่ในท่าตรงถอดหมวกเตรียมตัว
สวดมนต์ หมู่บริการนาสวดมนต์ (ลูกเสือที่นับถือศาสนาอื่นยืนสงบ)
การสงบนิ่ง
การสงบนิ่ง เมื่อสวดมนต์จบแล้ว ทุกคนสงบนิ่ง โดยลดมือจากการพนมมือมาถือหวากไว้
ด้านหน้าด้วยมือทั้งสอง ให้แขนเหยียดตรง ก้มหน้าเล็กน้อย
การตรวจ
การตรวจ ในการเปิดประชุมกองจะตรวจอะไรก็ได้ เช่น เครื่องแบบ เล็บ ฟัน และความ
สะอาดอื่นๆ ซึ่งผู้กากับจะเป็นผู้สั่งสอนก่อนว่าจะตรวจอะไร
วิธีตรวจ ตามปกติผู้กากับจะให้รองผู้กากับเป็นผู้ตรวจ รองผู้กากับจะทาความเคารพ
(วันทยหัตถ์) ผู้กากับก่อน แล้วจึงไปตรวจหมู่ลูกเสือ พอถึงหน้าหมู่ลูกเสือที่จะตรวจ (ห่างจากนายหมู่
พอสมควร นายหมู่สั่งลูกเสือในหมู่ของตนว่า “หมู่ .. ตรง” ทุกคนตรง นายหมู่ทาวันทยหัตถ์ ลดมือลง ก้าว
ออกมา 1 ก้าว ทาวันทยหัตถ์อีกครั้ง รายงานว่า “หมู่ ... พร้อมที่จะรับการตรวจแล้ว” ลดมือลง ถอยกลับเข้า
ไปยืนที่เดิม (ในขณะที่ลูกเสือรายงานและทาวันทยหัตถ์ ผู้ตรวจควรทาวันทยหัตถ์รับด้วย) ผู้ตรวจจะตรวจ
นายหมู่ก่อน แล้วจึงตรวจลูกหมู่ ขณะตรวจนายหมู๔จะเดินตามไปด้วย เพื่อจะได้ทราบถึงข้อบกพร่องของ
ลูกหมู่ เมื่อตรวจครบทุกคนแล้ว นายหมู่กลับเข้าที่ทาวันทยหัตถ์ผู้ตรวจอีกครั้งลดมือลง แล้วสั่ง “หมู่ ...พัก”
ถ้ามีอาวุธ ให้สั่ง “หมู่ .. วันทย – วุธ” ทุกคนทาวันทยาวุธ นายหมู่ลูกเสือลดมือลงก้าว
ออกมารายงานในท่าวันทยาวุธ ลดมือลง กลับไปยืนที่เดิม ทาท่าวันทยาวุธ อีกครั้งและสั่ง “หมู่ ... เรียบ อา –
วุธ” และอยู่ในท่าตรง เมื่อตรวจเสร็จ ให้นายหมู่สั่ง “หมู่ ... วันทยา – วุธ” และอยู่ในท่าตรง เมื่อตรวจเสร็จ
ให้นายหมู่สั่ง “หมู่ ... วันทยา – วุธ” อีกครั้ง และ “เรียบอา – วุธ” จากนั้นสั่งพัก
รองผู้กากับที่ไปตรวจจะรายงานผลการตรวจให้ผู้กากับทราบ คนไหนตรวจเสร็จก่อนให้
รายงานก่อน โดยไม่ต้องรอกัน
จากนั้นผู้กากับอาจจะพูดอะไรอีกเล็กน้อยแล้วสั่งแยก โด่ยออกคาสั่งว่า “กอง – ตรง –
แยก” ให้ลูกเสือทาขวาหัน แล้วแยกกันไป
ในกรณีที่ไม่มีรองผู้กากับก็ให้นายหมู่เป็นผู้ตรวจแทน เมื่อผู้กากับสั่งให้ตรวจอะไรแล้ว ผู้
กากับจะสั่ง “นายหมู่ตรวจ” ให้นายหมู่ก้าวออกมาหน้าแถวของตน รองนายหมู่วิ่งอ้อมด้านหลังมายืนแทนที่
นายหมู่และทาหน้าที่เสมือนนายหมู่ ใช้วิธีตรวจเช่นเดียวกับรองผู้กากับตรวจ เมื่อตรวจเสร็จให้ยืนรอหน้า
หมู่ของตนจนหมู่อื่นตรวจเสร็จครบทุกหมู่ จึงวิ่งไปเข้าแถวหน้ากระดานข้างหน้าผู้กากับ โดยมีนายหมู่
บริการอยู่หัวแถวเพื่อรายงานผลการตรวจ การรายงานให้รายงานทีละคนจากหัวแถวก่อนคนไหนจะรายงาน
ให้ก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว พร้อมกับทาวันทยหัตถ์ (ถ้ามีอาวุธให้ทาวันทยาวุธ) แล้วรายงาน เสร็จแล้วลด
มือลงถอยเข้าที่ในแถวเมื่อรายงานครบทุกคนให้ผู้กากับสั่ง “เข้าที่” นายหมู่จะวิ่งกลับเข้าที่พร้อมกับรองนาย
หมู่วิ่งอ้อมด้านหลังกลับมายืนที่เดิมของตน
ใบความรู้
พิธีปิดประชุมกอง
เมื่อจบทบเรียนในช่วงนั้น หรือสิ้นสุดการสอบแต่ละครั้งจะปิดประชุมกอง ให้ปฏิบัติตาม
ขั้นตอน ดังนี้
1) การนัดหมาย
2) การตรวจ (เครื่องแบบ)
3) การเชิญธงลง
การนัดหมาย
การนัดหมายผู้กากับยืนหน้าเสาธงเหมือตอนเปิด เรียกลูกเสือจัดแถวครึ่งวงกลมและอาจ
สรุปผลการเรียนเล็กน้อย แล้วนัดหมายว่าครั้งต่อไปจะเรียนอะไร เพื่อให้ลูกเสือเตรียมอุปกรณ์มา
การตรวจ
การตรวจในการปิดประชุมกองจะตรวจอย่างอื่นไม่ได้ต้องตรวจเครื่องแบบเพียงอย่างเดียว
เพราะว่าลูกเสือเรียนและทากิจกรรมหลายอย่าง เครื่องแบบย่อมไม่เรียบร้อย และจะต้องแต่งเครื่องแบบกลับ
บ้าน ผ่านที่ชุมชนหลายแห่ง ถ้าไม่เรียบร้อยอาจนาความเสื่อมเสียมาสู่กองลูกเสือของตนได้เมื่อผู้กากับสั่ง
“ตามระเบียบ – พัก” และสั่งตรวจเครื่องแบบ รองผู้กากับและลูกเสือจะมีวิธีเดียวกับการตรวจตอนเปิด
ประชุมกอง แต่เมื่อ ผู้ตรวจตรวจเครื่องแบบด้านหน้านายหมู่เรียบร้อยแล้วให้สั่ง “นายหมู่ กลับหลังหัน” เพื่อ
จะตรวจความเรียบร้อยด้านหลัง เมื่อเรียบร้อยแล้วให้สั่งกลับหลังหันอีกครั้ง แล้วตรวจคนอื่นต่อไป โดยมี
นายหมู่เดินตามไปด้วย เมื่อตรวจถึงคนสุดท้ายของหมู่ให้เดินอ้อมไปตรวจด้านหลังด้วย เมื่อตรวจเสร็จนาย
หมู่กลับไปยืนที่ของตน ทาวันทยหัตถ์อีกครั้ง ลดมือลง แล้วสั่ง “หมู่ ... พัก” (ถ้าลูกเสือมีอาวุธก็ให้ปฏิบัติ
เหมือนพิธีเปิดประชุมกอง)
การเชิญธงลง
ให้ลุกเสือที่ทานห้าที่หมู่บริการ 2 คน ออกไปที่เสาธง (ทาเหมือนพิธีเปิดประชุมกอง) เมื่อ
แก้เชือกธงมาถือเรียบร้อยแล้ว ผู้กากับสั่ง “กอง – วันทยหัตถ์” ถ้ามีอาวุธ สั่ง “กอง – วันทยา - วุธ” เมื่อผูก
เชือกเรียบร้อยแล้ว ทาความเคารพและกลับเข้าที่ให้ทาวันทยหัตถ์ (หรือวันทยาวุธ) อีกครั้ง จากนั้นผู้กากับสั่ง
“มือลง” ( หรือ เรียบอาวุธ)
หลังจากนั้นผู้กากับจะสั่ง “กอง – เลิก” ให้ลูกเสือ ทาวันทยหัตถ์ (หรือวันทยาวุธ) พร้อมกับ
กล่าว “ขอบคุณ” หรือ “สวัสดี” ลูกเสือลดมือลง ทาขวาหันกลับ และในกรณีที่ไม่มีรองผู้กากับและให้นาย
หมู่ตรวจ ก็ใช้วิธีเดียวกับพิธีเปิดประชุมกอง
ใบความรู้
ความรู้เกี่ยวกับขบวนการของลูกเสือ
การลูกเสือเป็นการอบรมเด็กโดยใช้ระบบหมู่เป็นหลัก มักเป็นการเรียนกลางแจ้งและฝึก
กระทาจริง มุ่งให้ยึดมั่นในศาสนา ยึดถือคติพจน์สาหรับหมู่คณะเป็นอุดมการณ์ปฏิบัติตนตามคาปฏิญาณ
และกฎของลูกเสือ ในฐานะที่ทุกคนได้เข้ามาเป็นลูกเสือสามัญแล้ว จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องราวของลูกเสือ
สามัญ
ลูกเสือสามัญ หมายถึง ลูกเสือที่มีอายุระหว่าง 11 – 17ปี ได้ผ่านการเป็นลูกเสือสารอง
มาแล้ว ลูกเสือสามัญยังแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ลูกเสือตรี ลูกเสือโท ลูกเสือเอก
ภาคผนวก
ใบความรู้
การลูกเสือเป็นกระบวนการฝึกอบรมเด็กชายให้เจริญเติบโตขึ้นสมกับเป็นลูกผู้ชาย เพื่อจะได้เป็นพลเมืองดี
ของชาติ และเป็นกาลังคนชั้นดีของประทศต่อไป ลอร์ดเบเดน โพเอลล์ได้จัดตั้งขบวนการลูกเสือขึ้นเป็น
หลักในประเทศอังกฤษปี พ.ศ. 2450 ก็เพื่อสนองความต้องการของเด็กแต่ละคนและเป็นการให้เด็กได้
ฝึกหัดทาตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเล็งเห็นวิธีการลูกเสือแบบของลอร์ดเบเดน โพ
เอลล์ ว่าเป็นวิธีการฝึกอบรมที่ดี และสามารถที่จะปลูกฝังให้คนไทยรู้จักรักชาติบ้านเมือง สามารถทาตนให้
เป็นประโยชน์ได้ตั้งแต่ยังเด็กอยู่จึงทรงตั้งคณะลูกเสือไทยขึ้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2454
การลูกเสือใช้วิธีการฝึกอบรมเด็กโดยใช้ระบบหมู่เป็นหลัก เรียนกลางแจ้ง เรียนโดยการกระทา
จริง และให้ยึดมั่นในพระศาสนา ซึ่งเป็นวิธีการสร้างคนสาหรับสังคมประชาธิปไตยและให้คนทุกคนมีค่ามี
ประโยชน์ สามารถช่วยตนเองและหมู่คณะได้ตามโอกาส นับเป็นขบวนการฝึกอบรที่เตรียมคนเพื่อพัฒนา
ประเทศชาติโดยแท้
การลูกเสือแบ่งแบบการฝึกตามอายุของเด็ก คือ อายุ 8 – 10 ปี ให้เป็นลูกเสือสารอง อายุ 11 – 17
ปี ให้เป็นลูกเสือสามัญ อายุ 15 – 18 ปี ให้เป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และอายุ 17 ปีขึ้นไป ให้เป็นลูกเสือวิสามัญ
ซึ่งตรงตามพัฒนาการของเด็กตามหลักจิตวิทยา นับเป็นการฝึกอบรมที่เหมาะสามและจะฝึกอบรมได้อย่าง
ได้ผล การลูกเสือมีคติพจน์สาหรับหมู่คณะได้ยึดถือเป็นอุดมการณ์ที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก และเป็น
ประโยชน์แก่สังคมและชาติบ้านเมืองโดยแท้
1. การลูกเสือเป็นกิจกรรมเยาวชนหน่ายหนึ่งที่มีจุดยืนของตนเอง มีเป้ าหมาย เป็นที่ยอมรับ
ของมนุษยชาติทั่วโลกในการสร้างเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อผู้อื่น
การลูกเสือจึงมีส่วนในการพัฒนาเยาวชนของชาติ ทางด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านร่างกาย เยาวชนที่เข้ามาสู่กิจกรรมลูกเสือจะมีร่างกายที่แข็งแรง บึกบึน สง่างาม เนื่องจากมี
โอกาสได้รับการฝึกอบรมได้รับการออกกาลังกายกลางแจ้ง จากกากรฝึกระเบียบแถว การเล่นกีฬา ประเภท
ต่างๆ ได้แก่ว่ายน้า ปีนต้นไม้ไต่เขา ผูกเงื่อน สร้างสะพาน สร้างหอคอย ฯลฯ
“หินกลิ้งอยู่เสมอตะไคร่น้าย่อมไม่จับฉันใด ร่างกายที่ได้รับการฝึกการออกกาลังกายอยู่อย่าง
สม่าเสมอย่อมมีความแข็งแกร่งฉันนั้น”
เยาวชนที่เคยมีร่างกายอ่อนแอหลายต่อหลายคน เมื่อผ่านการฝึกอบรมลูกเสือจะเปลี่ยนไปเป็น
คนละคน หลายคนนอกจากมีความแข็งแรงแล้วยังสูงใหญ่ สุขภาพสมบูรณ์อย่างน่ามหัศจรรย์
ด้านอารมณ์ เยาวชนทั่วไปมักถูกครอบครัวตามใจ ใครทาอะไรไม่ถูกใจจะเกิดอารมณ์ร้าย
ขึ้นมาทันที ทาให้เกิดเป็นเยาวชนเจ้าปัญหา ไม่เป็นที่ชมชอบของบุคคลทั่วไป แต่เมื่อเข้ามาสู่แวดวงลูกเสือ
แล้วจะเปลี่ยนเป็นเยาวชนที่ร่าเริง มีอารมณ์ขัน ยิ้มแย้มแจ่มใจอย่างสดชื่น
“อยากให้คนอื่นยิ้มต่อท่านา ท่านควรจะยิ้มให้คนอื่นก่อน”
เมื่อทุกท่านในเครื่องแบบลูกเสือต่างอยู่กันด้วยความเป็นพี่น้องกันไม่ถือยศถือศักดิ์ ทางานทุก
อย่างด้วยความรักความศรัทธา ทาด้วยอารมณ์ขัน ย่อมทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เป็นพิษ อารมณ์ย่อมไม่เสียไป
ด้านสังคม เยาวชนที่จะเข้ากับสังคมได้ดี มีมนุษยสัมพันธ์ มีจิตวิทยา มีความกล้าในสิ่งที่ควร
กล้ามีความรู้ ฯลฯ สิ่งเหล่านั้นการลูกเสือได้มอบไว้ให้จนหมดสิ้น ทาให้เยาวชนที่เป็นลูกเสือก้าวเข้าสู่สังคม
ด้วยความมั่นใจ และสังคมยินดีต้อนรับ
“การเอาใจเขามาใส่ใจเรา ย่อมทาให้การงานสาเร็จไปกว่าครึ่ง”
การสัมผัสกับสังคมทุกรูปทุกแบบ โดยเฉพาะกรให้บริการแบบให้เปล่า การบาเพ็ญประโยชน์
ตามอุดมคติ ตามคติพจน์ ทุกสังคมไม่เคยรังเกียจ
ด้านจิตใจ การลูกเสือไม่คิดมาก เคยทาผิดรู้สึกสานึกสารภาพผิด แล้วแก้ไขทุกคนจะยกย่องการ
ไม่คิดริษยา ชิงดีชิงเด่น เล่นพรรคเล่นพวก สร้างศัตรู จิตใจย่อมปลอดโปร่ง สมองแล่นไม่เป็นโรคประสาท
“สนุกสนานกับชีวิต โรคจิตไม่ถามหา”
จากการยึดมั่นในคาปฏิญาณ 3 ข้อ และกฎ 10 ข้อย่างจริงจัง ทาให้ลูกเสือมีจิตใจสูง มีธรรมอยู่
ในหัวใจ ยึดด้วยการปฏิบัติ จิตใจย่อมสดใส ไม่มีสิ่งแปลกปลอมมารบกวน
เมื่อทราบถึงแนวทางการพัฒนาเยาวชนของชาติโดยใช้การลูกเสือเป็นแกนนาแล้วอีกสิ่งหนึ่งที่
ลืมเสียมิได้ คือ ผู้ที่อยู่เบื้องหลังในการฝึกอบรมลูกเสือ เพื่อให้การลูกเสือพัฒนาเยาชนของชาติ สาเร็จลุล่วง
ตามโครงการที่เขียนไว้คือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
การลูกเสือไทยได้ฝากความหวังในการพัฒนาเยาวชนของชาติโดยการ ใช้ลูกเสือเป็นแกนนาไว้
กับท่านแล้ว ท่านพร้อมที่จะเริ่มงานของท่านหรือยัง

More Related Content

More from Thawatchai Rustanawan

ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลThawatchai Rustanawan
 
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลThawatchai Rustanawan
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Thawatchai Rustanawan
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้Thawatchai Rustanawan
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้Thawatchai Rustanawan
 

More from Thawatchai Rustanawan (7)

ลูกเสือ
ลูกเสือลูกเสือ
ลูกเสือ
 
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูลใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
ใบงานที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
Desk top author-manual
Desk top author-manualDesk top author-manual
Desk top author-manual
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้
 

E0b983e0b89ae0b884e0b8a7e0b8b2e0b8a1e0b8a3e0b8b9e0b989e0b897e0b8b5e0b988 1

  • 1. ใบความรู้ พิธีเปิด –ปิดประชุมกอง ลูกเสือสามัญ พิธีเปิดประชุมกอง พิธีเปิดประชุมกองลูกเสือสามัญ ลูกเสือตรี ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 1. การเปิด 2. การเชิญธงขึ้น 3. การสวดมนต์ 4. การสงบนิ่ง 5. การตรวจ – แยก การเปิด การเปิด ผู้กากับยืนหน้าเสาธง ห่างจากเสาธงพอสมควรเรียกลูกเสือเข้าแถวรูปครึ่งวงกลม การเชิญธงขึ้น การเชิญธงขึ้น เมื่อลูกเสือเข้าแถวเรียบร้อยแล้วผู้กากับสั่งลูกเสือ “กอง – ตรง” ลูกเสือที่ทา หน้าที่เป็นหมู่บริการ หรือทาหน้าที่หมู่บริการ 2 คน เข้าไปเชิญธง โดยยืนห่างจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว ทา วันทยหัตถ์พร้อมกัน ลดมือลง คนที่หนึ่งก้าวเข้าไปข้างหน้า 2 ก้าว แล้วยืนเท้าชิด แก้เชือกที่ผูกธงออกถอย กลับมายืนที่เดิม สองคนช่วยกันเชิญธง (ให้ผืนธงอยู่ทางขวาของผู้เชิญธง) ผู้กากับเป็นผู้สั่ง “กองเคารพธง ชาติวันทยหัตถ์” ให้ลูกเสือทาวันทยหัตถ์ผู้กากับและรองผู้กากับทาวันทยหัตถ์ด้วยหมู่บริการนาร้องเพลง ชาติ เมื่อธงชาติขึ้นสู่ยอดเสา ผู้เชิญธงคนหนึ่งก้าวเข้าไป 2 ก้าว เท้าชิด ผูกเชือกธง อีกคนหนึ่งคงยืนในท่าตรง เมื่อผูกเชือกเรียบร้อยแล้ว ถอยกลับมายืนคู่กับคนที่ยืนรอยอู่ ทั้งสองทาวันทยหัตถ์พร้อมกัน ลดมือลง ผู้ กากับและรองผู้กากับลดมือลงพร้อมกับผู้เชิญธง ส่วนลูกเสืออื่นยังทาวันทยหัตถ์อยู่ และเมื่อลูกเสือ 2 คน ที่ เชิญธงกลับเข้าไปยืนที่หมู่ของตนแล้ว ให้ทาวันทยหัตถ์เหมือลูกเสือคนอื่นด้วย ผู้กากับจึงสั่งว่า “มือลง” ทุก คนลดมือลงพร้อมกัน ถ้าลูกเสือมีอาวุธ (ไม้พลอง หรือไม้ง่าม) เมื่อจะออกไปเชิญธงให้ฝากอาวุธไว้กับลูกเสือคน ต่อไปก่อน เมือเชิญธงเสร็จกลับเข้าที่ก็ให้รับอาวุธ มาถือและทาวันทยาวุธ เหมือลุกเสือคนอื่นและคาสั่งวที่ผู้ กากับสั่ง หเปลี่ยนคาสั่งจาก “กอง – วันทยหัตถ์” เป็น “กอง - วันทยวุธ” จากคาว่า “มือลง” เป็น “เรียบ - อาวุธ” การสวดมนต์
  • 2. การสวดมนต์เมื่อทุกคนลดมือลง (หรือเรียบอาวุธ) แล้วให้อยู่ในท่าตรงถอดหมวกเตรียมตัว สวดมนต์ หมู่บริการนาสวดมนต์ (ลูกเสือที่นับถือศาสนาอื่นยืนสงบ) การสงบนิ่ง การสงบนิ่ง เมื่อสวดมนต์จบแล้ว ทุกคนสงบนิ่ง โดยลดมือจากการพนมมือมาถือหวากไว้ ด้านหน้าด้วยมือทั้งสอง ให้แขนเหยียดตรง ก้มหน้าเล็กน้อย การตรวจ การตรวจ ในการเปิดประชุมกองจะตรวจอะไรก็ได้ เช่น เครื่องแบบ เล็บ ฟัน และความ สะอาดอื่นๆ ซึ่งผู้กากับจะเป็นผู้สั่งสอนก่อนว่าจะตรวจอะไร วิธีตรวจ ตามปกติผู้กากับจะให้รองผู้กากับเป็นผู้ตรวจ รองผู้กากับจะทาความเคารพ (วันทยหัตถ์) ผู้กากับก่อน แล้วจึงไปตรวจหมู่ลูกเสือ พอถึงหน้าหมู่ลูกเสือที่จะตรวจ (ห่างจากนายหมู่ พอสมควร นายหมู่สั่งลูกเสือในหมู่ของตนว่า “หมู่ .. ตรง” ทุกคนตรง นายหมู่ทาวันทยหัตถ์ ลดมือลง ก้าว ออกมา 1 ก้าว ทาวันทยหัตถ์อีกครั้ง รายงานว่า “หมู่ ... พร้อมที่จะรับการตรวจแล้ว” ลดมือลง ถอยกลับเข้า ไปยืนที่เดิม (ในขณะที่ลูกเสือรายงานและทาวันทยหัตถ์ ผู้ตรวจควรทาวันทยหัตถ์รับด้วย) ผู้ตรวจจะตรวจ นายหมู่ก่อน แล้วจึงตรวจลูกหมู่ ขณะตรวจนายหมู๔จะเดินตามไปด้วย เพื่อจะได้ทราบถึงข้อบกพร่องของ ลูกหมู่ เมื่อตรวจครบทุกคนแล้ว นายหมู่กลับเข้าที่ทาวันทยหัตถ์ผู้ตรวจอีกครั้งลดมือลง แล้วสั่ง “หมู่ ...พัก” ถ้ามีอาวุธ ให้สั่ง “หมู่ .. วันทย – วุธ” ทุกคนทาวันทยาวุธ นายหมู่ลูกเสือลดมือลงก้าว ออกมารายงานในท่าวันทยาวุธ ลดมือลง กลับไปยืนที่เดิม ทาท่าวันทยาวุธ อีกครั้งและสั่ง “หมู่ ... เรียบ อา – วุธ” และอยู่ในท่าตรง เมื่อตรวจเสร็จ ให้นายหมู่สั่ง “หมู่ ... วันทยา – วุธ” และอยู่ในท่าตรง เมื่อตรวจเสร็จ ให้นายหมู่สั่ง “หมู่ ... วันทยา – วุธ” อีกครั้ง และ “เรียบอา – วุธ” จากนั้นสั่งพัก รองผู้กากับที่ไปตรวจจะรายงานผลการตรวจให้ผู้กากับทราบ คนไหนตรวจเสร็จก่อนให้ รายงานก่อน โดยไม่ต้องรอกัน จากนั้นผู้กากับอาจจะพูดอะไรอีกเล็กน้อยแล้วสั่งแยก โด่ยออกคาสั่งว่า “กอง – ตรง – แยก” ให้ลูกเสือทาขวาหัน แล้วแยกกันไป ในกรณีที่ไม่มีรองผู้กากับก็ให้นายหมู่เป็นผู้ตรวจแทน เมื่อผู้กากับสั่งให้ตรวจอะไรแล้ว ผู้ กากับจะสั่ง “นายหมู่ตรวจ” ให้นายหมู่ก้าวออกมาหน้าแถวของตน รองนายหมู่วิ่งอ้อมด้านหลังมายืนแทนที่ นายหมู่และทาหน้าที่เสมือนนายหมู่ ใช้วิธีตรวจเช่นเดียวกับรองผู้กากับตรวจ เมื่อตรวจเสร็จให้ยืนรอหน้า หมู่ของตนจนหมู่อื่นตรวจเสร็จครบทุกหมู่ จึงวิ่งไปเข้าแถวหน้ากระดานข้างหน้าผู้กากับ โดยมีนายหมู่ บริการอยู่หัวแถวเพื่อรายงานผลการตรวจ การรายงานให้รายงานทีละคนจากหัวแถวก่อนคนไหนจะรายงาน ให้ก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว พร้อมกับทาวันทยหัตถ์ (ถ้ามีอาวุธให้ทาวันทยาวุธ) แล้วรายงาน เสร็จแล้วลด มือลงถอยเข้าที่ในแถวเมื่อรายงานครบทุกคนให้ผู้กากับสั่ง “เข้าที่” นายหมู่จะวิ่งกลับเข้าที่พร้อมกับรองนาย หมู่วิ่งอ้อมด้านหลังกลับมายืนที่เดิมของตน
  • 4. เมื่อจบทบเรียนในช่วงนั้น หรือสิ้นสุดการสอบแต่ละครั้งจะปิดประชุมกอง ให้ปฏิบัติตาม ขั้นตอน ดังนี้ 1) การนัดหมาย 2) การตรวจ (เครื่องแบบ) 3) การเชิญธงลง การนัดหมาย การนัดหมายผู้กากับยืนหน้าเสาธงเหมือตอนเปิด เรียกลูกเสือจัดแถวครึ่งวงกลมและอาจ สรุปผลการเรียนเล็กน้อย แล้วนัดหมายว่าครั้งต่อไปจะเรียนอะไร เพื่อให้ลูกเสือเตรียมอุปกรณ์มา การตรวจ การตรวจในการปิดประชุมกองจะตรวจอย่างอื่นไม่ได้ต้องตรวจเครื่องแบบเพียงอย่างเดียว เพราะว่าลูกเสือเรียนและทากิจกรรมหลายอย่าง เครื่องแบบย่อมไม่เรียบร้อย และจะต้องแต่งเครื่องแบบกลับ บ้าน ผ่านที่ชุมชนหลายแห่ง ถ้าไม่เรียบร้อยอาจนาความเสื่อมเสียมาสู่กองลูกเสือของตนได้เมื่อผู้กากับสั่ง “ตามระเบียบ – พัก” และสั่งตรวจเครื่องแบบ รองผู้กากับและลูกเสือจะมีวิธีเดียวกับการตรวจตอนเปิด ประชุมกอง แต่เมื่อ ผู้ตรวจตรวจเครื่องแบบด้านหน้านายหมู่เรียบร้อยแล้วให้สั่ง “นายหมู่ กลับหลังหัน” เพื่อ จะตรวจความเรียบร้อยด้านหลัง เมื่อเรียบร้อยแล้วให้สั่งกลับหลังหันอีกครั้ง แล้วตรวจคนอื่นต่อไป โดยมี นายหมู่เดินตามไปด้วย เมื่อตรวจถึงคนสุดท้ายของหมู่ให้เดินอ้อมไปตรวจด้านหลังด้วย เมื่อตรวจเสร็จนาย หมู่กลับไปยืนที่ของตน ทาวันทยหัตถ์อีกครั้ง ลดมือลง แล้วสั่ง “หมู่ ... พัก” (ถ้าลูกเสือมีอาวุธก็ให้ปฏิบัติ เหมือนพิธีเปิดประชุมกอง) การเชิญธงลง ให้ลุกเสือที่ทานห้าที่หมู่บริการ 2 คน ออกไปที่เสาธง (ทาเหมือนพิธีเปิดประชุมกอง) เมื่อ แก้เชือกธงมาถือเรียบร้อยแล้ว ผู้กากับสั่ง “กอง – วันทยหัตถ์” ถ้ามีอาวุธ สั่ง “กอง – วันทยา - วุธ” เมื่อผูก เชือกเรียบร้อยแล้ว ทาความเคารพและกลับเข้าที่ให้ทาวันทยหัตถ์ (หรือวันทยาวุธ) อีกครั้ง จากนั้นผู้กากับสั่ง “มือลง” ( หรือ เรียบอาวุธ) หลังจากนั้นผู้กากับจะสั่ง “กอง – เลิก” ให้ลูกเสือ ทาวันทยหัตถ์ (หรือวันทยาวุธ) พร้อมกับ กล่าว “ขอบคุณ” หรือ “สวัสดี” ลูกเสือลดมือลง ทาขวาหันกลับ และในกรณีที่ไม่มีรองผู้กากับและให้นาย หมู่ตรวจ ก็ใช้วิธีเดียวกับพิธีเปิดประชุมกอง ใบความรู้ ความรู้เกี่ยวกับขบวนการของลูกเสือ การลูกเสือเป็นการอบรมเด็กโดยใช้ระบบหมู่เป็นหลัก มักเป็นการเรียนกลางแจ้งและฝึก กระทาจริง มุ่งให้ยึดมั่นในศาสนา ยึดถือคติพจน์สาหรับหมู่คณะเป็นอุดมการณ์ปฏิบัติตนตามคาปฏิญาณ
  • 5. และกฎของลูกเสือ ในฐานะที่ทุกคนได้เข้ามาเป็นลูกเสือสามัญแล้ว จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องราวของลูกเสือ สามัญ ลูกเสือสามัญ หมายถึง ลูกเสือที่มีอายุระหว่าง 11 – 17ปี ได้ผ่านการเป็นลูกเสือสารอง มาแล้ว ลูกเสือสามัญยังแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ลูกเสือตรี ลูกเสือโท ลูกเสือเอก
  • 6. ภาคผนวก ใบความรู้ การลูกเสือเป็นกระบวนการฝึกอบรมเด็กชายให้เจริญเติบโตขึ้นสมกับเป็นลูกผู้ชาย เพื่อจะได้เป็นพลเมืองดี ของชาติ และเป็นกาลังคนชั้นดีของประทศต่อไป ลอร์ดเบเดน โพเอลล์ได้จัดตั้งขบวนการลูกเสือขึ้นเป็น หลักในประเทศอังกฤษปี พ.ศ. 2450 ก็เพื่อสนองความต้องการของเด็กแต่ละคนและเป็นการให้เด็กได้ ฝึกหัดทาตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเล็งเห็นวิธีการลูกเสือแบบของลอร์ดเบเดน โพ เอลล์ ว่าเป็นวิธีการฝึกอบรมที่ดี และสามารถที่จะปลูกฝังให้คนไทยรู้จักรักชาติบ้านเมือง สามารถทาตนให้ เป็นประโยชน์ได้ตั้งแต่ยังเด็กอยู่จึงทรงตั้งคณะลูกเสือไทยขึ้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2454 การลูกเสือใช้วิธีการฝึกอบรมเด็กโดยใช้ระบบหมู่เป็นหลัก เรียนกลางแจ้ง เรียนโดยการกระทา จริง และให้ยึดมั่นในพระศาสนา ซึ่งเป็นวิธีการสร้างคนสาหรับสังคมประชาธิปไตยและให้คนทุกคนมีค่ามี ประโยชน์ สามารถช่วยตนเองและหมู่คณะได้ตามโอกาส นับเป็นขบวนการฝึกอบรที่เตรียมคนเพื่อพัฒนา ประเทศชาติโดยแท้ การลูกเสือแบ่งแบบการฝึกตามอายุของเด็ก คือ อายุ 8 – 10 ปี ให้เป็นลูกเสือสารอง อายุ 11 – 17 ปี ให้เป็นลูกเสือสามัญ อายุ 15 – 18 ปี ให้เป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และอายุ 17 ปีขึ้นไป ให้เป็นลูกเสือวิสามัญ ซึ่งตรงตามพัฒนาการของเด็กตามหลักจิตวิทยา นับเป็นการฝึกอบรมที่เหมาะสามและจะฝึกอบรมได้อย่าง ได้ผล การลูกเสือมีคติพจน์สาหรับหมู่คณะได้ยึดถือเป็นอุดมการณ์ที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก และเป็น ประโยชน์แก่สังคมและชาติบ้านเมืองโดยแท้ 1. การลูกเสือเป็นกิจกรรมเยาวชนหน่ายหนึ่งที่มีจุดยืนของตนเอง มีเป้ าหมาย เป็นที่ยอมรับ ของมนุษยชาติทั่วโลกในการสร้างเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อผู้อื่น การลูกเสือจึงมีส่วนในการพัฒนาเยาวชนของชาติ ทางด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านร่างกาย เยาวชนที่เข้ามาสู่กิจกรรมลูกเสือจะมีร่างกายที่แข็งแรง บึกบึน สง่างาม เนื่องจากมี โอกาสได้รับการฝึกอบรมได้รับการออกกาลังกายกลางแจ้ง จากกากรฝึกระเบียบแถว การเล่นกีฬา ประเภท ต่างๆ ได้แก่ว่ายน้า ปีนต้นไม้ไต่เขา ผูกเงื่อน สร้างสะพาน สร้างหอคอย ฯลฯ “หินกลิ้งอยู่เสมอตะไคร่น้าย่อมไม่จับฉันใด ร่างกายที่ได้รับการฝึกการออกกาลังกายอยู่อย่าง สม่าเสมอย่อมมีความแข็งแกร่งฉันนั้น” เยาวชนที่เคยมีร่างกายอ่อนแอหลายต่อหลายคน เมื่อผ่านการฝึกอบรมลูกเสือจะเปลี่ยนไปเป็น คนละคน หลายคนนอกจากมีความแข็งแรงแล้วยังสูงใหญ่ สุขภาพสมบูรณ์อย่างน่ามหัศจรรย์ ด้านอารมณ์ เยาวชนทั่วไปมักถูกครอบครัวตามใจ ใครทาอะไรไม่ถูกใจจะเกิดอารมณ์ร้าย ขึ้นมาทันที ทาให้เกิดเป็นเยาวชนเจ้าปัญหา ไม่เป็นที่ชมชอบของบุคคลทั่วไป แต่เมื่อเข้ามาสู่แวดวงลูกเสือ แล้วจะเปลี่ยนเป็นเยาวชนที่ร่าเริง มีอารมณ์ขัน ยิ้มแย้มแจ่มใจอย่างสดชื่น “อยากให้คนอื่นยิ้มต่อท่านา ท่านควรจะยิ้มให้คนอื่นก่อน”
  • 7. เมื่อทุกท่านในเครื่องแบบลูกเสือต่างอยู่กันด้วยความเป็นพี่น้องกันไม่ถือยศถือศักดิ์ ทางานทุก อย่างด้วยความรักความศรัทธา ทาด้วยอารมณ์ขัน ย่อมทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เป็นพิษ อารมณ์ย่อมไม่เสียไป ด้านสังคม เยาวชนที่จะเข้ากับสังคมได้ดี มีมนุษยสัมพันธ์ มีจิตวิทยา มีความกล้าในสิ่งที่ควร กล้ามีความรู้ ฯลฯ สิ่งเหล่านั้นการลูกเสือได้มอบไว้ให้จนหมดสิ้น ทาให้เยาวชนที่เป็นลูกเสือก้าวเข้าสู่สังคม ด้วยความมั่นใจ และสังคมยินดีต้อนรับ “การเอาใจเขามาใส่ใจเรา ย่อมทาให้การงานสาเร็จไปกว่าครึ่ง” การสัมผัสกับสังคมทุกรูปทุกแบบ โดยเฉพาะกรให้บริการแบบให้เปล่า การบาเพ็ญประโยชน์ ตามอุดมคติ ตามคติพจน์ ทุกสังคมไม่เคยรังเกียจ ด้านจิตใจ การลูกเสือไม่คิดมาก เคยทาผิดรู้สึกสานึกสารภาพผิด แล้วแก้ไขทุกคนจะยกย่องการ ไม่คิดริษยา ชิงดีชิงเด่น เล่นพรรคเล่นพวก สร้างศัตรู จิตใจย่อมปลอดโปร่ง สมองแล่นไม่เป็นโรคประสาท “สนุกสนานกับชีวิต โรคจิตไม่ถามหา” จากการยึดมั่นในคาปฏิญาณ 3 ข้อ และกฎ 10 ข้อย่างจริงจัง ทาให้ลูกเสือมีจิตใจสูง มีธรรมอยู่ ในหัวใจ ยึดด้วยการปฏิบัติ จิตใจย่อมสดใส ไม่มีสิ่งแปลกปลอมมารบกวน เมื่อทราบถึงแนวทางการพัฒนาเยาวชนของชาติโดยใช้การลูกเสือเป็นแกนนาแล้วอีกสิ่งหนึ่งที่ ลืมเสียมิได้ คือ ผู้ที่อยู่เบื้องหลังในการฝึกอบรมลูกเสือ เพื่อให้การลูกเสือพัฒนาเยาชนของชาติ สาเร็จลุล่วง ตามโครงการที่เขียนไว้คือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ การลูกเสือไทยได้ฝากความหวังในการพัฒนาเยาวชนของชาติโดยการ ใช้ลูกเสือเป็นแกนนาไว้ กับท่านแล้ว ท่านพร้อมที่จะเริ่มงานของท่านหรือยัง