SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที่ 1
การศึกษา การพัฒนามนุษย์ กับหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
การศึกษาเป็ น การพัฒ น ามนุ ษย์ ผ่าน กระ บวน การสั่งสอน กระ บวน การฝึ กอบรม
หรือกระบวน การถ่ายทอดความรู้ ความช าน าญ และ ทัศน คติที่รวมเรี ยกว่าป ระ สบการณ์
ซึ่ ง ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ผู้ จั ด แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด ใ ห้ แ ก่ กั น
หมายรวมถึงวัฒนธรรมหรือวิธีทางแห่งการดารงชีวิตของมนุษย์ทั้งที่มองเห็นได้ชัดเจนและไม่มองเห็น
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษากับหลักสูตร
2. อธิบายและนิยาม /ความหมาย : การพัฒนาหลักสูตร
สาระเนื้อหา(Content)
1. การศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนา
ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์
เ ป็ น พื้ น ฐ า น ส า คั ญ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ชี้ น า สั ง ค ม
ผู้ได้รับการศึกษาจึงเป็ น บุคลากรที่มีคุณ ภ าพ และ เป็ น กาลัง สาคัญ ใน การพัฒ น า ประ เท ศ
การเรียนการสอนเป็นการพัฒนาคน ซึ่งไม่ใช่สิ่งทดลองหรือลองผิดลองถูก กระบวนการพัฒนาคนนั้นครู
ผู้ บ ริ ห า ร บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
และ ผู้ที่เกี่ยวข้องจะร่วมกัน จัดการเรียน รู้เพื่อ พัฒน าผู้เรี ยน ให้มีคุณลักษณ ะอัน พึง ประ สง ค์
การออกแบบการสอนเป็ นส่วนสาคัญที่สุดของการสอน เพื่อให้การสอนบรรลุเป้าหมายที่กาหน ด
โดยอาศัยระบบที่มีขั้นตอนพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ก า ร ศึ ก ษ า (Education) เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ม นุ ษ ย์
ให้สามารถปฏิบัติงานที่มีความแตกต่างจากงานเดิมได้ การศึกษาเป็นกระบวนการในการพัฒนามนุษย์
ทั้ ง ใ น ฐ าน ะ ที่ เป็ น ม นุ ษ ย์ โ ด ย ตั ว ข อ ง มัน เ อ ง แ ล ะ ใ น ฐ าน ะ ที่ เป็ น ท รั พ ย า ก ร
การศึกษาเป็นการพัฒนาคนที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้ (knowledge-based) วิจิตรศรีสะอ้าน (2539:232 - 233)
กล่าวว่า การศึกษามีลักษณะสาคัญ 3ประการ คือ
1) การศึกษาเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลให้เป็นไปในแนวทางที่ปรารถนา
2) ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง พ ฤ ติ ก ร ร ม นี้ เ ป็ น ไ ป โ ด ย จ ง ใ จ
โดยมีการกาหนดจุดมุ่งหมายซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดไว้
3) ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง พ ฤ ติ ก ร ร ม นี้ ก ร ะ ท า เ ป็ น ร ะ บ บ
มีกระบวนการอันเหมาะสมและผ่านสถาบันทางสังคมที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ด้านกา
รศึกษา
2.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต,2539:2 - 4) กล่าวไว้ว่า ทรัพยากรมนุษย์เป็นคาที่เกิดมาไม่นานนัก
(เ กิ ด ใ น ช่ ว ง ค .ศ . 1965 – 1970 คื อ พ .ศ . 2508 – 2513)
เป็ นแนวคิดที่เกิดขึ้นในช่วงที่เน้นเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ และต่อมาก็ขยายไปถึงการพัฒนาสังคม
เ ป็ น ก า ร ม อ ง ค น อ ย่ า ง เ ป็ น ทุ น
เป็ น เครื่ อง มือเป็ น ปั จจัยห รือเป็ น อง ค์ประกอบที่จะ ใช้ใ น การพัฒ น าเศรษฐกิจและสัง คม
ต่อมาเราเห็นว่าการที่จะพัฒนาโดยมุ่งเน้นแต่ในด้านเศรษฐกิจนั้นไม่ถูกต้อง แต่สิ่งที่สาคัญคือ คนเรานี่เอง
ซึ่งควรจะให้ความใส่ใจเป็นพิเศษ เราจึงหันมาเน้นในเรื่องการพัฒนาคน แต่ก็ยังมีการใช้ศัพท์ที่ปะปนกัน
บางทีใช้คาว่าทรัพยากรมนุษย์ บางที่ใช้คาว่าพัฒนามนุษย์
ก า ร พั ฒ น า ม นุ ษ ย์ ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น ม นุ ษ ย์
กับ ก าร พั ฒ น ามนุ ษ ย์ใ น ฐ าน ะ ที่ เป็ น ท รัพ ยาก รมนุ ษ ย์ นี้ มีคว ามห มาย ต่อ ก ารศึ ก ษ า
เพ ราะการศึกษาเป็ น กระบวน การใน การพัฒน าคน ทั้งในฐานะที่เป็ นมนุษย์โดยตัวของมัน เอง
และใน ฐานะที่เป็ นทรัพ ยากร ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างกันคือ การศึกษาเพื่อพัฒน าตัวมนุ ษย์นั้ น
เป็ น ก าร ศึ ก ษ า ที่ เรี ย ก ไ ด้ ว่า เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น (ก า ร ศึ ก ษ าร ะ ย ะ ย า ว )
ส่วน การศึกษาเพื่อพัฒน าทรัพยากรมนุ ษย์ มีความหมายขึ้น กับกาลเทศะ หรือยุคสมัยมากกว่า
คือเป็ น การศึกษาที่ สัมพัน ธ์ กับสภ าพ แวดล้อมของ ยุคสมัยนั้ น (การศึกษาระยะ สั้ น ) เช่น
เพื่ อส น อ ง คว าม ต้อง ก ารขอ ง สั ง ค มใ น ด้าน ก าลัง ค น ใ น ส าขาง าน แล ะ กิจก าร ต่าง ๆ
ฉ ะ นั้ น เ ร า จึ ง ค ว ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง ส อ ง อ ย่ า ง นี้ ใ ห้ สั ม พั น ธ์ กั น
เพราะถ้าเราสามารถพัฒนาทั้งสองส่วนนี้ให้สัมพันธ์กันจนเกิดดุลยภาพขึ้นก็จะเป็นผลดีต่อชีวิตและสังคมมาก
พ ระ ธรรมปิ ฎ ก (ป ระ ยุท ธ์ ป ยุต โต 2540 : 1) ก ล่าวว่า ชีวิต จะ ดีง ามมีความสุ ข
ประเทศชาติจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์ ด้วยปัจจัยสาคัญที่สุดคือ การพัฒนาคน
ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดีมีความสุข และเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณ ภาพ การพัฒนาคนก็คือ การศึกษา
คน ที่มีการศึกษา ตลอดจนจบการศึกษาแล้วเรียกว่า บัณฑิต เมื่อว่าโดยเนื้อหาสาระ บัณฑิต ก็คือ
ค น ที่ ด า เ นิ น ชี วิ ต ด้ ว ย ปั ญ ญ า เ ป็ น อ ยู่ ด้ ว ย ค ว า ม ไ ม่ ป ร ะ ม า ท
พัฒนาชีวิตของตนจนลุถึงประโยชน์ที่เป็นจุดหมายของชีวิต
การพัฒนา(Development) เป็นการฝึกอบรมคนให้มีความสามารถใหม่เพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่
มุมมองใหม่เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถสร้างสรรค์งานได้ผลดียิ่งขึ้น มีบริการที่รวดเร็วกว่า
มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น เ พิ่ ม ขึ้ น
เป็ น ก าร เรี ย น รู้เพื่ อ พั ฒ น าราย บุ ค ค ล แ ต่ไม่เกี่ย วข้อ ง กับ ง าน ปั จ จุบั น ห รื อ อ น าค ต
บุคลากรในองค์กรทาให้องค์กรได้เปรียบในการแข่งขัน ทาให้อยู่ในแนวหน้า ปัจจุบันเราเรียกองค์กรนี้ว่า
อง ค์ ก รแ ห่ง ก ารเรี ยน รู้ ก ารพัฒ น ามีผ ล ต่อ ก ารเป ลี่ย น แ ป ล ง ใ น อง ค์ ก รที่ เป็ น ระ บ บ
ทาให้องค์กรเกิดประสิทธิภาพและต่อเนื่อง มีการปรับบทบาทหน้าที่ การคงอยู่ขององค์กร
กล่าวโดยสรุปการศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มุ่งการจัดระบบประสบการณ์การเ
รี ย น รู้ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ภ า ย ใ น เ ว ล า ที่ จ า กั ด
เพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ประสบความสาเร็จ และการเจริญเติบโตของงาน
การพัฒ น ามนุ ษ ย์ (Human Development) ตามพ ระ ราช บัญ ญั ติการศึกษ าแห่ง ช าติ พ .ศ. 2542
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2545 และ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. 2553
มีเจตนารมณ์ที่ต้องการเน้นย้าว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ทั้ ง ร่ า ง ก า ย จิ ต ใ จ ส ติ ปั ญ ญ า ค ว า ม รู้ แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม
มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การจัดการศึกษามี 3
รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอก และการศึกษาตามอัธยาศัย หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ
ต้อ ง มี ลัก ษ ณ ะ ห ล าก ห ล า ย ทั้ ง นี้ ใ ห้ จัด ต าม ค ว า ม เ ห ม าะ ส ม ข อ ง แ ต่ ล ะ ร ะ ดั บ
โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติทั้งสามฉบับนี้ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสาคัญในการจัดการศึกษ
า อาจสรุปหลักการด้านหลักสูตร ปรากฏตามมาตราต่าง ๆดังนี้
มาตรา 8(3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 27 ให้คณะ กรรมการการศึกษาขั้น พื้น ฐาน กาห น ดห ลักสู ตรภ าคบังคับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ
ต ล อ ด จ น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ
ให้สถาน ศึกษาขั้น พื้น ฐาน มีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสู ตรตามวัตถุประสงค์ใน วรรคหนึ่ ง
ใ น ส่ ว น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ส ภ า พ ปั ญ ห า ใ น ชุ ม ช น แ ล ะ สั ง ค ม ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
มาตรา 28 หลักสูตรสถานศึกษาต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับบุคคลพิการ
ต้อ ง มี ลัก ษ ณ ะ ห ล าก ห ล า ย ทั้ ง นี้ ใ ห้ จัด ต าม ค ว า ม เ ห ม าะ ส ม ข อ ง แ ต่ล ะ ร ะ ดั บ
โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ
สาระของหลักสูตรทั้งที่เป็นวิชาการและวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้
ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม
สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษานอกจากคุณลักษณะในวรรคหนึ่งและวรรคสองแล้ว
ยัง มีความมุ่ง ห มายเฉพ าะ ที่ จะ พัฒ น าวิช าการ วิช าชี พ ชั้ น สู ง และ ด้าน การค้น คว้า วิจัย
เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาทางสังคม
3. หลักสูตร
2.1 ความหมายของหลักสูตร
คาว่า “หลักสูตร” แปลมาจากคาในภาษาอังกฤษว่า “curriculum”ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า
“currere”หมายถึง “runningcourse”หรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่ง ต่อได้นาศัพท์นี้มาใช้ในทางการศึกษาว่า “running
sequence or learning experience” (Armstrong,1986:2) ก า ร ที่ เ ป รี ย บ เที ย บ ห ลั ก สู ต ร กั บ ส น า ม
หรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่งอาจเนื่องมาจากการที่ผู้เรียนจะสาเร็จการศึกษาในระดับใดหรือหลักสูตรใดก็ตาม
ผู้เรียนจะต้องฟันฝ่าความยากของวิชาหรือประสบการณ์การเรียนรู้ตามลาดับขั้นที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
เช่นเดียวกับนักวิ่งที่ต้องวิ่งแข่งและฟันฝ่าอุปสรรคไปสู่ชัยชนะและความสาเร็จให้ได้ในสมัยก่อนในประเทศไท
ย ใ ช้ ค า ว่ า “ ห ลั ก สู ต ร ” กั บ ค า ศั พ ท์ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ว่ า “ syllabus”
ปรากฏในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายพุทธศักราช 2503ฉบับภาษาอังกฤษ เรียกว่า “Syllabus
for Lower secondary Educationm B.E. 2503” แ ล ะ “ Syllabus for Upper secondary Educationm B.E. 2503”
แต่ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้คาว่า “curriculum” แทน เช่น หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521
(ฉบับปรุง 2533) ฉบับภ าษาอัง กฤษเรียกว่า “Lower Secondary School Curriculum B.E.2521 (Revised
EducationB.E.2533)” เพื่อต้องการแยกความหมายให้ชัดเจน เพ ราะคาว่า syllabus และ curriculum
มีความหมายที่แตกต่างกันดังที่ English Language Dictionary ให้ความหมายของคาทั้งสองดังนี้
“curriculum”หมายถึง 1. รายวิชาต่างๆ ทั้งหมดที่จัดสอนในโรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย (all
the different courses of study that are taught in a school, college, or university e.g. the school curriculum) แล ะ
2. รายวิชาหนึ่งๆ ที่จัดสอนในโรงเรียน วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย (one particular courseof study istaught in a
school, college, or university e.g. theEnglish curriculum )
“syllabus”หมายถึง หัวข้อเรื่องที่จะศึกษาในรายวิชาหนึ่งๆ (the subjectsto be studiedina particular
course) จากความหมายข้างต้นนี้จะเห็นว่าคาว่า “curriculum”ซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบันจะเหมาะกว่าคาว่า “syllabus”
ส่ ว น ค า ว่ า “syllabus”
จะใช้เมื่อหมายถึงประมวลการสอนในแต่ละรายวิชาซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย
เนื้ อ ห าส าร ะ กิ จก ร รม ก าร เรี ย น ก า ร ส อ น ก าร วัด แ ล ะ ป ร ะ เมิน ผ ล “ห ลัก สู ต ร ”
เ ป็ น ค า ศั พ ท์ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ค า ห นึ่ ง ที่ ค น ส่ ว น ใ ห ญ่ คุ้ น เ ค ย
และมีผู้ให้ความหมายไว้มากมายและแตกต่างกันไปบางความหมายมีขอบเขตกว้างบางความหมายมีขอบเขตแค
บทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความคิดเห็นและประสบการณ์ที่แตกต่างกันของบุคคลนั้นๆ ที่มีต่อหลักสูตร เช่น
กู๊ด (Good,1973:157) ได้ให้ความหมายของคาศัพท์ไว้ในพจนานุกรมทางการศึกษา (Dictionary of
Education) ว่ า ห ลั ก สู ต ร คื อ
กลุ่มรายวิชาที่จัดไว้อย่างมีระบบหรือลาดับวิชาที่บังคับสาหรับการจบการศึกษาหรือเพื่อรับประกาศนียบัตรใบส
าขาวิชาหลักต่างๆ เช่น หลักสูตรสังคมศึกษา หลักสูตรพลศึกษา
บ๊อบบิท (Bobbit,1918:42)ได้ให้ความหมายไว้ว่า หลักสูตร คือรายการของสิ่งต่างๆ ที่เด็กและเยาวชน
ต้องทาและมีประ สบการณ์ ด้วยวิธี การพัฒน าความสามารถใน การทาสิ่งต่างๆ ดังกล่าวให้ดี
เพื่อให้สามารถดารงชีวิตในวัยผู้ใหญ่ได้
นักลีย์และ อีแวน ส์ (Neagley and Evans,1967:2) ได้ใ ห้ความหมายของห ลักสู ตรว่า คือ
ประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดเพื่อช่วยให้นักเรียนได้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ตามความสามารถของนักเรียน
โ อ ลิ ว า ( Oliva,1982:10) ก ล่ า ว ว่ า ห ลั ก สู ต ร คื อ
แผนหรือโปรแกรมสาหรับประสบการณ์ทั้งหลายที่ผู้เรียนจะต้องประสบปัญหาภายใต้การอานวยการของโรงเรี
ยน
วี ล เ ล อ ร์ ( Wheenler,1974:11) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่ า
มวลประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งโรงเรียนหรือสถานการศึกษาจัดให้แก่ผู้เรียน
โครว์ (Crow,1980:250) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรคล้ายกับของวิลเลอร์ เขากล่าวว่า
หลักสูตรเป็นประสบการณ์ที่นักเรียนได้รับทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อนักเรียนมีการพัฒนาด้านร่างกาย
สังคม ปัญญา และจิตใจ
แ ค ส เ ว น แ ล ะ แ ค ม ป์ เ บ ล ล์ ( Caswell &Campbell,1935:69)
ได้เสน อความคิดเกี่ยวกับห ลักสู ตรใน หนัง สื อ Curriculum Development ซึ่ ง ตีพิ มพ์ใ น ปี 1935
โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ใ น โ ร ง เ รี ย น ว่ า
“หลักสูตรประกอบด้วยประสบการณ์ทุกอย่างที่จัดให้แก่เด็กโดยอยู่ในความดูแลการสอนของครู ”
แค ส เวน แ ล ะ แค มป์ เบ ล ล์ ไม่ได้มอ ง ห ลัก สู ตร ว่าเป็ น ก ลุ่มข อ ง ร ายวิช าแ ต่ห มาย ถึ ง
“ประสบการณ์ทุกชนิดที่เด็กมีภายใต้การแนะนาของครู”
เซย์เลอร์และอเล็กซานเดอร์ (Saylor&Alexander,1974:6)ได้กล่าวถึงความหมายของหลักสูตรว่า
“ เ ป็ น แ ผ น ส า ห รั บ จั ด โ อ ก า ส ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ แ ก่บุ ค ค ล ก ลุ่ ม ใ ด ก ลุ่ ม ห นึ่ ง
เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้โรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ” ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดของทาบา
( Taba,1962:10) ที่ ก ล่ า ว ไ ว้ ว่ า “ ห ลั ก สู ต ร คื อ
แผนการเรียนรู้ที่ประกอบด้วยจุดประสงค์และจุดมุ่ง หมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนื้ อหา
วิธีการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล”
เช ฟ เว อ ร์ แ ล ะ เ บ อ ร์ เ ล ค ( Shaver and berlak,1968:9) ก ล่า ว ว่า ห ลั ก สู ต ร คื อ
กิจกรรมที่ครูจัดให้นักเรียนได้เล่นเพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้
ท รั ม พ์ แ ล ะ มิ ล เ ล อ ร์ ( Trump and Miller,1973:11-12) ก ล่ า ว ว่ า
หลักสูตรคือกิจกรรมการเรียนการสอนชนิดต่างๆ ที่เตรียมการไว้และจัดให้แก่เด็กนักเรียนหรือระบบโรงเรียน
นั ก ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย ห ล า ย ท่ า น ไ ด้ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น
และความหมายของคาว่าหลักสูตรไว้หลายประการเช่น
สุ มิตร คุณ านุ ก ร ( 2520,2-3) ได้ใ ห้ ค วามห มาย ขอ ง ห ลั ก สู ต รไ ว้ใ น ส อ ง ระ ดับ
คือห ลักสู ตรใน ระ ดับช าติและ ห ลักสู ตรใน ระ ดับโรงเรียน ห ลักสู ตรระ ดับช าติหมายถึง
“โครง การใ ห้ การศึ กษาเพื่ อพัฒ น าผู้เรียน ใ ห้ มีค วามรู้ ความสามารถ และ คุณ ลักษ ณ ะ
สอดคล้องกับความมุ่งหมายทางการศึกษาที่กาหนดไว้” ส่วนหลักสูตรในระดับโรงเรียนหมายถึง
“โครง การที่ ป ระ มวลความรู้และ ประ สบ การณ์ ทั้ งห ลายที่ โรงเรี ยน จัดใ ห้ กับ นั กเรี ยน
ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอกโรงเรียนก็ตาม เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาไปตามความมุ่งหมายที่กาหนดไว้”
ธ า ร ง บั ว ศ รี ( 2532:6) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่ า คื อ
แผน ซึ่ งได้ออกแบ บจัดทาขึ้ น เพื่อได้แส ดงถึง จุดมุ่งห มาย การจัดเนื้ อห าสาระ กิจกรรม
แ ล ะ ป ร ะ ม ว ล ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น แ ต่ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ศึ ก ษ า
เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการในด้านต่างๆตามจุดหมายที่ได้กาหนดไว้
เอกวิทย์ ณ ถลาง (2521:108) เขียนในบทความเรื่อง “ข้อคิดเรื่องหลักสูตร” ได้ให้ความหมายว่า
หลักสูตร หมายถึง มวลประสบการณ์ทั้งหลายที่จัดให้เด็กได้เรียน เนื้อหาวิชาและทัศนคติ แบบพฤติกรรม
กิ จ วั ต ร สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ฯ ล ฯ
เมื่อประมวลเข้ากันแล้วก็เป็นประสบการณ์ที่ผ่านเข้าไปในการรับรู้ของเด็กถือว่าเป็นหลักสูตรทั้งสิ้น
จากความหมายของหลักสูตรในลักษณะต่างๆ ที่ได้ยกตัวอย่างของระดับความคิดของ
นั ก ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง ช า ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ช า ว ไ ท ย
สามารถนามาสรุปแนวความคิดเกี่ยวกับความหมายของหลักสูตรเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้นได้ดังนี้
3.1.1. หลักสูตรในฐานะที่เป็นวิชาและเนื้อหาสาระที่จัดให้แก่ผู้เรียน
หลักสูตรในฐานะที่เป็นวิชาและเนื้อหาสาระนั้นหมายถึงวิชาและเนื้อหาสาระที่กาหนดให้ผู้เรียนต้องเ
รียน ในชั้นและระดับต่างๆ หรือกลุ่มวิชาที่จัดขึ้นด้วยวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ ง เช่น
หลักสูตรเตรียมแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์ หลักสูตรธุรกิจ หลักสูตรตัดเสื้อและหลักสูตรการเลี้ยงสุกร
จ า ก อ ดี ต ตั้ ง แ ต่ เ ริ่ ม มี ห ลั ก สู ต ร จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น นี้
แน วคิดที่สาคัญ ของความห มายของหลักสู ตรก็ยังคงเป็ น วิช าและเนื้ อห าวิช าที่ครู สอน ใ ห้
แ ล ะ นั ก เ รี ย น ใ ช้ เ รี ย น ใ น ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ
แม้จะได้มีความพยายามที่จะทาให้หลักสูตรมีความหมายที่กว้างและแตกต่างไปจากเดิมแต่แนวความคิดเกี่ยวกับ
ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น วิ ช า
และเนื้อหาที่จัดให้แก่ผู้เรียนก็ยังคงฝังแน่นและเป็นพื้นฐานสาคัญในการจัดหลักสูตร
3.1.2. หลักสูตรในฐานะที่เป็นเอกสารหลักสูตร
กลุ่มหนึ่ งจัดให้จัดให้อีกกลุ่มหนึ่ ง ประกอบด้วยจุดหมาย หลักการ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ
อัตราเวลาเรียน กิจกรรมประสบการณ์ และการประเมินผลการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีรู้ความสามารถ
มีเจตคติที่ดีใ น การอยู่ร่วมกัน มีพ ฤติกรรมตามที่ กาหน ดไว้ใน จุดมุ่ง หมายของห ลักสู ตร
แนวคิดนี้จะเน้นหลักสูตรในฐานะที่เป็นเอกสารเป็นรูปเล่ม ซึ่งจาแนกเป็น 2ประเภท คือ เอกสารหลักสูตร
และเอกสารประกอบหลักสูตร
เอกสารหลักสูตรเป็นเอกสารที่กล่าวถึงสาระของหลักสูตรโดยตรง คือกล่าวถึงจุดมุ่งหมายหลักการ
โครงสร้าง และเนื้อหาที่จัดไว้ในหลักสูตรนั้นๆ เช่น หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2533) หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิตสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต เป็นต้น
ส่วนเอกสารประกอบห ลักสูตร เป็ นเอกสารที่อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ
ของหลักสูตรเพื่อให้การนาหลักสูตรไปใช้ได้ผลตามความมุ่งหมาย ตัวอย่างเอกสารประกอบหลักสูตรได้แก่
คู่มือหลักสูตร คู่มือครูเกี่ยวกับหลักสูตร แผนการสอนกลุ่มวิชาต่างๆ หรือคู่มือการประเมินผลการเรียน
3.1.3. หลักสูตรในฐานะที่เป็นกิจกรรมต่าง ๆที่จะให้แก่ผู้เรียน
แ น ว คิ ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ
ที่จัดให้แก่ผู้เรียนนี้ เป็ น การมองห ลักสูตรในลักษณะของกิจกรรมต่างๆ ที่ครูและนักเรียนจัดขึ้น
หรือกิจกรรมการเรียนการสอนชนิดต่างๆ ที่เตรียมไว้และจัดให้แก่ผู้เรียนโดยโรงเรียนทั้งในและนอกโรงเรียน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ประสบการณ์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่กาหนด กิจกรรมต่างๆ
ที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่สาคัญ เพราะจะนาไปสู่ประสบการณ์ทางด้านความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ ทักษะต่างๆ
อันแสดงถึงการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ควรจัดให้แก่ผู้เรียนจะต้องปรากฏอยู่ในหลักสูตรอย่างชัดเจน
หลักสูตรหมายถึงกิจกรรมต่างๆที่จัดให้ผู้เรียน
3.1.4. หลักสูตรในฐานะแผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่คาดหวังแก่นักเรียน
แนวคิดของหลักสูตรในฐานะแผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่คาดหวังแก่นักเรีย
นนี้ จะเป็นแผนในการจัดการศึกษาเพื่อแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ โดยมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ
แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ต า ม ที่ ก า ห น ด
แผนสาหรับจัดโอกาสทางการศึกษาจะแสดงเกี่ยวกับจุดหมายหรือจุดประสงค์ของการออกแบบหลักสูตร
ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล
แผนนี้สร้างขึ้นตามประเภทสถานการณ์หรือกลุ่มบุคคลในระดับการศึกษาต่างๆ เช่น หลักสูตรก่อนวัยเรียน
หลักสู ตรป ระ ถมศึกษา หลักสู ตรอุดมศึกษา หรื ออาจห มายถึง กลุ่มของแผน ย่อยต่าง ๆ
ที่ทาให้ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่คาดหวัง
3.1.5. หลักสูตรในฐานะที่เป็นมวลประสบการณ์
แนวคิดของหลักสูตรในฐานะที่เป็ นประสบการณ์ของผู้เรียนนั้น หมายถึงประสบการณ์
ทุกอย่างของนักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบของโรงเรียน รวมถึงเนื้อหาวิชาที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนด้วย
แ น ว คิ ด นี้ เ กิ ด จ า ก ส า เ ห ตุ 2 ป ร ะ ก า ร คื อ ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง
การไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของหลักสูตรในความหมายแคบที่ไม่ส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการรอบด้านขึ้นในตัวผู้เรีย
น ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง
การสอนของครูที่ยึดหนังสือเรียนและเนื้ อหาสาระมากเกิน ไปทาให้การสอนจืดชืดไม่มีชีวิตชีวา
โรงเรียนจึงควรจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ต่างๆ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด ได้กระทา
ได้แก้ปั ญ หา และ ค้น พ บ ด้วยตน เอง การจัด ห ลักสู ตรจึงควรพิจารณ าถึง ประ สบ การณ์
ทุกด้านที่พึ่งมีของผู้เรียน
ความหมายของหลักสูตรตามแนวคิดนี้ครอบคลุมความรู้และประสบการณ์ทุกอย่างที่อยู่ในความรับผิด
ชอบโรง เรียน ที่จัดให้แก่ผู้เรียน เพื่อพัฒ น าผู้เรียน ให้เป็ น ไปตามจุดมุ่ง หมายที่กาหน ดไว้
แนวคิดในความหมายของหลักสู ตรดังกล่าวนี้ เป็ น ความหมายใน แน วกว้างและ สมบูรณ์ที่สุ ด
เพราะครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในความรับผิดชอบของโรงเรียน
3.1.6. หลักสูตรในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทาง
แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เป็ น จุ ด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง นั้ น
เ ป็ น สิ่ ง ที่ สั ง ค ม มุ่ ง ห วั ง ห รื อ ค า ด ห วั ง ใ ห้ เ ด็ ก ไ ด้ รั บ ก ล่ า ว คื อ
ผู้ที่ศึกษาจนจบหลักสูตรไปแล้วจะมีคุณลักษณะอย่างไรบ้างจะเกิดผลอย่างไรในตัวผู้เรียน บ้าง
แนวคิดนี้มองหลักสูตรในฐานะที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวังที่จะเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ ดังนั้น
การจัดการหลักสูตร การกาหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระกระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล
จาต้องศึกษาและวางแผนให้สอดคล้องสัมพันธ์ซึ่งกันและกันด้วย
3.1.7. หลักสูตรในฐานะที่เป็นระบบการเรียนการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
แ น ว คิ ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น ร ะ บ บ ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น นั้ น
เป็นการมองหลักสูตรในฐานะที่เป็นแผนการเตรียมโอกาสของการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่จัดขึ้นโดยโรงเรียน
ห รื อ ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ที่ ก า ห น ด ไ ว้
เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้าโดยรวมเอาแผนย่อยๆ ที่เป็นโอกาสของการเรียนรู้ที่คาดหวังเข้าไว้ด้วยกัน
แผนงานนั้นมิได้เกิดขึ้นอย่างลอยๆแต่จะมีการวางแผนสาหรับสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้น
แผนงานจึงถูกกาหนดขึ้นเพื่อผู้เรียนโดยโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาที่รับผิดชอบในการจัดโอกาสทางการศึก
ษาให้แก่ผู้เรียน
จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ข้ า ง ต้ น จ ะ เ ห็ น ว่ า
ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร มี ก า ร ข ย า ย ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป
ซึ่งสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสามารถสรุปได้ดังนี้
1. ยุ ค ส มั ย ห รื อ ก า ล เ ว ล า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่า แ ต่ ล ะ ยุ ค แ ต่ ล ะ ส มั ย
มนุษย์เล็งเห็นคุณค่าและใช้ประโยชน์จากการศึกษาต่างๆ กัน
2. ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น ป รั ช ญ า แ ล ะ จิ ต วิ ท ย า ก า ร ศึ ก ษ า
ความเชื่อปรัชญาที่เปลี่ยนไปทาให้ความหมายของหลักสูตรเปลี่ยนไป เช่น ถ้าเชื่อในปรัชญาจิตนิยม
และช่วงที่จิตวิทยายังไม่เข้ามามีบทบาททางการศึกษาความหมายของหลักสูตรก็คือเนื้อหาวิชาที่ให้เด็กเรียน
ต่อมาเมื่อมีความเชื่อในปรัชญาพิพัฒนาการนิ ยม และมีจิตวิทยาเข้ามามีบทบาททางการศึกษา
ความหมายของหลักสูตรก็เปลี่ยนเป็นกิจกรรมหรือมวลประสบการณ์ทั้งหลายที่จัดให้แก่เด็ก
3. ส ภ า พ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม
ตลอดจนลัทธิการปกครองก็เป็นตัวกาหนดความหมายของหลักสูตรด้วยส่วนหนึ่ง
3.2 คุณสมบัติของหลักสูตร
คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ห ม า ย ถึ ง
ธรรมชาติหรือลักษณะของหลักสูตรว่าเป็นอย่างไรซึ่งอาจหมายรวมถึงข้อตกลงหรือข้อยอมรับเกี่ยวกับกฎเกณฑ์
ของหลักสูตร คุณสมบัติหรือกฎเกณฑ์ของหลักสูตรมีดังนี้
3.2.1. ห ลั ก สู ต ร มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น พ ล วั ต ( Dynamis)
แ ล ะ เป ลี่ ย น ไ ป ต า ม ค ว าม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ ค ว าม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม อ ยู่เส ม อ
คุณสมบัติข้อนี้แสดงว่าประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้แก่ผู้เรียนจะไม่ซ้าเหมือนเดิม
แต่จะเปลี่ยนแปลงและเพิ่มอยู่เสมอ โดยจะเปลี่ยนแปลงในลักษณะค่อยเป็ นค่อยไปตามความจาเป็ น
เนื้ อห าส าระ และ กิจกรรมใ ดยัง เส น อเป้ าห มายและ จาเป็ น ต่อผู้เรี ยน และ สัง คมก็คง ไว้
ในบางครั้งอาจจะคงเนื้อหาสาระไว้อย่างเดิม แต่การจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆ
อ า จ จ ะ ต้ อ ง ป รั บ ป รุ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ สี ย ใ ห ม่ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม
เพราะกิจกรรมหรือประสบการณ์ที่จัดให้แก่ผู้เรียนซึ่งเคยเหมาะสมเพียงพอในระยะเวลาหนึ่งและสถานการณ์ห
นึ่ ง อาจจะ ไม่เห มาะ ส มและ เพี ยง พ อ ใ น อีกระ ยะ เวลาห นึ่ ง แล ะ อีกส ถาน การณ์ ห นึ่ ง
เพราะฉะนั้นหลักสูตรจึงมีการเปลี่ยนแปลงอันเป็นคุณสมบัติที่เด่นชัดประการณ์หนึ่ง
3.2.2. ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ต่ อ เ นื่ อ ง
คุ ณ ส ม บั ติ ข้ อ นี้ มี ลั ก ษ ณ ะ ใ ก ล้ เ คี ย ง แ ล ะ เ ส ริ ม ข้ อ แ ร ก คื อ
หลักสูตรมีการเปลี่ยนต่อเนื่ องกันไปตามความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
เพราะฉะนั้นกระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องเป็นวัฏจักรในกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มี
การเป ลี่ยน แปลง รวมอยู่ด้วย ห ลัก สู ตรเป็ น สิ่ ง ที่ ควรได้รับก ารปรับป รุ งแก้ไขอ ยู่เสม อ
เพ ราะ หลักสู ตรที่ ดี ควรตอบ สน องต่อสั งคม และ เมื่อสั งคมเปลี่ยน แปลง อยู่ตลอดเวล า
ห ลั ก สู ต ร จึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม ไ ป ด้ ว ย
เพื่อที่จะ ให้กระบวน การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรเป็ น กระบวน การต่อเนื่องอย่างแท้จริง
จึงจาเป็นต้องมีองค์ประกอบหรือหน่วยงานเฉพาะรับผิดชอบงานดังกล่าวต่อเนื่องกันไปการเปลี่ยนแปลงหลักสู
ตรแต่ละ ครั้ ง ไม่จาเป็ น ต้องเปลี่ยน กิจกรรมและป ระ สบการณ์ ทุกช นิ ดใ น คราวเดียวกัน
ถ้ า ห า ก สั ง ค ม เ อ ง มิ ไ ด้ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ร ว ด เ ร็ ว อ ย่า ง ห น้ า มื อ เ ป็ น ห ลั ง มื อ
ข้ อ สั ง เ ก ต จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร แ ต่ ล ะ ค รั้ ง จ ะ พ บ ว่ า
เนื้ อห าสาระ และ กิจกรรมทั้ง ห ล ายของ การเรี ยน กา รส อน จะ ซ้ าข อง เดิม เกิน กว่า 80%
เพ ราะ ใน การปรับปรุงตัวหลักสู ตรแต่ละ ครั้งเราอาจจะ เปลี่ยน จุดมุ่งห มายบางประการให ม่
และปรับปรุงโครงสร้างของหลักสูตรซึ่งได้แก่การให้น้าหนักความสาคัญของกิจกรรมหรือเนื้อหาสาระเสียใหม่
แต่กิจกรรมและเนื้อหาสาระของวิชาต่างๆ หรือตาราที่มีอยู่เดิมก็อาจสามารถสนองจุดมุ่งหมายใหม่ได้
ถ้ากิจกรรมหรือเนื้อหาใดไม่สนองจุดมุ่งหมายดังกล่าวก็ปรับปรุงสิ่งเหล่านั้นเสียใหม่เป็นกรณีๆ ไป
3.2.3. ห ลั ก สู ต ร ไ ม่ ส า ม า ร ถ แ ส ด ง กิ จ ก ร ร ม ห รื อ ก ร ะ ท ากิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ
ตั ว ข อ งมั น เอ งได้ จึง จ าเป็ น ต้ อ งใช้ กิ จ ก รรม ห รื อ ก าร ก ระท าอย่ างอื่ น ม าช่ ว ย เช่น
การพัฒ น าห ลัก สู ตร การจัด ท าห ลัก สู ตร การป รับ ป รุ ง ห ลักสู ต ร ก ารส ร้ าง ห ลัก สู ต ร
เพราะฉะนั้นหลักสูตรจึงทาหน้าที่เป็นผู้กระทาอยู่ตลอดเวลา
3.3 ความสาคัญของหลักสูตร
ห ลัก สู ต รเป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ อัน ส าคัญ ยิ่ ง อ ย่าง ห นึ่ ง ข อ ง ก ารจัด ก าร ศึ ก ษ า
ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ร ะ ดั บ ใ ด ก็ ดี จ ะ ข า ด ห ลั ก สู ต ร ไ ป มิ ไ ด้
เพราะหลักสูตรจะเป็นโครงร่างกาหนดไว้ว่าจะให้เด็กได้รับประสบการณ์อะไรบ้างจึงจะเป็นประโยชน์ต่อเด็กแ
ล ะ สั ง ค ม ห ลั ก สู ต ร เป็ น แ น ว ท าง ที่ จ ะ ส ร้ า ง ค ว าม เ จ ริ ญ เติ บ โ ต ใ ห้ แ ก่ผู้ เ รี ย น
นอกจากนี้หลักสูตรยังเป็นเครื่องชี้ให้เห็นโฉมหน้าของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไรอีกด้วย
นั ก ก าร ศึ ก ษ าช าว อ เม ริ กัน ไ ด้ ก ล่า ว เน้ น ค ว าม ส า คัญ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่า
“หลักสูตรเสมือนเครื่องนาทางให้เด็กไปสู่จุดมุ่งหมาย หลักสูตรไม่ใช่เป็นแต่เพียงแนวทางการเรียนเท่านั้น
ยั ง ร ว บ ร ว ม ร า ย ก า ร แ ล ะ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ ไ ว้ อี ก ด้ ว ย
หลักสูตรไม่ใช่เนื้อหาวิชาแต่เป็นกิจกรรมทั้งหมดที่นาเข้ามาในโรงเรียน”
ในการจัดการศึกษาที่จะบรรลุเป้าหมายได้นั้นต้องอาศัยหลักสูตรเป็นเครื่องมือนาไปสู่การบรรลุเป้าห
ม า ย ดั ง ก ล่ า ว ถ้ า ป ร า ศ จ า ก ห ลั ก สู ต ร เ สี ย แ ล้ ว
การจัดการศึกษาจะไม่มีวันสาเร็จลุล่วงไปตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาที่กาหน ดไว้ได้เลย
หลักสูตรจึงเปรียบเสมือนหัวใจสาคัญของการจัดการศึกษาทีเดียว ซึ่ง ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ ( 2539: 11)
ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง เ รื่ อ ง นี้ ไ ว้ ว่า ก า ร ที่ จ ะ ท ร า บ ว่า ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ
จ ะ ดี ห รื อ ไ ม่ดี ส าม า ร ถ ดู จ า ก ห ลัก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ าใ น ร ะ ดั บ นั้ น ๆ ข อ ง ป ร ะ เท ศ
เพราะหลักสูตรเป็นเครื่องมือในการปรับปรุงจุดมุ่งหมายและนโยบายทางการศึกษาของชาติเข้าสู่การปฏิบัติในส
ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ
หลักสูตรจะเป็นเสมือนกับหางเสือที่จะคอยกาหนดทิศทางให้การเรียนการสอนเป็นไปตามความมุ่งหมายของกา
ร ศึ ก ษ า ห รื อ ก ล่ า ว อี ก นั ย ห นึ่ ง คื อ
หลักสูตรเป็นเครื่องชี้นาทางในการจัดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้เรียนซึ่งครูจะต้องปฏิบัติตามเพื่อให้ผู้เรียนไ
ด้รับ ก ารศึก ษ าที่ มุ่ง สู่จุดห มายเดี ยวกัน ห ลัก สู ตรจึ ง เป็ น หั วใ จส าคัญ ข อ ง การศึ กษ า
แ ล ะ เ ป็ น เค รื่ อ ง ชี้ ถึ ง ค ว ามเจ ริ ญ ข อ ง ช าติ ถ้าป ร ะ เท ศ ใ ด มี ห ลัก สู ต ร ที่ เ ห มาะ ส ม
ทั น ส มั ย แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ค น ใ น ป ร ะ เ ท ศ นั้ น ก็ ย่ อ ม มี ค ว า ม รู้
มีคุณภาพและศักยภาพในการพัฒนาประเทศได้อย่างเต็มที่
จากความสาคัญของหลักสูตรดังกล่าว พอสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้
1. หลักสูตรเป็นเสมือนเบ้าหลอมพลเมืองให้มีคุณภาพ
2. หลักสูตรเป็นมาตรฐานของการจัดการศึกษา
3. หลักสูตรเป็นโครงการและแนวทางในการให้การจัดการศึกษา
4. ในระดับโรงเรียนหลักสูตรจะให้แนวการปฏิบัติแก่ครู
5.
หลักสูตรแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของเด็กตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา
6. ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น เค รื่ อ ง ก า ห น ด แ น ว ท าง ใ น ก า ร จัด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ว่า
ผู้เรียนและสังคมควรจะได้รับสิ่งใดบ้างที่จะเป็นประโยชน์แก่เด็กโดยตรง
7. ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ก า ห น ด ว่ า
เนื้อหาวิชาอะไรบ้างที่จะช่วยให้เด็กมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างราบรื่น เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ
และบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม
8. ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ก า ห น ด ว่ า
วิธีการดาเนินชีวิตของเด็กให้เป็นไปด้วยความราบรื่นและผาสุกเป็นอย่างไร
9. หลักสูตรย่อมทานายลักษณะของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร
10. ห ลัก สู ต รก าห น ด แ น ว ท า ง ค ว า มรู้ ค ว าม ส าม าร ถ ค ว าม ป ร ะ พ ฤ ติ
ทั ก ษ ะ แ ล ะ เ จ ต ค ติ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ที่ จ ะ อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น สั ง ค ม
และบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและชาติบ้านเมือง
3.4 องค์ประกอบของหลักสูตร (Curriculum Component)
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต า ม ห ลั ก สู ต ร อ า จ จ ะ แ ต ก ต่า ง กัน บ้ าง ใ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด
แ ต่ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ป ร ะ เ ด็ น ห รื อ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ส าคั ญ เ ห มื อ น กัน อ ย่า ง ค ร บ ถ้ว น
ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้หลักสูตรสามารถไปใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบที่สาคัญคือ
3.4.1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims)
จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ห ม า ย ถึ ง
ความตั้งใจหรือความคาดหวังที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้ที่จะผ่านหลักสูตรจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีความสาคั
ญเพราะเป็นตัวกาหนดทิศทางและขอบเขตในการศึกษาแก่เด็กช่วยในการเลือกเนื้อหาและกิจกรรม
ตลอดจนใช้เป็นมาตรการอย่างหนึ่งในการประเมินผล
จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร ศึ ก ษ า มี ห ล า ย ข อ ง ร ะ ดั บ ไ ด้ แ ก่
จุดมุ่งหมายหลายระดับหลักสูตรซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่บอกให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรู้เป้าหมายของหลักสูตรนั้นๆ
จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก ลุ่ ม วิ ช า
วิชาแต่ละกลุ่มจะสร้างคุณลักษณะที่แตกต่างกันให้กับผู้เรียนดั้งนั้นแต่ละกลุ่มวิชาจึงมีจุดมุ่งหมายไว้ต่างกัน
จุดมุ่ง ห มายรายวิช าเป็ น จุด ห มายที่ ล ะ เอี ยดจ าเพ าะ เจาะ จง กว่าจุด มุ่ง ห มายก ลุ่มวิช า
ผู้สอนกลุ่มรายวิชาจะกาหนดจุดมุ่งหมายในการสอนเนื้อหาแต่ละบทแต่ละตอนขึ้นในรูปของจุดมุ่งหมายเชิงพฤ
ติ ก ร ร ม
แม้ว่าจุดมุ่งหมายทางการศึกษาจะมีระดับดังกล่าวแล้วจุดมุ่งหมายหลายระดับย่อมสอดคล้องกันและนาไปสู่จุดห
มายปลายทางเดียวกัน
3.4.2. เนื้อหา(Content)
เมื่ อ ก า ห น ด จุ ด มุ่ง ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร แ ล้ ว กิ จ ก ร ร ม ขึ้ น ต่ อ ไ ป นี้
การเลือกเนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่คาดว่าจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาไปสู่จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
โดยดาเนิ น การตั้งแต่การเลือกเนื้ อห าสาระ และประ สบการณ์ การเรียงลาดับเนื้ อหาสาระ
พร้อมทั้งการกาหนดเวลาเรียนที่เหมาะสม
3.4.3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum implementation)
เป็นการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่นการจัดทาวัสดุหลักสูตร
ได้แก่ คู่มือครู เอกสารหลักสูตร แผนการสอน แนวการสอน และแบบเรียน เป็นต้น
การจัดเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดโต๊ะ เก้าอี้ ห้องเรียน
วัสดุอุปกรณ์ในการเรียน จานวนครูและสิ่งแวดล้อมอานวยความสะดวกต่างๆ การดาเนินการสอน
เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ใ น ขั้ น ต อ น ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้
เพ ร า ะ ห ลั ก สู ต ร จ ะ ไ ด้ ผ ล ห รื อ ไ ม่ขึ้ น อ ยู่กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู
ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ในด้านการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้การวัดและประเมินผล จิตวิทยาการสอน
ตลอดทั้งปรัชญาการศึกษาของแต่ละดับ จึงทาให้การเรียนของผู้เรียนบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร
3.4.4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation)
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร คื อ ก า ร ห า ค า ต อ บ ว่ า
หลักสูตรสัมฤทธิ์ผลตามที่กาหนดในจุดมุ่งหมายหรือไม่ มากน้อยเพียงใด และอะไรเป็ นสาเหตุ
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ง า น ใ ห ญ่ แ ล ะ มี ข อ บ เ ข ต ก ว้ า ง ข ว า ง
ผู้ประเมินจาเป็นต้องวางโครงการประเมินผลไว้ล่วงหน้า
3.5 ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น แ น ว ท า ง ส า คั ญ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
ลักษณะของหลักสูตรที่ดีจะนาไปสู่การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และเกิดสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษา
หลักสูตรที่ดีควรมีดังนี้
1) ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษา
2) ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ
3) ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีเอกลักษณ์ของชาติ
4.)มีเนื้อหาสาระเรื่องที่สอนเพียงพอที่จะช่วยให้นักเรียนคิดเป็นและมีพัฒนาในการทุกด้าน
5) ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ข อ ง ผู้ เ รี ย น คื อ จั ด วิ ช า ทั ก ษ ะ
และวิชาเนื้อหาให้เหมาะสมกันในที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญงอกงามทุกด้าน
6) หลักสูตรที่ดีควรสาเร็จขึ้นด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย เพื่อจะให้ผลดีควรจัดให้เป็นคณะกรรมการ
7) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี จ ะ ต้ อ ง ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้ เ รี ย น รู้ ต่ อ ไ ป
และจะต้องเรียงลาดับความยากง่ายไม่ให้ขาดตอนจากกัน
8)
หลักสูตรที่ดีจะต้องเป็นประสบการณ์ที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของเด็กเพื่อให้เด็กได้มีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ
ในชีวิต เพื่อให้เป็นอยู่อย่างผาสุก
9) หลักสูตรที่ดีจะต้องเพิ่มพูนและส่งเสริมทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นของเด็ก
10) ห ลัก สู ตร ที่ ดีย่อ มส่ง เส ริ มใ ห้ เด็ก เกิด ค วาม รู้ ทั กษ ะ เจต คติ ค วามคิ ดริ เริ่ ม
มีความคิดสร้างสรรค์ในการดาเนินชีวิต
11) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี จ ะ ต้ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก ท า ง า น เ ป็ น อิ ส ร ะ
และทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะเพื่อพัฒนาให้รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย
12) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี ย่ อ ม บ อ ก แ น ว ท า ง วิ ธี ส อ น
และสื่ออุปกรณ์ประกอบเนื้อหาสาระที่สอนไว้อย่างเหมาะสม
13) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี ย่ อ ม มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า
เพื่อทราบข้อบกพร่องในการที่จะนาไปปรับปรุงให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป
14) หลักสูตรที่ดีจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจและมีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ
โดยเฉพาะปัญหาครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ
15) หลักสูตรที่ดีต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักแก้ปัญหา
16) หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อชีวิตของเด็ก
17) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี ต้ อ ง จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ห ล า ย ๆ อ ย่า ง
เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกอย่างเหมาะสมตามความสนใจ ความต้องการ และความสามารถของแต่ละบุคคล
18)
หลักสูตรที่ดีจะต้องวางกฎเกณฑ์ไว้อย่างเหมาะสมแก่การนาไปปฏิบัติและสะดวกแก่การวัดและประเมินผล
สรุป(Summary)
ห ลั ก สู ต ร มี ค ว า ม ส า คั ญ ยิ่ ง ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า
เป็ น สิ่งที่ชี้ ให้เห็ น แน วทางใน การจัดประสบการณ์แก่ผู้เรียน อัน เปรียบเสมือน แผน ที่หรื อ
เ ข็ ม ทิ ศ ที่ จ ะ น า ท า ง ใ น ก า ร วั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ บ ร ร ลุ ผ ล
หลักสูตรที่ดีจะต้องมีความชัดเจนเหมาะสมกับผู้เรียนและสังคมซึ่งจะทาให้การนาหลักสูตรไปใช้หรือการจัดกา
รเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพราะฉะนั้นในการจัดทาหรือการพัฒนาหลักสูตรจึงควรถือเป็นงาน
สาคัญ ที่ ทุ ก ฝ่ ายต้อ ง ร่วมมือร่วมใ จกัน ด าเนิ น การเพื่ อ ใ ห้ ได้ห ลัก สู ตรใ น ระ ดับ ต่าง ๆ
ที่ดีเพราะถ้าเรามีหลักสูตรที่ดีถูกต้องเหมาะสมการเดินทางไปสู่จุดหมายปลายทางในเรื่องการศึกษาจะเป็นไปโด
ยราบรื่นสามารถสร้างลักษณะสังคมที่ดีในอนาคตโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมืออย่างเต็มภาคภูมิ
ตรวจสอบทบทวน(Self-Test)
1. การศึกษาถือเป็นเครื่องมือการพัฒนามนุษย์ หลักสูตรเกี่ยวข้องกับอย่างไร
2. หลักสูตรมีความสาคัญหรือจาเป็นต่อการศึกษาหรือไม่ อย่างไร
กิจกรรม(Activity)
1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง การพัฒนามนุษย์ การศึกษา
การเรียนรู้และหลักสูตร
2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจาก สุเทพ อ่วมเจริญ การพัฒนาหลักสูตร : ทฤษฎีและการปฏิบัติ
“การพัฒนาหลักสูตร :นิยาม ความหมาย”
3. อุปมาอุปมัย :เมื่อการศึกษาเปรียบได้กับเครื่องมือการพัฒนามนุษย์ หลักสูตรเปรียบได้กับสิ่งใด
4. แลกเปลี่ยนแนวคิดกับเพื่อนนักศึกษา หรือผู้รู้ในประเด็น กฏหมายการศึกษา ที่เรียกว่า
พระราชบัญญัติการศึกษา การศึกษา และการพัฒนา แนวคิดจากต่างประเทศ

More Related Content

Similar to บทที่ 1

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012gam030
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Dook dik
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1parkpoom11z
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745CUPress
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpKamjornT
 

Similar to บทที่ 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 

More from benty2443

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมbenty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10benty2443
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6benty2443
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5benty2443
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4benty2443
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3benty2443
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2benty2443
 

More from benty2443 (11)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 การศึกษา การพัฒนามนุษย์ กับหลักสูตร มโนทัศน์(Concept) การศึกษาเป็ น การพัฒ น ามนุ ษย์ ผ่าน กระ บวน การสั่งสอน กระ บวน การฝึ กอบรม หรือกระบวน การถ่ายทอดความรู้ ความช าน าญ และ ทัศน คติที่รวมเรี ยกว่าป ระ สบการณ์ ซึ่ ง ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ผู้ จั ด แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด ใ ห้ แ ก่ กั น หมายรวมถึงวัฒนธรรมหรือวิธีทางแห่งการดารงชีวิตของมนุษย์ทั้งที่มองเห็นได้ชัดเจนและไม่มองเห็น ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษากับหลักสูตร 2. อธิบายและนิยาม /ความหมาย : การพัฒนาหลักสูตร สาระเนื้อหา(Content) 1. การศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนา ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ส า คั ญ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ชี้ น า สั ง ค ม ผู้ได้รับการศึกษาจึงเป็ น บุคลากรที่มีคุณ ภ าพ และ เป็ น กาลัง สาคัญ ใน การพัฒ น า ประ เท ศ การเรียนการสอนเป็นการพัฒนาคน ซึ่งไม่ใช่สิ่งทดลองหรือลองผิดลองถูก กระบวนการพัฒนาคนนั้นครู ผู้ บ ริ ห า ร บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า และ ผู้ที่เกี่ยวข้องจะร่วมกัน จัดการเรียน รู้เพื่อ พัฒน าผู้เรี ยน ให้มีคุณลักษณ ะอัน พึง ประ สง ค์ การออกแบบการสอนเป็ นส่วนสาคัญที่สุดของการสอน เพื่อให้การสอนบรรลุเป้าหมายที่กาหน ด โดยอาศัยระบบที่มีขั้นตอนพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก า ร ศึ ก ษ า (Education) เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ให้สามารถปฏิบัติงานที่มีความแตกต่างจากงานเดิมได้ การศึกษาเป็นกระบวนการในการพัฒนามนุษย์ ทั้ ง ใ น ฐ าน ะ ที่ เป็ น ม นุ ษ ย์ โ ด ย ตั ว ข อ ง มัน เ อ ง แ ล ะ ใ น ฐ าน ะ ที่ เป็ น ท รั พ ย า ก ร
  • 2. การศึกษาเป็นการพัฒนาคนที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้ (knowledge-based) วิจิตรศรีสะอ้าน (2539:232 - 233) กล่าวว่า การศึกษามีลักษณะสาคัญ 3ประการ คือ 1) การศึกษาเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลให้เป็นไปในแนวทางที่ปรารถนา 2) ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง พ ฤ ติ ก ร ร ม นี้ เ ป็ น ไ ป โ ด ย จ ง ใ จ โดยมีการกาหนดจุดมุ่งหมายซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดไว้ 3) ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง พ ฤ ติ ก ร ร ม นี้ ก ร ะ ท า เ ป็ น ร ะ บ บ มีกระบวนการอันเหมาะสมและผ่านสถาบันทางสังคมที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ด้านกา รศึกษา 2.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต,2539:2 - 4) กล่าวไว้ว่า ทรัพยากรมนุษย์เป็นคาที่เกิดมาไม่นานนัก (เ กิ ด ใ น ช่ ว ง ค .ศ . 1965 – 1970 คื อ พ .ศ . 2508 – 2513) เป็ นแนวคิดที่เกิดขึ้นในช่วงที่เน้นเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ และต่อมาก็ขยายไปถึงการพัฒนาสังคม เ ป็ น ก า ร ม อ ง ค น อ ย่ า ง เ ป็ น ทุ น เป็ น เครื่ อง มือเป็ น ปั จจัยห รือเป็ น อง ค์ประกอบที่จะ ใช้ใ น การพัฒ น าเศรษฐกิจและสัง คม ต่อมาเราเห็นว่าการที่จะพัฒนาโดยมุ่งเน้นแต่ในด้านเศรษฐกิจนั้นไม่ถูกต้อง แต่สิ่งที่สาคัญคือ คนเรานี่เอง ซึ่งควรจะให้ความใส่ใจเป็นพิเศษ เราจึงหันมาเน้นในเรื่องการพัฒนาคน แต่ก็ยังมีการใช้ศัพท์ที่ปะปนกัน บางทีใช้คาว่าทรัพยากรมนุษย์ บางที่ใช้คาว่าพัฒนามนุษย์ ก า ร พั ฒ น า ม นุ ษ ย์ ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น ม นุ ษ ย์ กับ ก าร พั ฒ น ามนุ ษ ย์ใ น ฐ าน ะ ที่ เป็ น ท รัพ ยาก รมนุ ษ ย์ นี้ มีคว ามห มาย ต่อ ก ารศึ ก ษ า เพ ราะการศึกษาเป็ น กระบวน การใน การพัฒน าคน ทั้งในฐานะที่เป็ นมนุษย์โดยตัวของมัน เอง และใน ฐานะที่เป็ นทรัพ ยากร ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างกันคือ การศึกษาเพื่อพัฒน าตัวมนุ ษย์นั้ น เป็ น ก าร ศึ ก ษ า ที่ เรี ย ก ไ ด้ ว่า เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น (ก า ร ศึ ก ษ าร ะ ย ะ ย า ว ) ส่วน การศึกษาเพื่อพัฒน าทรัพยากรมนุ ษย์ มีความหมายขึ้น กับกาลเทศะ หรือยุคสมัยมากกว่า คือเป็ น การศึกษาที่ สัมพัน ธ์ กับสภ าพ แวดล้อมของ ยุคสมัยนั้ น (การศึกษาระยะ สั้ น ) เช่น เพื่ อส น อ ง คว าม ต้อง ก ารขอ ง สั ง ค มใ น ด้าน ก าลัง ค น ใ น ส าขาง าน แล ะ กิจก าร ต่าง ๆ ฉ ะ นั้ น เ ร า จึ ง ค ว ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง ส อ ง อ ย่ า ง นี้ ใ ห้ สั ม พั น ธ์ กั น เพราะถ้าเราสามารถพัฒนาทั้งสองส่วนนี้ให้สัมพันธ์กันจนเกิดดุลยภาพขึ้นก็จะเป็นผลดีต่อชีวิตและสังคมมาก
  • 3. พ ระ ธรรมปิ ฎ ก (ป ระ ยุท ธ์ ป ยุต โต 2540 : 1) ก ล่าวว่า ชีวิต จะ ดีง ามมีความสุ ข ประเทศชาติจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์ ด้วยปัจจัยสาคัญที่สุดคือ การพัฒนาคน ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดีมีความสุข และเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณ ภาพ การพัฒนาคนก็คือ การศึกษา คน ที่มีการศึกษา ตลอดจนจบการศึกษาแล้วเรียกว่า บัณฑิต เมื่อว่าโดยเนื้อหาสาระ บัณฑิต ก็คือ ค น ที่ ด า เ นิ น ชี วิ ต ด้ ว ย ปั ญ ญ า เ ป็ น อ ยู่ ด้ ว ย ค ว า ม ไ ม่ ป ร ะ ม า ท พัฒนาชีวิตของตนจนลุถึงประโยชน์ที่เป็นจุดหมายของชีวิต การพัฒนา(Development) เป็นการฝึกอบรมคนให้มีความสามารถใหม่เพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ มุมมองใหม่เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถสร้างสรรค์งานได้ผลดียิ่งขึ้น มีบริการที่รวดเร็วกว่า มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น เ พิ่ ม ขึ้ น เป็ น ก าร เรี ย น รู้เพื่ อ พั ฒ น าราย บุ ค ค ล แ ต่ไม่เกี่ย วข้อ ง กับ ง าน ปั จ จุบั น ห รื อ อ น าค ต บุคลากรในองค์กรทาให้องค์กรได้เปรียบในการแข่งขัน ทาให้อยู่ในแนวหน้า ปัจจุบันเราเรียกองค์กรนี้ว่า อง ค์ ก รแ ห่ง ก ารเรี ยน รู้ ก ารพัฒ น ามีผ ล ต่อ ก ารเป ลี่ย น แ ป ล ง ใ น อง ค์ ก รที่ เป็ น ระ บ บ ทาให้องค์กรเกิดประสิทธิภาพและต่อเนื่อง มีการปรับบทบาทหน้าที่ การคงอยู่ขององค์กร กล่าวโดยสรุปการศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มุ่งการจัดระบบประสบการณ์การเ รี ย น รู้ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ภ า ย ใ น เ ว ล า ที่ จ า กั ด เพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ประสบความสาเร็จ และการเจริญเติบโตของงาน การพัฒ น ามนุ ษ ย์ (Human Development) ตามพ ระ ราช บัญ ญั ติการศึกษ าแห่ง ช าติ พ .ศ. 2542 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2545 และ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. 2553 มีเจตนารมณ์ที่ต้องการเน้นย้าว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้ ง ร่ า ง ก า ย จิ ต ใ จ ส ติ ปั ญ ญ า ค ว า ม รู้ แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอก และการศึกษาตามอัธยาศัย หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ต้อ ง มี ลัก ษ ณ ะ ห ล าก ห ล า ย ทั้ ง นี้ ใ ห้ จัด ต าม ค ว า ม เ ห ม าะ ส ม ข อ ง แ ต่ ล ะ ร ะ ดั บ โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติทั้งสามฉบับนี้ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสาคัญในการจัดการศึกษ า อาจสรุปหลักการด้านหลักสูตร ปรากฏตามมาตราต่าง ๆดังนี้ มาตรา 8(3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง มาตรา 27 ให้คณะ กรรมการการศึกษาขั้น พื้น ฐาน กาห น ดห ลักสู ตรภ าคบังคับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ
  • 4. ต ล อ ด จ น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ ให้สถาน ศึกษาขั้น พื้น ฐาน มีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสู ตรตามวัตถุประสงค์ใน วรรคหนึ่ ง ใ น ส่ ว น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ส ภ า พ ปั ญ ห า ใ น ชุ ม ช น แ ล ะ สั ง ค ม ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มาตรา 28 หลักสูตรสถานศึกษาต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับบุคคลพิการ ต้อ ง มี ลัก ษ ณ ะ ห ล าก ห ล า ย ทั้ ง นี้ ใ ห้ จัด ต าม ค ว า ม เ ห ม าะ ส ม ข อ ง แ ต่ล ะ ร ะ ดั บ โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ สาระของหลักสูตรทั้งที่เป็นวิชาการและวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษานอกจากคุณลักษณะในวรรคหนึ่งและวรรคสองแล้ว ยัง มีความมุ่ง ห มายเฉพ าะ ที่ จะ พัฒ น าวิช าการ วิช าชี พ ชั้ น สู ง และ ด้าน การค้น คว้า วิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาทางสังคม 3. หลักสูตร 2.1 ความหมายของหลักสูตร คาว่า “หลักสูตร” แปลมาจากคาในภาษาอังกฤษว่า “curriculum”ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า “currere”หมายถึง “runningcourse”หรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่ง ต่อได้นาศัพท์นี้มาใช้ในทางการศึกษาว่า “running sequence or learning experience” (Armstrong,1986:2) ก า ร ที่ เ ป รี ย บ เที ย บ ห ลั ก สู ต ร กั บ ส น า ม หรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่งอาจเนื่องมาจากการที่ผู้เรียนจะสาเร็จการศึกษาในระดับใดหรือหลักสูตรใดก็ตาม ผู้เรียนจะต้องฟันฝ่าความยากของวิชาหรือประสบการณ์การเรียนรู้ตามลาดับขั้นที่กาหนดไว้ในหลักสูตร เช่นเดียวกับนักวิ่งที่ต้องวิ่งแข่งและฟันฝ่าอุปสรรคไปสู่ชัยชนะและความสาเร็จให้ได้ในสมัยก่อนในประเทศไท ย ใ ช้ ค า ว่ า “ ห ลั ก สู ต ร ” กั บ ค า ศั พ ท์ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ว่ า “ syllabus” ปรากฏในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายพุทธศักราช 2503ฉบับภาษาอังกฤษ เรียกว่า “Syllabus for Lower secondary Educationm B.E. 2503” แ ล ะ “ Syllabus for Upper secondary Educationm B.E. 2503” แต่ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้คาว่า “curriculum” แทน เช่น หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรุง 2533) ฉบับภ าษาอัง กฤษเรียกว่า “Lower Secondary School Curriculum B.E.2521 (Revised
  • 5. EducationB.E.2533)” เพื่อต้องการแยกความหมายให้ชัดเจน เพ ราะคาว่า syllabus และ curriculum มีความหมายที่แตกต่างกันดังที่ English Language Dictionary ให้ความหมายของคาทั้งสองดังนี้ “curriculum”หมายถึง 1. รายวิชาต่างๆ ทั้งหมดที่จัดสอนในโรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย (all the different courses of study that are taught in a school, college, or university e.g. the school curriculum) แล ะ 2. รายวิชาหนึ่งๆ ที่จัดสอนในโรงเรียน วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย (one particular courseof study istaught in a school, college, or university e.g. theEnglish curriculum ) “syllabus”หมายถึง หัวข้อเรื่องที่จะศึกษาในรายวิชาหนึ่งๆ (the subjectsto be studiedina particular course) จากความหมายข้างต้นนี้จะเห็นว่าคาว่า “curriculum”ซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบันจะเหมาะกว่าคาว่า “syllabus” ส่ ว น ค า ว่ า “syllabus” จะใช้เมื่อหมายถึงประมวลการสอนในแต่ละรายวิชาซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย เนื้ อ ห าส าร ะ กิ จก ร รม ก าร เรี ย น ก า ร ส อ น ก าร วัด แ ล ะ ป ร ะ เมิน ผ ล “ห ลัก สู ต ร ” เ ป็ น ค า ศั พ ท์ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ค า ห นึ่ ง ที่ ค น ส่ ว น ใ ห ญ่ คุ้ น เ ค ย และมีผู้ให้ความหมายไว้มากมายและแตกต่างกันไปบางความหมายมีขอบเขตกว้างบางความหมายมีขอบเขตแค บทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความคิดเห็นและประสบการณ์ที่แตกต่างกันของบุคคลนั้นๆ ที่มีต่อหลักสูตร เช่น กู๊ด (Good,1973:157) ได้ให้ความหมายของคาศัพท์ไว้ในพจนานุกรมทางการศึกษา (Dictionary of Education) ว่ า ห ลั ก สู ต ร คื อ กลุ่มรายวิชาที่จัดไว้อย่างมีระบบหรือลาดับวิชาที่บังคับสาหรับการจบการศึกษาหรือเพื่อรับประกาศนียบัตรใบส าขาวิชาหลักต่างๆ เช่น หลักสูตรสังคมศึกษา หลักสูตรพลศึกษา บ๊อบบิท (Bobbit,1918:42)ได้ให้ความหมายไว้ว่า หลักสูตร คือรายการของสิ่งต่างๆ ที่เด็กและเยาวชน ต้องทาและมีประ สบการณ์ ด้วยวิธี การพัฒน าความสามารถใน การทาสิ่งต่างๆ ดังกล่าวให้ดี เพื่อให้สามารถดารงชีวิตในวัยผู้ใหญ่ได้ นักลีย์และ อีแวน ส์ (Neagley and Evans,1967:2) ได้ใ ห้ความหมายของห ลักสู ตรว่า คือ ประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดเพื่อช่วยให้นักเรียนได้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ตามความสามารถของนักเรียน โ อ ลิ ว า ( Oliva,1982:10) ก ล่ า ว ว่ า ห ลั ก สู ต ร คื อ แผนหรือโปรแกรมสาหรับประสบการณ์ทั้งหลายที่ผู้เรียนจะต้องประสบปัญหาภายใต้การอานวยการของโรงเรี ยน วี ล เ ล อ ร์ ( Wheenler,1974:11) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่ า มวลประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งโรงเรียนหรือสถานการศึกษาจัดให้แก่ผู้เรียน
  • 6. โครว์ (Crow,1980:250) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรคล้ายกับของวิลเลอร์ เขากล่าวว่า หลักสูตรเป็นประสบการณ์ที่นักเรียนได้รับทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อนักเรียนมีการพัฒนาด้านร่างกาย สังคม ปัญญา และจิตใจ แ ค ส เ ว น แ ล ะ แ ค ม ป์ เ บ ล ล์ ( Caswell &Campbell,1935:69) ได้เสน อความคิดเกี่ยวกับห ลักสู ตรใน หนัง สื อ Curriculum Development ซึ่ ง ตีพิ มพ์ใ น ปี 1935 โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ใ น โ ร ง เ รี ย น ว่ า “หลักสูตรประกอบด้วยประสบการณ์ทุกอย่างที่จัดให้แก่เด็กโดยอยู่ในความดูแลการสอนของครู ” แค ส เวน แ ล ะ แค มป์ เบ ล ล์ ไม่ได้มอ ง ห ลัก สู ตร ว่าเป็ น ก ลุ่มข อ ง ร ายวิช าแ ต่ห มาย ถึ ง “ประสบการณ์ทุกชนิดที่เด็กมีภายใต้การแนะนาของครู” เซย์เลอร์และอเล็กซานเดอร์ (Saylor&Alexander,1974:6)ได้กล่าวถึงความหมายของหลักสูตรว่า “ เ ป็ น แ ผ น ส า ห รั บ จั ด โ อ ก า ส ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ แ ก่บุ ค ค ล ก ลุ่ ม ใ ด ก ลุ่ ม ห นึ่ ง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้โรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ” ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดของทาบา ( Taba,1962:10) ที่ ก ล่ า ว ไ ว้ ว่ า “ ห ลั ก สู ต ร คื อ แผนการเรียนรู้ที่ประกอบด้วยจุดประสงค์และจุดมุ่ง หมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนื้ อหา วิธีการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล” เช ฟ เว อ ร์ แ ล ะ เ บ อ ร์ เ ล ค ( Shaver and berlak,1968:9) ก ล่า ว ว่า ห ลั ก สู ต ร คื อ กิจกรรมที่ครูจัดให้นักเรียนได้เล่นเพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ ท รั ม พ์ แ ล ะ มิ ล เ ล อ ร์ ( Trump and Miller,1973:11-12) ก ล่ า ว ว่ า หลักสูตรคือกิจกรรมการเรียนการสอนชนิดต่างๆ ที่เตรียมการไว้และจัดให้แก่เด็กนักเรียนหรือระบบโรงเรียน นั ก ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย ห ล า ย ท่ า น ไ ด้ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น และความหมายของคาว่าหลักสูตรไว้หลายประการเช่น สุ มิตร คุณ านุ ก ร ( 2520,2-3) ได้ใ ห้ ค วามห มาย ขอ ง ห ลั ก สู ต รไ ว้ใ น ส อ ง ระ ดับ คือห ลักสู ตรใน ระ ดับช าติและ ห ลักสู ตรใน ระ ดับโรงเรียน ห ลักสู ตรระ ดับช าติหมายถึง “โครง การใ ห้ การศึ กษาเพื่ อพัฒ น าผู้เรียน ใ ห้ มีค วามรู้ ความสามารถ และ คุณ ลักษ ณ ะ สอดคล้องกับความมุ่งหมายทางการศึกษาที่กาหนดไว้” ส่วนหลักสูตรในระดับโรงเรียนหมายถึง “โครง การที่ ป ระ มวลความรู้และ ประ สบ การณ์ ทั้ งห ลายที่ โรงเรี ยน จัดใ ห้ กับ นั กเรี ยน ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอกโรงเรียนก็ตาม เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาไปตามความมุ่งหมายที่กาหนดไว้” ธ า ร ง บั ว ศ รี ( 2532:6) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่ า คื อ แผน ซึ่ งได้ออกแบ บจัดทาขึ้ น เพื่อได้แส ดงถึง จุดมุ่งห มาย การจัดเนื้ อห าสาระ กิจกรรม
  • 7. แ ล ะ ป ร ะ ม ว ล ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น แ ต่ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ศึ ก ษ า เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการในด้านต่างๆตามจุดหมายที่ได้กาหนดไว้ เอกวิทย์ ณ ถลาง (2521:108) เขียนในบทความเรื่อง “ข้อคิดเรื่องหลักสูตร” ได้ให้ความหมายว่า หลักสูตร หมายถึง มวลประสบการณ์ทั้งหลายที่จัดให้เด็กได้เรียน เนื้อหาวิชาและทัศนคติ แบบพฤติกรรม กิ จ วั ต ร สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ฯ ล ฯ เมื่อประมวลเข้ากันแล้วก็เป็นประสบการณ์ที่ผ่านเข้าไปในการรับรู้ของเด็กถือว่าเป็นหลักสูตรทั้งสิ้น จากความหมายของหลักสูตรในลักษณะต่างๆ ที่ได้ยกตัวอย่างของระดับความคิดของ นั ก ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง ช า ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ช า ว ไ ท ย สามารถนามาสรุปแนวความคิดเกี่ยวกับความหมายของหลักสูตรเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้นได้ดังนี้ 3.1.1. หลักสูตรในฐานะที่เป็นวิชาและเนื้อหาสาระที่จัดให้แก่ผู้เรียน หลักสูตรในฐานะที่เป็นวิชาและเนื้อหาสาระนั้นหมายถึงวิชาและเนื้อหาสาระที่กาหนดให้ผู้เรียนต้องเ รียน ในชั้นและระดับต่างๆ หรือกลุ่มวิชาที่จัดขึ้นด้วยวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ ง เช่น หลักสูตรเตรียมแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์ หลักสูตรธุรกิจ หลักสูตรตัดเสื้อและหลักสูตรการเลี้ยงสุกร จ า ก อ ดี ต ตั้ ง แ ต่ เ ริ่ ม มี ห ลั ก สู ต ร จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น นี้ แน วคิดที่สาคัญ ของความห มายของหลักสู ตรก็ยังคงเป็ น วิช าและเนื้ อห าวิช าที่ครู สอน ใ ห้ แ ล ะ นั ก เ รี ย น ใ ช้ เ รี ย น ใ น ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ แม้จะได้มีความพยายามที่จะทาให้หลักสูตรมีความหมายที่กว้างและแตกต่างไปจากเดิมแต่แนวความคิดเกี่ยวกับ ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น วิ ช า และเนื้อหาที่จัดให้แก่ผู้เรียนก็ยังคงฝังแน่นและเป็นพื้นฐานสาคัญในการจัดหลักสูตร 3.1.2. หลักสูตรในฐานะที่เป็นเอกสารหลักสูตร กลุ่มหนึ่ งจัดให้จัดให้อีกกลุ่มหนึ่ ง ประกอบด้วยจุดหมาย หลักการ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ อัตราเวลาเรียน กิจกรรมประสบการณ์ และการประเมินผลการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีรู้ความสามารถ มีเจตคติที่ดีใ น การอยู่ร่วมกัน มีพ ฤติกรรมตามที่ กาหน ดไว้ใน จุดมุ่ง หมายของห ลักสู ตร แนวคิดนี้จะเน้นหลักสูตรในฐานะที่เป็นเอกสารเป็นรูปเล่ม ซึ่งจาแนกเป็น 2ประเภท คือ เอกสารหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร เอกสารหลักสูตรเป็นเอกสารที่กล่าวถึงสาระของหลักสูตรโดยตรง คือกล่าวถึงจุดมุ่งหมายหลักการ โครงสร้าง และเนื้อหาที่จัดไว้ในหลักสูตรนั้นๆ เช่น หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521
  • 8. (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2533) หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิตสาขาวิศวกรรมเครื่องกล หลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต เป็นต้น ส่วนเอกสารประกอบห ลักสูตร เป็ นเอกสารที่อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ของหลักสูตรเพื่อให้การนาหลักสูตรไปใช้ได้ผลตามความมุ่งหมาย ตัวอย่างเอกสารประกอบหลักสูตรได้แก่ คู่มือหลักสูตร คู่มือครูเกี่ยวกับหลักสูตร แผนการสอนกลุ่มวิชาต่างๆ หรือคู่มือการประเมินผลการเรียน 3.1.3. หลักสูตรในฐานะที่เป็นกิจกรรมต่าง ๆที่จะให้แก่ผู้เรียน แ น ว คิ ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ที่จัดให้แก่ผู้เรียนนี้ เป็ น การมองห ลักสูตรในลักษณะของกิจกรรมต่างๆ ที่ครูและนักเรียนจัดขึ้น หรือกิจกรรมการเรียนการสอนชนิดต่างๆ ที่เตรียมไว้และจัดให้แก่ผู้เรียนโดยโรงเรียนทั้งในและนอกโรงเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ประสบการณ์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่กาหนด กิจกรรมต่างๆ ที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่สาคัญ เพราะจะนาไปสู่ประสบการณ์ทางด้านความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ ทักษะต่างๆ อันแสดงถึงการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ควรจัดให้แก่ผู้เรียนจะต้องปรากฏอยู่ในหลักสูตรอย่างชัดเจน หลักสูตรหมายถึงกิจกรรมต่างๆที่จัดให้ผู้เรียน 3.1.4. หลักสูตรในฐานะแผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่คาดหวังแก่นักเรียน แนวคิดของหลักสูตรในฐานะแผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่คาดหวังแก่นักเรีย นนี้ จะเป็นแผนในการจัดการศึกษาเพื่อแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ โดยมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ต า ม ที่ ก า ห น ด แผนสาหรับจัดโอกาสทางการศึกษาจะแสดงเกี่ยวกับจุดหมายหรือจุดประสงค์ของการออกแบบหลักสูตร ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล แผนนี้สร้างขึ้นตามประเภทสถานการณ์หรือกลุ่มบุคคลในระดับการศึกษาต่างๆ เช่น หลักสูตรก่อนวัยเรียน หลักสู ตรป ระ ถมศึกษา หลักสู ตรอุดมศึกษา หรื ออาจห มายถึง กลุ่มของแผน ย่อยต่าง ๆ ที่ทาให้ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่คาดหวัง 3.1.5. หลักสูตรในฐานะที่เป็นมวลประสบการณ์ แนวคิดของหลักสูตรในฐานะที่เป็ นประสบการณ์ของผู้เรียนนั้น หมายถึงประสบการณ์ ทุกอย่างของนักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบของโรงเรียน รวมถึงเนื้อหาวิชาที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนด้วย แ น ว คิ ด นี้ เ กิ ด จ า ก ส า เ ห ตุ 2 ป ร ะ ก า ร คื อ ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง การไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของหลักสูตรในความหมายแคบที่ไม่ส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการรอบด้านขึ้นในตัวผู้เรีย น ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง การสอนของครูที่ยึดหนังสือเรียนและเนื้ อหาสาระมากเกิน ไปทาให้การสอนจืดชืดไม่มีชีวิตชีวา
  • 9. โรงเรียนจึงควรจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ต่างๆ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด ได้กระทา ได้แก้ปั ญ หา และ ค้น พ บ ด้วยตน เอง การจัด ห ลักสู ตรจึงควรพิจารณ าถึง ประ สบ การณ์ ทุกด้านที่พึ่งมีของผู้เรียน ความหมายของหลักสูตรตามแนวคิดนี้ครอบคลุมความรู้และประสบการณ์ทุกอย่างที่อยู่ในความรับผิด ชอบโรง เรียน ที่จัดให้แก่ผู้เรียน เพื่อพัฒ น าผู้เรียน ให้เป็ น ไปตามจุดมุ่ง หมายที่กาหน ดไว้ แนวคิดในความหมายของหลักสู ตรดังกล่าวนี้ เป็ น ความหมายใน แน วกว้างและ สมบูรณ์ที่สุ ด เพราะครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในความรับผิดชอบของโรงเรียน 3.1.6. หลักสูตรในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทาง แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เป็ น จุ ด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง นั้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ สั ง ค ม มุ่ ง ห วั ง ห รื อ ค า ด ห วั ง ใ ห้ เ ด็ ก ไ ด้ รั บ ก ล่ า ว คื อ ผู้ที่ศึกษาจนจบหลักสูตรไปแล้วจะมีคุณลักษณะอย่างไรบ้างจะเกิดผลอย่างไรในตัวผู้เรียน บ้าง แนวคิดนี้มองหลักสูตรในฐานะที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวังที่จะเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ ดังนั้น การจัดการหลักสูตร การกาหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระกระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล จาต้องศึกษาและวางแผนให้สอดคล้องสัมพันธ์ซึ่งกันและกันด้วย 3.1.7. หลักสูตรในฐานะที่เป็นระบบการเรียนการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน แ น ว คิ ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น ร ะ บ บ ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น นั้ น เป็นการมองหลักสูตรในฐานะที่เป็นแผนการเตรียมโอกาสของการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่จัดขึ้นโดยโรงเรียน ห รื อ ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ที่ ก า ห น ด ไ ว้ เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้าโดยรวมเอาแผนย่อยๆ ที่เป็นโอกาสของการเรียนรู้ที่คาดหวังเข้าไว้ด้วยกัน แผนงานนั้นมิได้เกิดขึ้นอย่างลอยๆแต่จะมีการวางแผนสาหรับสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้น แผนงานจึงถูกกาหนดขึ้นเพื่อผู้เรียนโดยโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาที่รับผิดชอบในการจัดโอกาสทางการศึก ษาให้แก่ผู้เรียน จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ข้ า ง ต้ น จ ะ เ ห็ น ว่ า ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร มี ก า ร ข ย า ย ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ซึ่งสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ยุ ค ส มั ย ห รื อ ก า ล เ ว ล า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่า แ ต่ ล ะ ยุ ค แ ต่ ล ะ ส มั ย มนุษย์เล็งเห็นคุณค่าและใช้ประโยชน์จากการศึกษาต่างๆ กัน 2. ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น ป รั ช ญ า แ ล ะ จิ ต วิ ท ย า ก า ร ศึ ก ษ า ความเชื่อปรัชญาที่เปลี่ยนไปทาให้ความหมายของหลักสูตรเปลี่ยนไป เช่น ถ้าเชื่อในปรัชญาจิตนิยม
  • 10. และช่วงที่จิตวิทยายังไม่เข้ามามีบทบาททางการศึกษาความหมายของหลักสูตรก็คือเนื้อหาวิชาที่ให้เด็กเรียน ต่อมาเมื่อมีความเชื่อในปรัชญาพิพัฒนาการนิ ยม และมีจิตวิทยาเข้ามามีบทบาททางการศึกษา ความหมายของหลักสูตรก็เปลี่ยนเป็นกิจกรรมหรือมวลประสบการณ์ทั้งหลายที่จัดให้แก่เด็ก 3. ส ภ า พ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ตลอดจนลัทธิการปกครองก็เป็นตัวกาหนดความหมายของหลักสูตรด้วยส่วนหนึ่ง 3.2 คุณสมบัติของหลักสูตร คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ห ม า ย ถึ ง ธรรมชาติหรือลักษณะของหลักสูตรว่าเป็นอย่างไรซึ่งอาจหมายรวมถึงข้อตกลงหรือข้อยอมรับเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ ของหลักสูตร คุณสมบัติหรือกฎเกณฑ์ของหลักสูตรมีดังนี้ 3.2.1. ห ลั ก สู ต ร มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น พ ล วั ต ( Dynamis) แ ล ะ เป ลี่ ย น ไ ป ต า ม ค ว าม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ ค ว าม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม อ ยู่เส ม อ คุณสมบัติข้อนี้แสดงว่าประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้แก่ผู้เรียนจะไม่ซ้าเหมือนเดิม แต่จะเปลี่ยนแปลงและเพิ่มอยู่เสมอ โดยจะเปลี่ยนแปลงในลักษณะค่อยเป็ นค่อยไปตามความจาเป็ น เนื้ อห าส าระ และ กิจกรรมใ ดยัง เส น อเป้ าห มายและ จาเป็ น ต่อผู้เรี ยน และ สัง คมก็คง ไว้ ในบางครั้งอาจจะคงเนื้อหาสาระไว้อย่างเดิม แต่การจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆ อ า จ จ ะ ต้ อ ง ป รั บ ป รุ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ สี ย ใ ห ม่ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม เพราะกิจกรรมหรือประสบการณ์ที่จัดให้แก่ผู้เรียนซึ่งเคยเหมาะสมเพียงพอในระยะเวลาหนึ่งและสถานการณ์ห นึ่ ง อาจจะ ไม่เห มาะ ส มและ เพี ยง พ อ ใ น อีกระ ยะ เวลาห นึ่ ง แล ะ อีกส ถาน การณ์ ห นึ่ ง เพราะฉะนั้นหลักสูตรจึงมีการเปลี่ยนแปลงอันเป็นคุณสมบัติที่เด่นชัดประการณ์หนึ่ง 3.2.2. ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ต่ อ เ นื่ อ ง คุ ณ ส ม บั ติ ข้ อ นี้ มี ลั ก ษ ณ ะ ใ ก ล้ เ คี ย ง แ ล ะ เ ส ริ ม ข้ อ แ ร ก คื อ หลักสูตรมีการเปลี่ยนต่อเนื่ องกันไปตามความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เพราะฉะนั้นกระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องเป็นวัฏจักรในกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มี การเป ลี่ยน แปลง รวมอยู่ด้วย ห ลัก สู ตรเป็ น สิ่ ง ที่ ควรได้รับก ารปรับป รุ งแก้ไขอ ยู่เสม อ เพ ราะ หลักสู ตรที่ ดี ควรตอบ สน องต่อสั งคม และ เมื่อสั งคมเปลี่ยน แปลง อยู่ตลอดเวล า ห ลั ก สู ต ร จึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม ไ ป ด้ ว ย
  • 11. เพื่อที่จะ ให้กระบวน การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรเป็ น กระบวน การต่อเนื่องอย่างแท้จริง จึงจาเป็นต้องมีองค์ประกอบหรือหน่วยงานเฉพาะรับผิดชอบงานดังกล่าวต่อเนื่องกันไปการเปลี่ยนแปลงหลักสู ตรแต่ละ ครั้ ง ไม่จาเป็ น ต้องเปลี่ยน กิจกรรมและป ระ สบการณ์ ทุกช นิ ดใ น คราวเดียวกัน ถ้ า ห า ก สั ง ค ม เ อ ง มิ ไ ด้ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ร ว ด เ ร็ ว อ ย่า ง ห น้ า มื อ เ ป็ น ห ลั ง มื อ ข้ อ สั ง เ ก ต จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร แ ต่ ล ะ ค รั้ ง จ ะ พ บ ว่ า เนื้ อห าสาระ และ กิจกรรมทั้ง ห ล ายของ การเรี ยน กา รส อน จะ ซ้ าข อง เดิม เกิน กว่า 80% เพ ราะ ใน การปรับปรุงตัวหลักสู ตรแต่ละ ครั้งเราอาจจะ เปลี่ยน จุดมุ่งห มายบางประการให ม่ และปรับปรุงโครงสร้างของหลักสูตรซึ่งได้แก่การให้น้าหนักความสาคัญของกิจกรรมหรือเนื้อหาสาระเสียใหม่ แต่กิจกรรมและเนื้อหาสาระของวิชาต่างๆ หรือตาราที่มีอยู่เดิมก็อาจสามารถสนองจุดมุ่งหมายใหม่ได้ ถ้ากิจกรรมหรือเนื้อหาใดไม่สนองจุดมุ่งหมายดังกล่าวก็ปรับปรุงสิ่งเหล่านั้นเสียใหม่เป็นกรณีๆ ไป 3.2.3. ห ลั ก สู ต ร ไ ม่ ส า ม า ร ถ แ ส ด ง กิ จ ก ร ร ม ห รื อ ก ร ะ ท ากิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ตั ว ข อ งมั น เอ งได้ จึง จ าเป็ น ต้ อ งใช้ กิ จ ก รรม ห รื อ ก าร ก ระท าอย่ างอื่ น ม าช่ ว ย เช่น การพัฒ น าห ลัก สู ตร การจัด ท าห ลัก สู ตร การป รับ ป รุ ง ห ลักสู ต ร ก ารส ร้ าง ห ลัก สู ต ร เพราะฉะนั้นหลักสูตรจึงทาหน้าที่เป็นผู้กระทาอยู่ตลอดเวลา 3.3 ความสาคัญของหลักสูตร ห ลัก สู ต รเป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ อัน ส าคัญ ยิ่ ง อ ย่าง ห นึ่ ง ข อ ง ก ารจัด ก าร ศึ ก ษ า ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ร ะ ดั บ ใ ด ก็ ดี จ ะ ข า ด ห ลั ก สู ต ร ไ ป มิ ไ ด้ เพราะหลักสูตรจะเป็นโครงร่างกาหนดไว้ว่าจะให้เด็กได้รับประสบการณ์อะไรบ้างจึงจะเป็นประโยชน์ต่อเด็กแ ล ะ สั ง ค ม ห ลั ก สู ต ร เป็ น แ น ว ท าง ที่ จ ะ ส ร้ า ง ค ว าม เ จ ริ ญ เติ บ โ ต ใ ห้ แ ก่ผู้ เ รี ย น นอกจากนี้หลักสูตรยังเป็นเครื่องชี้ให้เห็นโฉมหน้าของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไรอีกด้วย นั ก ก าร ศึ ก ษ าช าว อ เม ริ กัน ไ ด้ ก ล่า ว เน้ น ค ว าม ส า คัญ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่า “หลักสูตรเสมือนเครื่องนาทางให้เด็กไปสู่จุดมุ่งหมาย หลักสูตรไม่ใช่เป็นแต่เพียงแนวทางการเรียนเท่านั้น ยั ง ร ว บ ร ว ม ร า ย ก า ร แ ล ะ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ ไ ว้ อี ก ด้ ว ย หลักสูตรไม่ใช่เนื้อหาวิชาแต่เป็นกิจกรรมทั้งหมดที่นาเข้ามาในโรงเรียน” ในการจัดการศึกษาที่จะบรรลุเป้าหมายได้นั้นต้องอาศัยหลักสูตรเป็นเครื่องมือนาไปสู่การบรรลุเป้าห ม า ย ดั ง ก ล่ า ว ถ้ า ป ร า ศ จ า ก ห ลั ก สู ต ร เ สี ย แ ล้ ว การจัดการศึกษาจะไม่มีวันสาเร็จลุล่วงไปตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาที่กาหน ดไว้ได้เลย
  • 12. หลักสูตรจึงเปรียบเสมือนหัวใจสาคัญของการจัดการศึกษาทีเดียว ซึ่ง ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ ( 2539: 11) ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง เ รื่ อ ง นี้ ไ ว้ ว่า ก า ร ที่ จ ะ ท ร า บ ว่า ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ จ ะ ดี ห รื อ ไ ม่ดี ส าม า ร ถ ดู จ า ก ห ลัก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ าใ น ร ะ ดั บ นั้ น ๆ ข อ ง ป ร ะ เท ศ เพราะหลักสูตรเป็นเครื่องมือในการปรับปรุงจุดมุ่งหมายและนโยบายทางการศึกษาของชาติเข้าสู่การปฏิบัติในส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ หลักสูตรจะเป็นเสมือนกับหางเสือที่จะคอยกาหนดทิศทางให้การเรียนการสอนเป็นไปตามความมุ่งหมายของกา ร ศึ ก ษ า ห รื อ ก ล่ า ว อี ก นั ย ห นึ่ ง คื อ หลักสูตรเป็นเครื่องชี้นาทางในการจัดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้เรียนซึ่งครูจะต้องปฏิบัติตามเพื่อให้ผู้เรียนไ ด้รับ ก ารศึก ษ าที่ มุ่ง สู่จุดห มายเดี ยวกัน ห ลัก สู ตรจึ ง เป็ น หั วใ จส าคัญ ข อ ง การศึ กษ า แ ล ะ เ ป็ น เค รื่ อ ง ชี้ ถึ ง ค ว ามเจ ริ ญ ข อ ง ช าติ ถ้าป ร ะ เท ศ ใ ด มี ห ลัก สู ต ร ที่ เ ห มาะ ส ม ทั น ส มั ย แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ค น ใ น ป ร ะ เ ท ศ นั้ น ก็ ย่ อ ม มี ค ว า ม รู้ มีคุณภาพและศักยภาพในการพัฒนาประเทศได้อย่างเต็มที่ จากความสาคัญของหลักสูตรดังกล่าว พอสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1. หลักสูตรเป็นเสมือนเบ้าหลอมพลเมืองให้มีคุณภาพ 2. หลักสูตรเป็นมาตรฐานของการจัดการศึกษา 3. หลักสูตรเป็นโครงการและแนวทางในการให้การจัดการศึกษา 4. ในระดับโรงเรียนหลักสูตรจะให้แนวการปฏิบัติแก่ครู 5. หลักสูตรแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของเด็กตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา 6. ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น เค รื่ อ ง ก า ห น ด แ น ว ท าง ใ น ก า ร จัด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ว่า ผู้เรียนและสังคมควรจะได้รับสิ่งใดบ้างที่จะเป็นประโยชน์แก่เด็กโดยตรง 7. ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ก า ห น ด ว่ า เนื้อหาวิชาอะไรบ้างที่จะช่วยให้เด็กมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างราบรื่น เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ และบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม 8. ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ก า ห น ด ว่ า วิธีการดาเนินชีวิตของเด็กให้เป็นไปด้วยความราบรื่นและผาสุกเป็นอย่างไร 9. หลักสูตรย่อมทานายลักษณะของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร
  • 13. 10. ห ลัก สู ต รก าห น ด แ น ว ท า ง ค ว า มรู้ ค ว าม ส าม าร ถ ค ว าม ป ร ะ พ ฤ ติ ทั ก ษ ะ แ ล ะ เ จ ต ค ติ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ที่ จ ะ อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น สั ง ค ม และบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและชาติบ้านเมือง 3.4 องค์ประกอบของหลักสูตร (Curriculum Component) อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต า ม ห ลั ก สู ต ร อ า จ จ ะ แ ต ก ต่า ง กัน บ้ าง ใ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ต่ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ป ร ะ เ ด็ น ห รื อ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ส าคั ญ เ ห มื อ น กัน อ ย่า ง ค ร บ ถ้ว น ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้หลักสูตรสามารถไปใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบที่สาคัญคือ 3.4.1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims) จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ห ม า ย ถึ ง ความตั้งใจหรือความคาดหวังที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้ที่จะผ่านหลักสูตรจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีความสาคั ญเพราะเป็นตัวกาหนดทิศทางและขอบเขตในการศึกษาแก่เด็กช่วยในการเลือกเนื้อหาและกิจกรรม ตลอดจนใช้เป็นมาตรการอย่างหนึ่งในการประเมินผล จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร ศึ ก ษ า มี ห ล า ย ข อ ง ร ะ ดั บ ไ ด้ แ ก่ จุดมุ่งหมายหลายระดับหลักสูตรซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่บอกให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรู้เป้าหมายของหลักสูตรนั้นๆ จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก ลุ่ ม วิ ช า วิชาแต่ละกลุ่มจะสร้างคุณลักษณะที่แตกต่างกันให้กับผู้เรียนดั้งนั้นแต่ละกลุ่มวิชาจึงมีจุดมุ่งหมายไว้ต่างกัน จุดมุ่ง ห มายรายวิช าเป็ น จุด ห มายที่ ล ะ เอี ยดจ าเพ าะ เจาะ จง กว่าจุด มุ่ง ห มายก ลุ่มวิช า ผู้สอนกลุ่มรายวิชาจะกาหนดจุดมุ่งหมายในการสอนเนื้อหาแต่ละบทแต่ละตอนขึ้นในรูปของจุดมุ่งหมายเชิงพฤ ติ ก ร ร ม แม้ว่าจุดมุ่งหมายทางการศึกษาจะมีระดับดังกล่าวแล้วจุดมุ่งหมายหลายระดับย่อมสอดคล้องกันและนาไปสู่จุดห มายปลายทางเดียวกัน 3.4.2. เนื้อหา(Content) เมื่ อ ก า ห น ด จุ ด มุ่ง ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร แ ล้ ว กิ จ ก ร ร ม ขึ้ น ต่ อ ไ ป นี้ การเลือกเนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่คาดว่าจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาไปสู่จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ โดยดาเนิ น การตั้งแต่การเลือกเนื้ อห าสาระ และประ สบการณ์ การเรียงลาดับเนื้ อหาสาระ พร้อมทั้งการกาหนดเวลาเรียนที่เหมาะสม 3.4.3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum implementation)
  • 14. เป็นการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่นการจัดทาวัสดุหลักสูตร ได้แก่ คู่มือครู เอกสารหลักสูตร แผนการสอน แนวการสอน และแบบเรียน เป็นต้น การจัดเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดโต๊ะ เก้าอี้ ห้องเรียน วัสดุอุปกรณ์ในการเรียน จานวนครูและสิ่งแวดล้อมอานวยความสะดวกต่างๆ การดาเนินการสอน เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ใ น ขั้ น ต อ น ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ เพ ร า ะ ห ลั ก สู ต ร จ ะ ไ ด้ ผ ล ห รื อ ไ ม่ขึ้ น อ ยู่กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ในด้านการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้การวัดและประเมินผล จิตวิทยาการสอน ตลอดทั้งปรัชญาการศึกษาของแต่ละดับ จึงทาให้การเรียนของผู้เรียนบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร 3.4.4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation) ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร คื อ ก า ร ห า ค า ต อ บ ว่ า หลักสูตรสัมฤทธิ์ผลตามที่กาหนดในจุดมุ่งหมายหรือไม่ มากน้อยเพียงใด และอะไรเป็ นสาเหตุ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ง า น ใ ห ญ่ แ ล ะ มี ข อ บ เ ข ต ก ว้ า ง ข ว า ง ผู้ประเมินจาเป็นต้องวางโครงการประเมินผลไว้ล่วงหน้า 3.5 ลักษณะของหลักสูตรที่ดี ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น แ น ว ท า ง ส า คั ญ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ลักษณะของหลักสูตรที่ดีจะนาไปสู่การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และเกิดสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษา หลักสูตรที่ดีควรมีดังนี้ 1) ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษา 2) ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ 3) ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีเอกลักษณ์ของชาติ 4.)มีเนื้อหาสาระเรื่องที่สอนเพียงพอที่จะช่วยให้นักเรียนคิดเป็นและมีพัฒนาในการทุกด้าน 5) ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ข อ ง ผู้ เ รี ย น คื อ จั ด วิ ช า ทั ก ษ ะ และวิชาเนื้อหาให้เหมาะสมกันในที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญงอกงามทุกด้าน 6) หลักสูตรที่ดีควรสาเร็จขึ้นด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย เพื่อจะให้ผลดีควรจัดให้เป็นคณะกรรมการ 7) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี จ ะ ต้ อ ง ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้ เ รี ย น รู้ ต่ อ ไ ป และจะต้องเรียงลาดับความยากง่ายไม่ให้ขาดตอนจากกัน 8) หลักสูตรที่ดีจะต้องเป็นประสบการณ์ที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของเด็กเพื่อให้เด็กได้มีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิต เพื่อให้เป็นอยู่อย่างผาสุก
  • 15. 9) หลักสูตรที่ดีจะต้องเพิ่มพูนและส่งเสริมทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นของเด็ก 10) ห ลัก สู ตร ที่ ดีย่อ มส่ง เส ริ มใ ห้ เด็ก เกิด ค วาม รู้ ทั กษ ะ เจต คติ ค วามคิ ดริ เริ่ ม มีความคิดสร้างสรรค์ในการดาเนินชีวิต 11) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี จ ะ ต้ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก ท า ง า น เ ป็ น อิ ส ร ะ และทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะเพื่อพัฒนาให้รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย 12) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี ย่ อ ม บ อ ก แ น ว ท า ง วิ ธี ส อ น และสื่ออุปกรณ์ประกอบเนื้อหาสาระที่สอนไว้อย่างเหมาะสม 13) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี ย่ อ ม มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า เพื่อทราบข้อบกพร่องในการที่จะนาไปปรับปรุงให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป 14) หลักสูตรที่ดีจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจและมีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ 15) หลักสูตรที่ดีต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักแก้ปัญหา 16) หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อชีวิตของเด็ก 17) ห ลั ก สู ต ร ที่ ดี ต้ อ ง จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ห ล า ย ๆ อ ย่า ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกอย่างเหมาะสมตามความสนใจ ความต้องการ และความสามารถของแต่ละบุคคล 18) หลักสูตรที่ดีจะต้องวางกฎเกณฑ์ไว้อย่างเหมาะสมแก่การนาไปปฏิบัติและสะดวกแก่การวัดและประเมินผล สรุป(Summary) ห ลั ก สู ต ร มี ค ว า ม ส า คั ญ ยิ่ ง ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เป็ น สิ่งที่ชี้ ให้เห็ น แน วทางใน การจัดประสบการณ์แก่ผู้เรียน อัน เปรียบเสมือน แผน ที่หรื อ เ ข็ ม ทิ ศ ที่ จ ะ น า ท า ง ใ น ก า ร วั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ บ ร ร ลุ ผ ล หลักสูตรที่ดีจะต้องมีความชัดเจนเหมาะสมกับผู้เรียนและสังคมซึ่งจะทาให้การนาหลักสูตรไปใช้หรือการจัดกา รเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพราะฉะนั้นในการจัดทาหรือการพัฒนาหลักสูตรจึงควรถือเป็นงาน สาคัญ ที่ ทุ ก ฝ่ ายต้อ ง ร่วมมือร่วมใ จกัน ด าเนิ น การเพื่ อ ใ ห้ ได้ห ลัก สู ตรใ น ระ ดับ ต่าง ๆ ที่ดีเพราะถ้าเรามีหลักสูตรที่ดีถูกต้องเหมาะสมการเดินทางไปสู่จุดหมายปลายทางในเรื่องการศึกษาจะเป็นไปโด ยราบรื่นสามารถสร้างลักษณะสังคมที่ดีในอนาคตโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมืออย่างเต็มภาคภูมิ ตรวจสอบทบทวน(Self-Test)
  • 16. 1. การศึกษาถือเป็นเครื่องมือการพัฒนามนุษย์ หลักสูตรเกี่ยวข้องกับอย่างไร 2. หลักสูตรมีความสาคัญหรือจาเป็นต่อการศึกษาหรือไม่ อย่างไร กิจกรรม(Activity) 1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง การพัฒนามนุษย์ การศึกษา การเรียนรู้และหลักสูตร 2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจาก สุเทพ อ่วมเจริญ การพัฒนาหลักสูตร : ทฤษฎีและการปฏิบัติ “การพัฒนาหลักสูตร :นิยาม ความหมาย” 3. อุปมาอุปมัย :เมื่อการศึกษาเปรียบได้กับเครื่องมือการพัฒนามนุษย์ หลักสูตรเปรียบได้กับสิ่งใด 4. แลกเปลี่ยนแนวคิดกับเพื่อนนักศึกษา หรือผู้รู้ในประเด็น กฏหมายการศึกษา ที่เรียกว่า พระราชบัญญัติการศึกษา การศึกษา และการพัฒนา แนวคิดจากต่างประเทศ