SlideShare a Scribd company logo
1 of 921
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓
ตอนที่ ๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิม
นิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
ขอนอบน้อมแ ด่พระผู้มีพระภาคอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
คหบดีวรรค
๑. กันทรกสูตร
ประทานพระโอวาทแก่กันทรกปริพา
ชก
[๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ฝั่งสระโบกขรณี ชื่อ
คัคครา เขตนครจำาปา
พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่. ครั้งนั้น บุตรนายหัตถาจารย์ชื่อ
เปสสะ และปริพาชกชื่อกันทรกะ
เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว นายเปสสหัต
ถาโรหบุตร ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วน
ข้างหนึ่ง. ส่วนกันทรกปริพาชกได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค
ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่
ควรส่วนข้างหนึ่ง. แล้วเหลียวดู
ภิกษุสงฆ์ผู้นิ่งเงียบอยู่ แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า น่า
อัศจรรย์ ท่านพระโคดม ไม่เคยมี
ท่านพระโคดม เพียงเท่านี้ ท่านพระโคดมชื่อว่าทรงให้ภิกษุสงฆ์
ปฏิบัติชอบแล้ว ท่านพระโคดม
พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด ได้มีแล้วในอดีตกาล แม้
พระผู้มีพระภาคเหล่านั้น ก็ทรง
ให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านี้ เหมือนท่านพระ
โคดมทรงให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบ
ในบัดนี้ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด จักมีใน
อนาคตกาล แม้พระผู้มีพระภาคเหล่านั้น
ก็จักทรงให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านั้น
เหมือนท่านพระโคดมทรงให้ภิกษุสงฆ์
ปฏิบัติชอบในบัดนี้.
[๒] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรกันทรกะ ข้อนี้เป็นอย่างนั้น
ดูกรกันทรกะ ข้อนี้
เป็นอย่างนั้น พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด ได้มีแล้วใน
อดีตกาล แม้พระผู้มีพระภาค
เหล่านั้น ก็ทรงให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านี้
เหมือนเราให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบ
ในบัดนี้.
ดูกรกันทรกะ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด จักมีใน
อนาคตกาล แม้พระผู้มีพระภาคเหล่านั้น ก็จักทรงให้ภิกษุสงฆ์
ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านี้ เหมือนเราให้ภิกษุสงฆ์
ปฏิบัติชอบในบัดนี้.
ดูกรกันทรกะ ก็ในภิกษุสงฆ์นี้ ภิกษุทั้งหลายผู้อรหันต
ขีณาสพอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว
มีกิจที่ควรทำา ทำาเสร็จแล้ว ปลงภาระเสียแล้ว มีประโยชน์ตนถึง
แล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นรอบ
แล้ว หลุดพ้นแล้ว เพราะรู้โดยชอบ มีอยู่ ดูกรกันทรกะ อนึ่ง ใน
ภิกษุสงฆ์นี้ ภิกษุทั้งหลาย
ผู้ยังต้องศึกษา มีปกติสงบ มีความประพฤติสงบ มีปัญญาเลี้ยง
ชีพด้วยปัญญามีอยู่ เธอเหล่านั้น
มีจิตตั้งมั่นดีแล้ว ในสติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน ๔ เป็นไฉน ดูกร
กันทรกะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ
กำาจัดอภิชฌา และโทมนัส
ในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มี
สติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌา
และโทมนัสในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความ
เพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัด
อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นธรรมในธรรม
อยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ
กำาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้.
[๓] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว นายเปสสหัตถา
โรหบุตรได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า น่าอัศจรรย์
พระพุทธเจ้าข้า ไม่เคยมี พระพุทธเจ้าข้า สติปัฏฐาน ๔ นี้
พระองค์
ทรงบัญญัติไว้ดีแล้ว เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อ
ก้าวล่วงความโศกและความรำ่าไร
เพื่อความดับแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อ
ทำาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ที่จริง
แม้พวกข้าพระพุทธเจ้าเป็นคฤหัสถ์นุ่งผ้าขาว ก็ยังมีจิตตั้งมั่น
ดีแล้วในสติปัฏฐาน ๔ เหล่านี้อยู่ตาม
กาลที่สมควร ขอประทานพระวโรกาส พวกข้าพระพุทธเจ้า
พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร
มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่
มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌาและโทมนัสใน
โลกเสียได้ พิจารณาเห็นธรรม
ในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌาและ
โทมนัสในโลกเสียได้
น่าอัศจรรย์ พระพุทธเจ้าข้า ไม่เคยมี พระพุทธเจ้าข้า เพียงเท่านี้
พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาค
ชื่อว่าย่อมทรงทราบประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ของสัตว์ทั้ง
หลาย ในเมื่อมนุษย์รกชัฎเป็นไปอยู่
อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์เดนกาก เป็นไปอยู่อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์
โอ้อวด เป็นไปอยู่อย่างนี้
ก็สิ่งที่รกชัฏ ๑- คือมนุษย์ สิ่งที่ตื้น ๒- คือสัตว์ พระพุทธเจ้าข้า
ด้วยว่าข้าพระพุทธเจ้าสามารถ
จะให้ช้างที่พอฝึกแล้วแล่นไปได้ ช้างนั้นจักทำานครจำาปาให้เป็น
ที่ไปมาโดยระหว่างๆ จักทำาความ
โอ้อวด ความโกง ความคด ความงอ นั้นทั้งหมดให้ปรากฎด้วย
ส่วนมนุษย์ คือทาส คนใช้
หรือกรรมกรของข้าพระพุทธเจ้า ย่อมประพฤติด้วยกายเป็น
อย่างหนึ่ง ด้วยวาจาเป็นอย่างหนึ่ง
และจิตของเขาเป็นอย่างหนึ่ง น่าอัศจรรย์ พระพุทธเจ้าข้า ไม่
เคยมี พระพุทธเจ้าข้า เพียงเท่านี้
พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคชื่อว่าย่อมทรงทราบประโยชน์
และมิใช่ประโยชน์ ในเมื่อมนุษย์
รกชัฏ เป็นไปอยู่อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์เดนกาก เป็นไปอยู่อย่างนี้
ในเมื่อมนุษย์โอ้อวด
เป็นไปอยู่อย่างนี้ ก็สิ่งที่รกชัฏ คือมนุษย์ สิ่งที่ตื้น คือสัตว์.
บุคคล ๔ จำาพวก
[๔] พ. ดูกรเปสสะ ข้อนี้เป็นอย่างนั้น ดูกรเปสสะ ข้อนี้เป็น
อย่างนั้น ก็สิ่งที่รกชัฏ
คือมนุษย์ สิ่งที่ตื้น คือสัตว์ ดูกรเปสสะ บุคคล ๔ จำาพวกนี้มีอยู่
หาได้อยู่ในโลก ๔ จำาพวกนั้น
เป็นไฉน? ดูกรเปสสะ บุคคลบางคนในโลกนี้ ทำาตนให้เดือดร้อน
ประกอบการขวนขวายใน
การทำาตนให้เดือดร้อน.
ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบ
ความขวนขวายในการทำา
ผู้อื่นให้เดือดร้อน.
@(๑) เข้าใจยาก (๒) เข้าใจยาก
บุคคลบางคนในโลกนี้ ทำาตนให้เดือดร้อน และประกอบ
ความขวนขวายในการทำาตน
ให้เดือดร้อน ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อนและประกอบความขวนขวาย
ในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน
ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่
ประกอบความขวนขวายในการ
ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความ
ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้
เดือดร้อน.
บุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อนนั้น
ไม่มีความหิว ดับสนิท
เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน ดู
กรเปสสะ บรรดาบุคคล ๔
จำาพวกนี้ จำาพวกไหนจะยังจิตของท่านให้ยินดี?
[๕] เป. พระพุทธเจ้าข้า บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน ประกอบ
ความขวนขวายใน
การทำาตนให้เดือดร้อนนี้ ไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้ยินดีได้
แม้บุคคลผู้ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน
ประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ก็ไม่ยังจิต
ของข้าพระพุทธเจ้าให้ยินดีได้ แม้
บุคคลทำาตนให้เดือดร้อน และประกอบความขวนขวายในการ
ทำาตนให้เดือดร้อน ทำาผู้อื่นให้
เดือดร้อน และประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือด
ร้อน ก็ไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้า
ให้ยินดีได้ ส่วนบุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความ
ขวนขวายในการทำาตนให้
เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวาย
ในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน
บุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่มีความ
หิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น
เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน บุคคลนี้ย่อม
ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้า
ให้ยินดี.
ดูกรเปสสะ ก็เพราะเหตุไรเล่า บุคคล ๔ จำาพวกนี้ จึงยังจิต
ของท่านให้ยินดีไม่ได้?
[๖] พระพุทธเจ้าข้า บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน ประกอบ
ความขวนขวายในการทำาตน
ให้เดือดร้อนนี้ เขาย่อมทำาตนซึ่งรักสุข เกลียดทุกข์ ให้เดือดร้อน
เร่าร้อน ด้วยเหตุนี้
บุคคลนี้จึงไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้ยินดีได้ แม้บุคคลผู้ทำา
ผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบความ
ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เขาก็ย่อมทำาผู้อื่นซึ่งรัก
สุข เกลียดทุกข์ ให้เดือดร้อน
เร่าร้อน ด้วยเหตุนี้ บุคคลนี้จึงไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้
ยินดีได้ แม้บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน
และประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน ทำาผู้อื่น
ให้เดือดร้อน และประกอบความ
ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เขาก็ย่อมทำาตนและผู้อื่น
ซึ่งรักสุข เกลียดทุกข์ให้เดือดร้อน
เร่าร้อน ด้วยเหตุนี้ บุคคลนี้จึงไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้
ยินดีได้ ก็แลบุคคลผู้ไม่ทำาตนให้
เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน
ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่
ประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เขาไม่ทำา
ตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาให้ผู้อื่น
เดือดร้อน ไม่มีความหิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มี
ตนเป็นดังพรหมอยู่ใน
ปัจจุบันนี้ ด้วยเหตุนี้ บุคคลนี้ ย่อมยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้
ยินดีได้ พระพุทธเจ้าข้า
ข้าพระพุทธเจ้าจะไป ณ บัดนี้ ข้าพระพุทธเจ้ามีกิจมาก มีธุระที่
ต้องทำามาก .
ดูกรเปสสะ บัดนี้ ท่านจงทราบกาลอันควรเถิด .
ลำาดับนั้น นายเปสสหัตถาโรหบุตร ชื่นชม อนุโมทนาภาษิต
พระผู้มีพระภาค ลุกจากอาสนะ
ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค กระทำาประทักษิณ แล้วหลีกไป.
[๗] ครั้งนั้น เมื่อนายเปสสหัตถาโรหบุตรหลีกไปไม่นาน พระ
ผู้มีพระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย นายเปสสหัตถาโรหบุตร
เป็นบัณฑิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย
นายเปสสหัตถาโรหบุตรมีปัญญามาก ถ้านายเปสสหัตถาโรห
บุตรพึงนั่งอยู่ครู่หนึ่ง ชั่วเวลาที่เรา
จำาแนกบุคคล ๔ จำาพวกนี้โดยพิสดารแก่เขา เขาจักเป็นผู้
ประกอบด้วยประโยชน์ใหญ่ อนึ่ง
แม้ด้วยการฟังโดยสังเขปเพียงเท่านี้ นายเปสสหัตถาโรหบุตร
ยังประกอบด้วยประโยชน์ใหญ่ พวก
ภิกษุกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาค นี้เป็นกาล ข้าแต่พระ
สุคต นี้เป็นกาลของการที่
พระผู้มีพระภาคจะพึงทรงจำาแนกบุคคล ๔ จำาพวกนี้โดยพิสดาร
ภิกษุทั้งหลายได้ฟังต่อพระผู้มี-
*พระภาคโดยพิสดารแล้วจักทรงจำาไว้.
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้น เธอ
ทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี
เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว.
[๘] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ทำา
ตนให้เดือดร้อน ประกอบ
ความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน เป็นไฉน?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นคนเปลือย
ทอดทิ้งมารยาท เลียมือ เขาเชิญ
ให้มารับภิกษาแล้วก็ไม่มา เขาเชิญให้หยุดก็ไม่หยุด ไม่ยินดีรับ
ภิกษาที่เขานำามาให้ ไม่ยินดีรับภิกษา
ที่เขาทำาเฉพาะ ไม่ยินดีรับภิกษาที่เขานิมนต์ เขาไม่รับภิกษา
ปากหม้อ ไม่รับภิกษาจากปากกระเช้า
ไม่รับภิกษาคร่อมธรณีประตู ไม่รับภิกษาคร่อมท่อนไม้ ไม่รับ
ภิกษาคร่อมสาก ไม่รับภิกษา
ของคน ๒ คนที่กำาลังบริโภคอยู่ ไม่รับภิกษาของหญิงมีครรภ์ ไม่
รับภิกษาของหญิงผู้กำาลังให้ลูก
ดูดนม ไม่รับภิกษาของหญิงผู้คลอเคลียบุรุษ ไม่รับภิกษาที่
นัดแนะกันทำาไว้ ไม่รับภิกษาในที่ที่เขา
เลี้ยงสุนัข ไม่รับภิกษาในที่มีแมลงวันไต่ตอมเป็นกลุ่ม ไม่รับปลา
ไม่รับเนื้อ ไม่ดื่มสุรา ไม่ดื่ม
เมรัย ไม่ดื่มนำ้าหมักดอง เขารับภิกษาที่เรือนหลังเดียว เยียวยา
อัตภาพด้วยข้าวคำาเดียวบ้าง
รับภิกษาที่เรือน ๒ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๒ คำาบ้าง รับ
ภิกษาที่เรือน ๓ หลัง เยียวยา
อัตภาพด้วยข้าว ๓ คำาบ้าง รับภิกษาที่เรือน ๔ หลัง เยียวยา
อัตภาพด้วยข้าว ๔ คำาบ้าง รับภิกษา
ที่เรือน ๕ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๕ คำาบ้าง รับภิกษาที่
เรือน ๖ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วย
ข้าว ๖ คำาบ้าง รับภิกษาที่เรือน ๗ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว
๗ คำาบ้าง เยียวยาอัตภาพด้วย
ภิกษาในถาดน้อยใบเดียวบ้าง ๒ ใบบ้าง ๓ ใบบ้าง ๔ ใบบ้าง ๕
ใบบ้าง ๖ ใบบ้าง ๗ ใบบ้าง
กินอาหารที่เก็บค้างไว้วันหนึ่งบ้าง ๒ วันบ้าง ๓ วันบ้าง ๔ วัน
บ้าง ๕ วันบ้าง ๖ วันบ้าง ๗ วันบ้าง
เป็นผู้ประกอบความขวนขวายในการบริโภคภัตที่เวียนมาตั้งกึ่ง
เดือน แม้เช่นนี้ด้วยประการฉะนี้อยู่
เขาเป็นผู้มีผักดองเป็นภักษาบ้าง มีข้าวฟ่างเป็นภักษาบ้าง มีลูก
เดือยเป็นภักษาบ้าง มีกากข้าว
เป็นภักษาบ้าง มีสาหร่ายเป็นภักษาบ้าง มีรำาเป็นภักษาบ้าง มี
ข้าวตังเป็นภักษาบ้าง มีข้าวไหม้
เป็นภักษาบ้าง มีหญ้าเป็นภักษาบ้าง มีโคมัยเป็นภักษาบ้าง มี
เหง้าและผลไม้ในป่าเป็นอาหาร
บริโภคผลไม้หล่นเยียวยาอัตภาพ.
เขาทรงผ้าป่านบ้าง ผ้าแกมกันบ้าง ผ้าห่อศพบ้าง ผ้าบังสุกุล
บ้าง ผ้าเปลือกไม้บ้าง
หนังเสือบ้าง หนังเสือทั้งเล็บบ้าง ผ้าคากรองบ้าง ผ้าเปลือก
ปอกรองบ้าง ผ้าผลไม้กรองบ้าง
ผ้ากำาพลทำาด้วยผมคนบ้าง ผ้ากำาพลทำาด้วยขนสัตว์บ้าง ทำาด้วย
ขนปีกนกเค้าบ้าง เป็นผู้ถอนผม
และหนวด คือประกอบความขวนขวายในการถอนผมและ
หนวดบ้าง เป็นผู้ยืน คือห้ามอาสนะบ้าง
เป็นผู้กระโหย่ง คือประกอบความเพียรในการกระโหย่ง (คือ
เดินกระโหย่งเหยียบพื้นไม่เต็มเท้า)
บ้าง เป็นผู้นอนบนหนาม คือสำาเร็จการนอนบนหนามบ้าง เป็น
ผู้อาบนำ้าวันละ ๓ ครั้ง ประกอบ
ความขวนขวายในการลงนำ้าบ้าง เป็นผู้ประกอบความขวนขวาย
ในการทำากายให้เดือดร้อน เร่าร้อน
หลายอย่างเห็นปานนี้อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้เรากล่าว
ว่า เป็นผู้ทำาตนให้เดือดร้อน
ประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน.
[๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน
ประกอบความขวนขวายในการ
ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เป็นไฉน?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ฆ่าแพะเลี้ยงชีวิต
ฆ่าสุกรเลี้ยงชีวิต ฆ่านก
เลี้ยงชีวิต ฆ่าเนื้อเลี้ยงชีวิต เป็นคนเหี้ยมโหด เป็นคนฆ่าปลา
เป็นโจร เป็นคนฆ่าโจร
เป็นคนปกครองเรือนจำา หรือบุคคลเหล่าอื่นบางพวกเป็นผู้
ทำาการงานอันทารุณ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
บุคคลนี้ เรากล่าวว่า เป็นผู้ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบความ
ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้
เดือดร้อน.
[๑๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน และ
ประกอบความขวนขวาย
ในการทำาตนให้เดือดร้อน ทำาให้ผู้อื่นเดือดร้อน และประกอบ
ความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้
เดือดร้อน เป็นไฉน?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นพระราชามหา
กษัตริย์ผู้ได้มุรธาภิกเษกแล้ว
ก็ดี เป็นพราหมณ์มหาศาลก็ดี พระราชาหรือพราหมณ์นั้น
โปรดให้ทำาโรงที่บูชายัญขึ้นใหม่ทาง
ด้านบูรพาแห่งนคร แล้วทรงจำาเริญพระเกสาและพระมัสสุ ทรง
นุ่งหนังเสือทั้งเล็บ ทรงทาพระกาย
ด้วยเนยใสและนำ้ามันงา ทรงเกาพระปฤษฎางค์ด้วยเขามฤค
เข้าไปยังโรงที่บูชายัญใหม่ พร้อมด้วย
พระมเหสีและพราหมณ์ปุโรหิต บรรทมบนพื้นดิน อันมิได้ลาด
ด้วยเครื่องลาด เขาทาด้วยโคมัย
สด นำ้านมในเต้าที่หนึ่งแห่งโคแม่ลูกอ่อนตัวเดียวมีเท่าใด พระ
ราชาทรงเยียวยาอัตภาพด้วยนำ้านม
เท่านั้น นำ้านมในเต้าที่ ๒ มีเท่าใด พระมเหสีทรงเยียวยาอัตภาพ
ด้วยนำ้านมเท่านั้น นำ้านมใน
เต้าที่ ๓ มีเท่าใด พราหมณ์ปุโรหิต ย่อมเยียวยาอัตภาพด้วย
นำ้านมเท่านั้น นำ้านมในเต้าที่ ๔ มี
เท่าใด ก็บูชาไฟด้วยนำ้านมเท่านั้น ลูกโคเยียวยาอัตภาพด้วย
นำ้านมที่เหลือ พระราชาหรือพราหมณ์
นั้นตรัสอย่างนี้ว่า เพื่อต้องการบูชายัญ จงฆ่าโคผู้ประมาณเท่า
นี้ ลูกโคผู้ประมาณเท่านี้ ลูกโคเมีย
ประมาณเท่านี้ แพะประมาณเท่านี้ ม้าประมาณเท่านี้ จงตัด
ต้นไม้ประมาณเท่านี้ เพื่อต้องการ
ทำาเป็นเสายัญ จงเกี่ยวหญ้าประมาณเท่านี้ เพื่อต้องการลาดพื้น
ชนเหล่าที่เป็นทาสก็ดี เป็นคนใช้
ก็ดี เป็นกรรมกรก็ดี ของพระราชาหรือพราหมณ์นั้น ชนเหล่า
นั้นถูกอาชญาคุกคาม ถูกภัยคุกคาม
มีนำ้าตานองหน้า ร้องไห้ ทำาการงานตามกำาหนด ดูกรภิกษุทั้ง
หลาย บุคคลนี้ เรากล่าวว่า ทำาตน
ให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน
และทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน
ประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน.
ว่าด้วยพระพุทธคุณ
[๑๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่
ประกอบความขวนขวาย
ในการทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบ
ความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้
เดือดร้อน เขาไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน
ไม่มีความหิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น
เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน เป็นไฉน?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระตถาคตเสด็จอุบัติในโลกนี้ เป็นพระ
อรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ
ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็น
สารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่น
ยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิก
บานแล้ว เป็นผู้จำาแนกพระธรรม
พระตถาคตพระองค์นั้น ทรงทำาโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก
พรหมโลก ให้รู้แจ้งชัดด้วยปัญญา
อันยิ่งของพระองค์เองแล้ว ทรงสอนหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะ
พราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ให้รู้
ตาม ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามใน
ที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์
พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง คฤหบดี
บุตรคฤหบดี หรือผู้เกิดเฉพาะ
ในตระกูลใดตระกูลหนึ่ง ย่อมฟังธรรมนั้น ครั้นฟังแล้ว ได้
ศรัทธาในพระตถาคต เมื่อได้ศรัทธา
แล้ว ย่อมเห็นตระหนักว่า ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี
บรรพชาเป็นทางปลอดโปร่ง
การที่บุคคลผู้ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ ให้
บริสุทธิ์โดยส่วนเดียวดุจสังข์ขัด
ไม่ใช่ทำาได้ง่าย ถ้ากระไร เราพึงปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาว
สาวพัสตร์ ออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิต สมัยต่อมา เขาละกองโภคสมบัติน้อยใหญ่ ละ
เครือญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและ
หนวด นุ่งผ้ากาสาวพัสตร์ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
ผู้ถึงพร้อมด้วยสิกขาและสาชีพ
[๑๒] เขาบวชอย่างนี้แล้ว ถึงพร้อมด้วยสิกขาและสาชีพ
เสมอด้วยภิกษุทั้งหลาย
๑. ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ วาง
ศาตรา มีความละอาย
มีความเอ็นดู มีความกรุณา หวังประโยชน์แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่.
๒. ละการลักทรัพย์ เว้นขาดจากการลักทรัพย์ รับแต่ของที่
เขาให้ ต้องการแต่ของ
ที่เขาให้ ไม่ประพฤติตนเป็นขโมย เป็นผู้สะอาดอยู่.
๓. ละกรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์
ประพฤติห่างไกล เว้นขาด
จากเมถุนอันเป็นกิจของชาวบ้าน.
๔. ละการพูดเท็จ เว้นขาดจากการพูดเท็จ พูดแต่คำาจริง
ดำารงคำาสัตย์ มีถ้อยคำาเป็น
หลักฐาน ควรเชื่อได้ ไม่พูดลวงโลก.
๕. ละคำาส่อเสียด เว้นขาดจากคำาส่อเสียด ฟังจากข้างนี้แล้ว
ไม่ไปบอกข้างโน้น เพื่อให้
คนหมู่นี้แตกร้าวกัน หรือฟังจากข้างโน้นแล้วไม่มาบอกข้างนี้
เพื่อให้คนหมู่โน้นแตกร้าวกัน
สมานคนที่แตกร้าวกันแล้วบ้าง ส่งเสริมคนที่พร้อมเพรียงกัน
แล้วบ้าง ชอบคนผู้พร้อมเพรียงกัน
ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน เพลิดเพลินในคนผู้พร้อมเพรียงกัน
กล่าวแต่คำาที่ทำาให้คนพร้อม
เพรียงกัน.
๖. ละคำาหยาบ เว้นขาดจากคำาหยาบ กล่าวแต่คำาที่ไม่มีโทษ
เพราะหู ชวนให้รัก จับใจ
เป็นของชาวเมือง คนส่วนมากรักใคร่ พอใจ.
๗. ละคำาเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากคำาเพ้อเจ้อ พูดถูกกาล พูดแต่
คำาที่เป็นจริง พูดอิงอรรถ
พูดอิงธรรม พูดอิงวินัย พูดแต่คำาที่มีหลักฐาน มีที่อ้าง มีที่
กำาหนด ประกอบด้วยประโยชน์
โดยกาลอันควร.
๘. เว้นขาดจากการพรากพืชคามและภูตคาม .
๙. ฉันหนเดียว เว้นการฉันในราตรี งดการฉันในเวลาวิกาล .
๑๐. เว้นขาดจากการฟ้อนรำา ขับร้อง ประโคมดนตรี และการ
เล่นอันเป็นข้าศึกแก่
กุศล.
๑๑. เว้นขาดจากการทัดทรงประดับ และตกแต่งร่างกายด้วย
ดอกไม้ ของหอม และ
เครื่องประเทืองผิว อันเป็นฐานแห่งการแต่งตัว.
๑๒. เว้นขาดจากการนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่.
๑๓. เว้นขาดจากการรับทองและเงิน.
๑๔. เว้นขาดจากการรับธัญญาหารดิบ .
๑๕. เว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ.
๑๖. เว้นขาดจากการรับสตรีและกุมารี .
๑๗. เว้นขาดจากการรับทาสีและทาส .
๑๘. เว้นขาดจากการรับแพะและแกะ .
๑๙. เว้นขาดจากการรับไก่และสุกร .
๒๐. เว้นขาดจากการรับช้าง โค ม้า และลา.
๒๑. เว้นขาดจากการรับไร่นาและที่ดิน.
๒๒. เว้นขาดจากการประกอบทูตกรรมและการรับใช้.
๒๓. เว้นขาดจากการซื้อ การขาย.
๒๔. เว้นขาดจากการฉ้อโกงด้วยตราชั่ง การโกงด้วยของ
ปลอม และการโกงด้วยเครื่อง
ตวงวัด.
๒๕. เว้นขาดจากการรับสินบน การล่อลวง และการ
ตลบตะแลง .
๒๖. เว้นขาดจากการตัด การฆ่า การจองจำา การตีชิง การ
ปล้น และกรรโชก.
เธอเป็นผู้สันโดษด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย ด้วย
บิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง
เธอจะไปทางทิศาภาคใดๆ ก็ถือไปได้เอง นกมีปีกจะบินไปทาง
ทิศาภาคใดๆ ก็มีปีกของตัว
เป็นภาระบินไปฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร
เป็นเครื่องบริหารกาย ด้วยบิณฑบาต
เป็นเครื่องบริหารท้อง เธอจะไปทางทิศาภาคใดๆ ก็ถือไปได้เอง.
ภิกษุนั้นประกอบด้วยศีลขันธ์อันเป็นอริยะนี้ ย่อมได้เสวยสุข
อันปราศจากโทษในภายใน
เธอเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ไม่ถือนิมิต ไม่ถือพยัญชนะ เธอย่อม
ปฏิบัติเพื่อสำารวมจักขุนทรีย์
ที่เมื่อไม่สำารวมแล้ว จะเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คืออภิ
ชฌาและโทมนัสครอบงำานั้น
ชื่อว่ารักษาจักขุนทรีย์ ชื่อว่าถึงความสำารวมในจักขุนทรีย์ เธอ
ฟังเสียงด้วยโสต ... ดมกลิ่นด้วย
ฆานะ ... ลิ้มรสด้วยชิวหา ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ... รู้แจ้ง
ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว ไม่ถือนิมิต
ไม่ถือพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำารวมมนินทรีย์ ที่เมื่อไม่
สำารวมแล้ว จะเป็นเหตุให้
อกุศลธรรมอันลามก คืออภิชฌาและโทมนัสครอบงำานั้น ชื่อว่า
รักษามนินทรีย์ ชื่อว่าสำารวมใน
มนินทรีย์ ภิกษุประกอบด้วยอินทรีย์สังวรอันเป็นอริยะเช่นนี้
ย่อมได้เสวยสุขอันไม่ระคนด้วย
กิเลสภายใน.
ภิกษุนั้นย่อมทำาความรู้สึกในตัว ในการก้าวไป ในการถอย
กลับ ในการแล ในการเหลียว
ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิ บาตรและ
จีวร ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว
การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำาความรู้สึกในตัว ใน
การเดิน การยืน การนั่ง
การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง.
การละนิวรณ์
[๑๓] ภิกษุนั้นประกอบด้วยศีลขันธ์ อินทรียสังวร สติและ
สัมปชัญญะอันเป็นอริยะ
เช่นนี้แล้ว ย่อมเสพเสนาสนะอันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอก
เขา ถำ้า ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง
ลอมฟาง ในกาลภายหลังภัต เธอกลับจากบิณฑบาตแล้ว นั่งคู้
บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำารงสติ
ไว้เฉพาะหน้า เธอละความเพ่งเล็งในโลก มีใจปราศจากความ
เพ่งเล็งอยู่ ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์
จากความเพ่งเล็ง ละความประทุษร้ายคือพยาบาท ไม่คิด
พยาบาท มีความกรุณา หวังประโยชน์
แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่ ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์จากความประทุษร้าย
คือพยาบาทได้ ละถีนมิทธะแล้ว
มีความกำาหนดหมายอยู่ที่แสงสว่าง มีสติ มีสัมปชัญญะอยู่ ย่อม
ชำาระจิตให้บริสุทธิ์จากถีนมิทธะ
ละอุทธัจจกุกกุจจะแล้ว เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบ ณ ภายในอยู่
ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์จาก
อุทธัจจกุกกุจจะได้ ละวิจิกิจฉาแล้ว เป็นผู้ข้ามวิจิกิจฉา ไม่มี
ความเคลือบแคลงในกุศลธรรม
ทั้งหลายอยู่ ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์จากวิจิกิจฉาได้.
ฌาน ๔
[๑๔] ภิกษุนั้นละนิวรณ์ ๕ เหล่านี้ อันเป็นเครื่องเศร้าหมอง
แห่งใจ ทำาปัญญาให้ทุรพล
ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มี
วิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิด
แต่วิเวกอยู่ บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน
เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก
ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่
มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ
และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ที่
พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า
ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข บรรลุจตุตถฌาน
ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข
ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้
สติบริสุทธิ์อยู่.
บุพเพนิวาสานุสสติญาณ
[๑๕] ภิกษุนั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส
อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อม
จิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกได้ ชาติหนึ่งบ้าง
สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง
สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติ
บ้าง สี่สิบชาติบ้าง
ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอด
สังวัฎกัปเป็นอันมาก ตลอด
วิวัฏกัปเป็นอันมาก ตลอดสังวัฏวิวัฏกัปเป็นอันมากบ้าง ในภพ
โน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตร
อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวย
ทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำาหนดอายุเพียง
เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพ
นั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น มีโคตร
อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวย
ทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำาหนดอายุ
เพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อม
ระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก
พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้.
จุตูปปาตญาณ
[๑๖] ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส
อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อม
จิตไปเพื่อรู้จุติและอุปบัติของ
สัตว์ทั้งหลาย เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำาลังจุติ กำาลังอุปบัติ เลว
ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณ
ทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของ
มนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็น
ไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต
มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า
เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วยอำานาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้อง
หน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาเข้าถึง
อบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกาย
สุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วย
อำานาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตาย
เพราะกายแตก เขาเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็น
หมู่สัตว์กำาลังจุติ กำาลังอุปบัติ
เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วย
ทิพยจักษุอันบริสุทธิ์
ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วย
ประการฉะนี้.
อาสวักขยญาณ
[๑๗] ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส
อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อม
จิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ
เธอย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้
ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
เหล่านี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินี
ปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้
จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จาก
อวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว
ก็มีญาณรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่
จบแล้ว กิจที่ควรทำา ทำาเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้เรากล่าวว่า ไม่ทำาตนให้เดือด
ร้อน ไม่ประกอบความขวนขวาย
ในการทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบ
ความขวนขวายในการทำาผู้อื่น
ให้เดือดร้อน เขาไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน
ไม่มีความหิว ดับสนิท
เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน.
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสคำาเป็นไวยากรณ์นี้แล้ว ภิกษุเหล่า
นั้นชื่นชม ยินดี ภาษิตของ
พระผู้มีพระภาคแล้ว ดังนี้แล.
จบ กันทรกสูตร ที่ ๑.
---------------
๒. อัฏฐกนาครสูตร
พระอานนท์แสดงธรรมโปรดทสมคฤหบดี ชาวเมืองอัฏฐ
กะ
[๑๘] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:-
สมัยหนึ่ง ท่านพระอานนท์อยู่ ณ เวฬุวคาม เขตนครเวสาลี .
ก็สมัยนั้น คฤหบดีชื่อ
ทสมะ เป็นชาวเมืองอัฏฐกะ ไปยังเมืองปาตลีบุตร ด้วยกรณียกิจ
อย่างหนึ่ง. ครั้งนั้น
ทสมคฤหบดีชาวเมืองอัฏฐกะ เข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่งถึงกุกกุฏา
ราม ไหว้ภิกษุนั้นแล้วนั่ง ณ ที่ควร
ส่วนข้างหนึ่ง ได้ถามภิกษุนั้นว่า ท่านผู้เจริญ เดี๋ยวนี้ ท่านพระ
อานนท์อยู่ที่ไหน ด้วยว่า ข้าพเจ้า
ใคร่จะพบท่านพระอานนท์ ภิกษุนั้น ตอบว่า ดูกรคฤหบดี ท่าน
พระอานนท์อยู่ ณ บ้านเวฬุวคาม
เขตนครเวสาลี . ครั้งนั้นแล ทสมคฤหบดีชาวเมืองอัฏฐกะ ทำา
กรณียกิจนั้นให้สำาเร็จที่เมือง
ปาตลีบุตรแล้ว ไปยังนครเวสาลี ถึงบ้านเวฬุวคาม เข้าไปหา
ท่านพระอานนท์ถึงที่อยู่ ไหว้ท่าน
พระอานนท์แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
[๑๙] ทสมคฤหบดีชาวเมืองอัฏฐกะนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
แล้ว ได้ถามท่านพระ-
*อานนท์ว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ผู้เจริญ ธรรมอันหนึ่ง ที่เมื่อ
ภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร
มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่
ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป
และย่อมบรรลุถึงธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่อง
ประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าที่ยัง
ไม่บรรลุ อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้
เองโดยชอบ พระองค์นั้นตรัสไว้
มีอยู่แลหรือ?
ท่านพระอานนท์ตอบว่า มีอยู่ คฤหบดี ...
ข้าแต่ท่านพระอานนท์ผู้เจริญ ก็ธรรมอันหนึ่ง เป็นไฉน ...?
รูปฌาน ๔
[๒๐] ดูกรคฤหบดี ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรม บรรลุ-
*ปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุข เกิดแต่วิเวกอยู่ เธอ
พิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า
แม้ปฐมฌานนี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่ง
หนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น
ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอ
ตั้งอยู่ในธรรม คือ สมถะ
และวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่
ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น
เพราะความสิ้นไปแห่ง
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพาน
ในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้น
เป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง
ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ
อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย
ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความ
ผ่องใสแห่งจิตในภายใน
เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป
มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่
เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้ทุติยฌานนี้ อันเหตุ
ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น
ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่
เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา
ดังนี้ เธอตั้งอยู่ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความ
สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดี
เพลิดเพลิน ในธรรมคือสมถะและ
วิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอ
ย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปริพพาน
ในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง
ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบอันไม่มีธรรม
อื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อัน
พระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ
พระองค์นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มี
สติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วย
นามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลาย
สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้
เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้
ชัดว่า แม้ตติยฌานนี้อันเหตุ
ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุง
แต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น
สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ใน
ธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น
ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความสิ้นไป
แห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดี
เพลิดเพลินในธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้น
ไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕
เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจาก
โลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง
ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ
อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย
ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ไม่มี
ทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข
ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้
สติบริสุทธิ์อยู่ เธอพิจารณา
อยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้จตุตถฌานนี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่ง
ขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ
ไปเป็นธรรมดา ดังนี้
เธอตั้งอยู่ในธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไป
แห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึง
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินใน
ธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป
ปาติกะ จะปริพพานในที่นั้น
มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีคนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุ
ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ
อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย
ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้.
อัปปมัญญา ๔
[๒๑] ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยเมตตา
แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่
ทิศที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยเมตตาอัน
ไพบูลย์ เป็นมหัคตะ ไม่มีประมาณ
ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง เบื้อง
ขวาง ตลอดโลก ทั่วสัตว์
ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วยประการ
ฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อม
รู้ชัดว่า แม้เมตตาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง
ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัย
ปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็น
ธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ในเมตตา
เจโตวิมุตินั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึง
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัม-
*ภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพานในที่
นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้น
เป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุธรรม
ที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่น
ยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มี-
*พระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์
นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยกรุณา
แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่ ทิศที่ ๒
ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยกรุณา อันไพบูลย์
เป็นมหัคตะ ไม่มีประมาณ
ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง เบื้อง
ขวาง ตลอดโลก ทั่วสัตว์
ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วยประการ
ฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อม
รู้ชัดว่า แม้กรุณาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง
ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ
ไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่
ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอา
สวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความ
สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความกำาหนัดเพลิดเพลินใน
ธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป
ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น
มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุ
ถึงธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อัน
พระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ
พระองค์นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยมุทิตา
แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่ ทิศที่ ๒
ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยมุทิตา อันไพบูลย์
เป็นมหัคตะ ไม่มีประมาณ
ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง เบื้อง
ขวาง ตลอดโลก ทั่วสัตว์
ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วยประการ
ฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อม
รู้ชัดว่า แม้มุทิตาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง
ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุ
ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็น
ธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่
ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอา
สวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความ
สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม
คือ สมถะและวิปัสสนานั้น
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป
ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น
มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุ
ถึงธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรม
อื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระ
ผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ
พระองค์นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยอุเบกขา
แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่
ทิศที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยอุเบกขาอัน
ไพบูลย์ เป็นมหัคตะ ไม่มี
ประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้อง
ล่าง เบื้องขวาง ตลอดโลก
ทั่วสัตว์ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วย
ประการฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมรู้ชัดว่า แม้อุเบกขาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น
ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ
ไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้ง
อยู่ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่ง
อาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความ
สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม
คือ สมถะและวิปัสสนานั้น
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป
ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น
มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุธรรม
ที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่น
ยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มี
พระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์
นั้น ตรัสไว้.
อรูปฌาน ๔
[๒๒] ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุเข้าถึงชั้นอากาสานั
ญจายตนะ ด้วยมนสิการ
ว่า อากาศหาที่สุดมิได้ เพราะล่วงรูปสัญญา เพราะดับปฏิฆ
สัญญา เพราะไม่มนสิการนานัตตสัญญา
โดยประการทั้งปวงอยู่ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้
อากาสานัญจายตนสมาบัตินี้
อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุ
ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น
สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ใน
ธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น
ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความสิ้นไป
แห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความ
ยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะ
ความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕
เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจาก
โลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึงธรรม
ที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่น
ยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มี
พระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์
นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุเข้าถึงชั้นวิญญาณัญจาย
ตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณ
หาที่สุดมิได้ เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง
อยู่ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมรู้ชัดว่าแม้วิญญาณัญจายตนะสมาบัตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุง
แต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ
ไปเป็นธรรมดา ดังนี้
เธอตั้งอยู่ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้น
ไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึง
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินใน
ธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น
เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป
ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอัน
ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง
ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อัน
พระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ
พระองค์นั้น ตรัสไว้.
ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุอากิญจัญญายตนะ
ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
เพราะล่วงวิญญาณัญจายตนะได้โดยประการทั้งปวง เธอ
พิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้
อากิญจัญญายตนสมาบัตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง
ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุ
ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็น
ธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่
ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอา
สวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความสิ้นไป
แห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ
สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะ
ความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ
จะปรินิพพานในที่นั้น มีอัน
ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีตนส่งไปอยู่
จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม
ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง
ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ
อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย
ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้.
ทสมคฤหบดีบูชาพระอานนท์
[๒๓] เมื่อท่านพระอานนท์กล่าวอย่างนี้แล้ว ทสมคฤหบดี
ชาวเมืองอัฏฐกะ ได้กล่าว
กะท่านพระอานนท์ว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ผู้เจริญ บุรุษกำาลัง
แสวงหาขุมทรัพย์ขุมหนึ่ง
ได้พบขุมทรัพย์ถึง ๑๑ ขุมในคราวเดียวกัน ฉันใด ข้าพเจ้าก็ฉัน
นั้น กำาลังแสวงหาประตูอมตะ
ประตูหนึ่ง ได้พบประตูอมตะถึง ๑๑ ประตูในคราวเดียวกัน โดย
การฟังเท่านั้น.
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เรือนของบุรุษมีประตู ๑๑ ประตู เมื่อเรือน
นั้นถูกไฟไหม้ บุรุษ
เจ้าของเรือนอาจทำาตนให้สวัสดี โดยประตูแม้ประตูหนึ่งๆ ได้
ฉันใด ข้าพเจ้าก็ฉันนั้น จักอาจ
ทำาตนให้สวัสดีได้โดยประตูอมตะ แม้ประตูหนึ่งๆ แห่งประตู
อมตะ ๑๑ ประตูนี้.
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อันชื่อว่าอัญญเดียรถีย์เหล่านี้ จักแสวงหา
ทรัพย์สำาหรับบูชาอาจารย์
เพื่ออาจารย์ ก็ไฉน ข้าพเจ้าจักไม่ทำาการบูชาท่านพระอานนท์
เล่า. ลำาดับนั้น ทสมคฤหบดี
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓

More Related Content

What's hot

สรุปการเรียน Meditation พี่หมาน
สรุปการเรียน Meditation พี่หมานสรุปการเรียน Meditation พี่หมาน
สรุปการเรียน Meditation พี่หมาน
Tanaphon Tanasri
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80
Rose Banioki
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
Tongsamut vorasan
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
wilasinee k
 
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
Tongsamut vorasan
 
Healed body healed_mind
Healed body healed_mindHealed body healed_mind
Healed body healed_mind
Aimmary
 
Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓
Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓
Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓
Tongsamut vorasan
 

What's hot (17)

พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
สรุปการเรียน Meditation พี่หมาน
สรุปการเรียน Meditation พี่หมานสรุปการเรียน Meditation พี่หมาน
สรุปการเรียน Meditation พี่หมาน
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
พระธรรมเทศนาสมณกถา
พระธรรมเทศนาสมณกถาพระธรรมเทศนาสมณกถา
พระธรรมเทศนาสมณกถา
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
 
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณบทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
 
Healed body healed_mind
Healed body healed_mindHealed body healed_mind
Healed body healed_mind
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓
Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓
Tri91 03++มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๓
 

Viewers also liked

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕
Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐
Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕
Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙
Rose Banioki
 

Viewers also liked (20)

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๔
 
Zilli lia ppt
Zilli lia pptZilli lia ppt
Zilli lia ppt
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๘
 
Teclado multimedia
Teclado multimediaTeclado multimedia
Teclado multimedia
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
 
Tareas de aprendijzae
Tareas de aprendijzaeTareas de aprendijzae
Tareas de aprendijzae
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๒
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๗
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๕
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๐
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๐
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๕
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๓
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๑
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๖
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๔
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๙
 

Similar to พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓

ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
Carzanova
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
dentyomaraj
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
Chirayu Boonchaisri
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
Tongsamut vorasan
 

Similar to พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓ (20)

๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
แบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdf
แบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdfแบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdf
แบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdf
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 

More from Rose Banioki

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Rose Banioki
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
Rose Banioki
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
Rose Banioki
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
Rose Banioki
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
Rose Banioki
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
Rose Banioki
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
Rose Banioki
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
Rose Banioki
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
Rose Banioki
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
Rose Banioki
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
Rose Banioki
 

More from Rose Banioki (20)

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
 
Instant tax
Instant taxInstant tax
Instant tax
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
 
Thaifood table
Thaifood tableThaifood table
Thaifood table
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
 
P4
P4P4
P4
 
P3
P3P3
P3
 
P1
P1P1
P1
 
To myfriends
To myfriendsTo myfriends
To myfriends
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
 
Tibet
TibetTibet
Tibet
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
 
Photosdutempspass
PhotosdutempspassPhotosdutempspass
Photosdutempspass
 
Photo mix7
Photo mix7Photo mix7
Photo mix7
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
 

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓

  • 1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ ตอนที่ ๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิม นิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ขอนอบน้อมแ ด่พระผู้มีพระภาคอรหันต สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น คหบดีวรรค ๑. กันทรกสูตร ประทานพระโอวาทแก่กันทรกปริพา ชก [๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ฝั่งสระโบกขรณี ชื่อ คัคครา เขตนครจำาปา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่. ครั้งนั้น บุตรนายหัตถาจารย์ชื่อ เปสสะ และปริพาชกชื่อกันทรกะ
  • 2. เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว นายเปสสหัต ถาโรหบุตร ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วน ข้างหนึ่ง. ส่วนกันทรกปริพาชกได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง. แล้วเหลียวดู ภิกษุสงฆ์ผู้นิ่งเงียบอยู่ แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า น่า อัศจรรย์ ท่านพระโคดม ไม่เคยมี ท่านพระโคดม เพียงเท่านี้ ท่านพระโคดมชื่อว่าทรงให้ภิกษุสงฆ์ ปฏิบัติชอบแล้ว ท่านพระโคดม พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด ได้มีแล้วในอดีตกาล แม้ พระผู้มีพระภาคเหล่านั้น ก็ทรง ให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านี้ เหมือนท่านพระ โคดมทรงให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบ ในบัดนี้ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด จักมีใน อนาคตกาล แม้พระผู้มีพระภาคเหล่านั้น ก็จักทรงให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านั้น เหมือนท่านพระโคดมทรงให้ภิกษุสงฆ์ ปฏิบัติชอบในบัดนี้. [๒] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรกันทรกะ ข้อนี้เป็นอย่างนั้น ดูกรกันทรกะ ข้อนี้ เป็นอย่างนั้น พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด ได้มีแล้วใน อดีตกาล แม้พระผู้มีพระภาค เหล่านั้น ก็ทรงให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านี้ เหมือนเราให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบ
  • 3. ในบัดนี้. ดูกรกันทรกะ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใด จักมีใน อนาคตกาล แม้พระผู้มีพระภาคเหล่านั้น ก็จักทรงให้ภิกษุสงฆ์ ปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่ง เพียงเท่านี้ เหมือนเราให้ภิกษุสงฆ์ ปฏิบัติชอบในบัดนี้. ดูกรกันทรกะ ก็ในภิกษุสงฆ์นี้ ภิกษุทั้งหลายผู้อรหันต ขีณาสพอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว มีกิจที่ควรทำา ทำาเสร็จแล้ว ปลงภาระเสียแล้ว มีประโยชน์ตนถึง แล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นรอบ แล้ว หลุดพ้นแล้ว เพราะรู้โดยชอบ มีอยู่ ดูกรกันทรกะ อนึ่ง ใน ภิกษุสงฆ์นี้ ภิกษุทั้งหลาย ผู้ยังต้องศึกษา มีปกติสงบ มีความประพฤติสงบ มีปัญญาเลี้ยง ชีพด้วยปัญญามีอยู่ เธอเหล่านั้น มีจิตตั้งมั่นดีแล้ว ในสติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน ๔ เป็นไฉน ดูกร กันทรกะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌา และโทมนัส ในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มี สติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความ เพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัด อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นธรรมในธรรม อยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้.
  • 4. [๓] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว นายเปสสหัตถา โรหบุตรได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า น่าอัศจรรย์ พระพุทธเจ้าข้า ไม่เคยมี พระพุทธเจ้าข้า สติปัฏฐาน ๔ นี้ พระองค์ ทรงบัญญัติไว้ดีแล้ว เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อ ก้าวล่วงความโศกและความรำ่าไร เพื่อความดับแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อ ทำาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ที่จริง แม้พวกข้าพระพุทธเจ้าเป็นคฤหัสถ์นุ่งผ้าขาว ก็ยังมีจิตตั้งมั่น ดีแล้วในสติปัฏฐาน ๔ เหล่านี้อยู่ตาม กาลที่สมควร ขอประทานพระวโรกาส พวกข้าพระพุทธเจ้า พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌาและโทมนัสใน โลกเสียได้ พิจารณาเห็นธรรม ในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสติ มีสัมปชัญญะ กำาจัดอภิชฌาและ โทมนัสในโลกเสียได้ น่าอัศจรรย์ พระพุทธเจ้าข้า ไม่เคยมี พระพุทธเจ้าข้า เพียงเท่านี้ พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาค ชื่อว่าย่อมทรงทราบประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ของสัตว์ทั้ง หลาย ในเมื่อมนุษย์รกชัฎเป็นไปอยู่ อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์เดนกาก เป็นไปอยู่อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์ โอ้อวด เป็นไปอยู่อย่างนี้
  • 5. ก็สิ่งที่รกชัฏ ๑- คือมนุษย์ สิ่งที่ตื้น ๒- คือสัตว์ พระพุทธเจ้าข้า ด้วยว่าข้าพระพุทธเจ้าสามารถ จะให้ช้างที่พอฝึกแล้วแล่นไปได้ ช้างนั้นจักทำานครจำาปาให้เป็น ที่ไปมาโดยระหว่างๆ จักทำาความ โอ้อวด ความโกง ความคด ความงอ นั้นทั้งหมดให้ปรากฎด้วย ส่วนมนุษย์ คือทาส คนใช้ หรือกรรมกรของข้าพระพุทธเจ้า ย่อมประพฤติด้วยกายเป็น อย่างหนึ่ง ด้วยวาจาเป็นอย่างหนึ่ง และจิตของเขาเป็นอย่างหนึ่ง น่าอัศจรรย์ พระพุทธเจ้าข้า ไม่ เคยมี พระพุทธเจ้าข้า เพียงเท่านี้ พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคชื่อว่าย่อมทรงทราบประโยชน์ และมิใช่ประโยชน์ ในเมื่อมนุษย์ รกชัฏ เป็นไปอยู่อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์เดนกาก เป็นไปอยู่อย่างนี้ ในเมื่อมนุษย์โอ้อวด เป็นไปอยู่อย่างนี้ ก็สิ่งที่รกชัฏ คือมนุษย์ สิ่งที่ตื้น คือสัตว์. บุคคล ๔ จำาพวก [๔] พ. ดูกรเปสสะ ข้อนี้เป็นอย่างนั้น ดูกรเปสสะ ข้อนี้เป็น อย่างนั้น ก็สิ่งที่รกชัฏ คือมนุษย์ สิ่งที่ตื้น คือสัตว์ ดูกรเปสสะ บุคคล ๔ จำาพวกนี้มีอยู่ หาได้อยู่ในโลก ๔ จำาพวกนั้น เป็นไฉน? ดูกรเปสสะ บุคคลบางคนในโลกนี้ ทำาตนให้เดือดร้อน ประกอบการขวนขวายใน การทำาตนให้เดือดร้อน.
  • 6. ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบ ความขวนขวายในการทำา ผู้อื่นให้เดือดร้อน. @(๑) เข้าใจยาก (๒) เข้าใจยาก บุคคลบางคนในโลกนี้ ทำาตนให้เดือดร้อน และประกอบ ความขวนขวายในการทำาตน ให้เดือดร้อน ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อนและประกอบความขวนขวาย ในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ ประกอบความขวนขวายในการ ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความ ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้ เดือดร้อน. บุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อนนั้น ไม่มีความหิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน ดู กรเปสสะ บรรดาบุคคล ๔ จำาพวกนี้ จำาพวกไหนจะยังจิตของท่านให้ยินดี? [๕] เป. พระพุทธเจ้าข้า บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน ประกอบ ความขวนขวายใน การทำาตนให้เดือดร้อนนี้ ไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้ยินดีได้ แม้บุคคลผู้ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ก็ไม่ยังจิต ของข้าพระพุทธเจ้าให้ยินดีได้ แม้
  • 7. บุคคลทำาตนให้เดือดร้อน และประกอบความขวนขวายในการ ทำาตนให้เดือดร้อน ทำาผู้อื่นให้ เดือดร้อน และประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือด ร้อน ก็ไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้า ให้ยินดีได้ ส่วนบุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความ ขวนขวายในการทำาตนให้ เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวาย ในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน บุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่มีความ หิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน บุคคลนี้ย่อม ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้า ให้ยินดี. ดูกรเปสสะ ก็เพราะเหตุไรเล่า บุคคล ๔ จำาพวกนี้ จึงยังจิต ของท่านให้ยินดีไม่ได้? [๖] พระพุทธเจ้าข้า บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน ประกอบ ความขวนขวายในการทำาตน ให้เดือดร้อนนี้ เขาย่อมทำาตนซึ่งรักสุข เกลียดทุกข์ ให้เดือดร้อน เร่าร้อน ด้วยเหตุนี้ บุคคลนี้จึงไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้ยินดีได้ แม้บุคคลผู้ทำา ผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบความ ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เขาก็ย่อมทำาผู้อื่นซึ่งรัก สุข เกลียดทุกข์ ให้เดือดร้อน
  • 8. เร่าร้อน ด้วยเหตุนี้ บุคคลนี้จึงไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้ ยินดีได้ แม้บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน และประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน ทำาผู้อื่น ให้เดือดร้อน และประกอบความ ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เขาก็ย่อมทำาตนและผู้อื่น ซึ่งรักสุข เกลียดทุกข์ให้เดือดร้อน เร่าร้อน ด้วยเหตุนี้ บุคคลนี้จึงไม่ยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้ ยินดีได้ ก็แลบุคคลผู้ไม่ทำาตนให้ เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ ประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เขาไม่ทำา ตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาให้ผู้อื่น เดือดร้อน ไม่มีความหิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มี ตนเป็นดังพรหมอยู่ใน ปัจจุบันนี้ ด้วยเหตุนี้ บุคคลนี้ ย่อมยังจิตของข้าพระพุทธเจ้าให้ ยินดีได้ พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าจะไป ณ บัดนี้ ข้าพระพุทธเจ้ามีกิจมาก มีธุระที่ ต้องทำามาก . ดูกรเปสสะ บัดนี้ ท่านจงทราบกาลอันควรเถิด . ลำาดับนั้น นายเปสสหัตถาโรหบุตร ชื่นชม อนุโมทนาภาษิต พระผู้มีพระภาค ลุกจากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค กระทำาประทักษิณ แล้วหลีกไป. [๗] ครั้งนั้น เมื่อนายเปสสหัตถาโรหบุตรหลีกไปไม่นาน พระ ผู้มีพระภาคตรัสเรียก
  • 9. ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย นายเปสสหัตถาโรหบุตร เป็นบัณฑิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย นายเปสสหัตถาโรหบุตรมีปัญญามาก ถ้านายเปสสหัตถาโรห บุตรพึงนั่งอยู่ครู่หนึ่ง ชั่วเวลาที่เรา จำาแนกบุคคล ๔ จำาพวกนี้โดยพิสดารแก่เขา เขาจักเป็นผู้ ประกอบด้วยประโยชน์ใหญ่ อนึ่ง แม้ด้วยการฟังโดยสังเขปเพียงเท่านี้ นายเปสสหัตถาโรหบุตร ยังประกอบด้วยประโยชน์ใหญ่ พวก ภิกษุกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาค นี้เป็นกาล ข้าแต่พระ สุคต นี้เป็นกาลของการที่ พระผู้มีพระภาคจะพึงทรงจำาแนกบุคคล ๔ จำาพวกนี้โดยพิสดาร ภิกษุทั้งหลายได้ฟังต่อพระผู้มี- *พระภาคโดยพิสดารแล้วจักทรงจำาไว้. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้น เธอ ทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว. [๘] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ทำา ตนให้เดือดร้อน ประกอบ ความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน เป็นไฉน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นคนเปลือย ทอดทิ้งมารยาท เลียมือ เขาเชิญ ให้มารับภิกษาแล้วก็ไม่มา เขาเชิญให้หยุดก็ไม่หยุด ไม่ยินดีรับ ภิกษาที่เขานำามาให้ ไม่ยินดีรับภิกษา
  • 10. ที่เขาทำาเฉพาะ ไม่ยินดีรับภิกษาที่เขานิมนต์ เขาไม่รับภิกษา ปากหม้อ ไม่รับภิกษาจากปากกระเช้า ไม่รับภิกษาคร่อมธรณีประตู ไม่รับภิกษาคร่อมท่อนไม้ ไม่รับ ภิกษาคร่อมสาก ไม่รับภิกษา ของคน ๒ คนที่กำาลังบริโภคอยู่ ไม่รับภิกษาของหญิงมีครรภ์ ไม่ รับภิกษาของหญิงผู้กำาลังให้ลูก ดูดนม ไม่รับภิกษาของหญิงผู้คลอเคลียบุรุษ ไม่รับภิกษาที่ นัดแนะกันทำาไว้ ไม่รับภิกษาในที่ที่เขา เลี้ยงสุนัข ไม่รับภิกษาในที่มีแมลงวันไต่ตอมเป็นกลุ่ม ไม่รับปลา ไม่รับเนื้อ ไม่ดื่มสุรา ไม่ดื่ม เมรัย ไม่ดื่มนำ้าหมักดอง เขารับภิกษาที่เรือนหลังเดียว เยียวยา อัตภาพด้วยข้าวคำาเดียวบ้าง รับภิกษาที่เรือน ๒ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๒ คำาบ้าง รับ ภิกษาที่เรือน ๓ หลัง เยียวยา อัตภาพด้วยข้าว ๓ คำาบ้าง รับภิกษาที่เรือน ๔ หลัง เยียวยา อัตภาพด้วยข้าว ๔ คำาบ้าง รับภิกษา ที่เรือน ๕ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๕ คำาบ้าง รับภิกษาที่ เรือน ๖ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วย ข้าว ๖ คำาบ้าง รับภิกษาที่เรือน ๗ หลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๗ คำาบ้าง เยียวยาอัตภาพด้วย ภิกษาในถาดน้อยใบเดียวบ้าง ๒ ใบบ้าง ๓ ใบบ้าง ๔ ใบบ้าง ๕ ใบบ้าง ๖ ใบบ้าง ๗ ใบบ้าง กินอาหารที่เก็บค้างไว้วันหนึ่งบ้าง ๒ วันบ้าง ๓ วันบ้าง ๔ วัน บ้าง ๕ วันบ้าง ๖ วันบ้าง ๗ วันบ้าง
  • 11. เป็นผู้ประกอบความขวนขวายในการบริโภคภัตที่เวียนมาตั้งกึ่ง เดือน แม้เช่นนี้ด้วยประการฉะนี้อยู่ เขาเป็นผู้มีผักดองเป็นภักษาบ้าง มีข้าวฟ่างเป็นภักษาบ้าง มีลูก เดือยเป็นภักษาบ้าง มีกากข้าว เป็นภักษาบ้าง มีสาหร่ายเป็นภักษาบ้าง มีรำาเป็นภักษาบ้าง มี ข้าวตังเป็นภักษาบ้าง มีข้าวไหม้ เป็นภักษาบ้าง มีหญ้าเป็นภักษาบ้าง มีโคมัยเป็นภักษาบ้าง มี เหง้าและผลไม้ในป่าเป็นอาหาร บริโภคผลไม้หล่นเยียวยาอัตภาพ. เขาทรงผ้าป่านบ้าง ผ้าแกมกันบ้าง ผ้าห่อศพบ้าง ผ้าบังสุกุล บ้าง ผ้าเปลือกไม้บ้าง หนังเสือบ้าง หนังเสือทั้งเล็บบ้าง ผ้าคากรองบ้าง ผ้าเปลือก ปอกรองบ้าง ผ้าผลไม้กรองบ้าง ผ้ากำาพลทำาด้วยผมคนบ้าง ผ้ากำาพลทำาด้วยขนสัตว์บ้าง ทำาด้วย ขนปีกนกเค้าบ้าง เป็นผู้ถอนผม และหนวด คือประกอบความขวนขวายในการถอนผมและ หนวดบ้าง เป็นผู้ยืน คือห้ามอาสนะบ้าง เป็นผู้กระโหย่ง คือประกอบความเพียรในการกระโหย่ง (คือ เดินกระโหย่งเหยียบพื้นไม่เต็มเท้า) บ้าง เป็นผู้นอนบนหนาม คือสำาเร็จการนอนบนหนามบ้าง เป็น ผู้อาบนำ้าวันละ ๓ ครั้ง ประกอบ ความขวนขวายในการลงนำ้าบ้าง เป็นผู้ประกอบความขวนขวาย ในการทำากายให้เดือดร้อน เร่าร้อน
  • 12. หลายอย่างเห็นปานนี้อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้เรากล่าว ว่า เป็นผู้ทำาตนให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน. [๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการ ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน เป็นไฉน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ฆ่าแพะเลี้ยงชีวิต ฆ่าสุกรเลี้ยงชีวิต ฆ่านก เลี้ยงชีวิต ฆ่าเนื้อเลี้ยงชีวิต เป็นคนเหี้ยมโหด เป็นคนฆ่าปลา เป็นโจร เป็นคนฆ่าโจร เป็นคนปกครองเรือนจำา หรือบุคคลเหล่าอื่นบางพวกเป็นผู้ ทำาการงานอันทารุณ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้ เรากล่าวว่า เป็นผู้ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบความ ขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้ เดือดร้อน. [๑๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ทำาตนให้เดือดร้อน และ ประกอบความขวนขวาย ในการทำาตนให้เดือดร้อน ทำาให้ผู้อื่นเดือดร้อน และประกอบ ความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้ เดือดร้อน เป็นไฉน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นพระราชามหา กษัตริย์ผู้ได้มุรธาภิกเษกแล้ว ก็ดี เป็นพราหมณ์มหาศาลก็ดี พระราชาหรือพราหมณ์นั้น โปรดให้ทำาโรงที่บูชายัญขึ้นใหม่ทาง
  • 13. ด้านบูรพาแห่งนคร แล้วทรงจำาเริญพระเกสาและพระมัสสุ ทรง นุ่งหนังเสือทั้งเล็บ ทรงทาพระกาย ด้วยเนยใสและนำ้ามันงา ทรงเกาพระปฤษฎางค์ด้วยเขามฤค เข้าไปยังโรงที่บูชายัญใหม่ พร้อมด้วย พระมเหสีและพราหมณ์ปุโรหิต บรรทมบนพื้นดิน อันมิได้ลาด ด้วยเครื่องลาด เขาทาด้วยโคมัย สด นำ้านมในเต้าที่หนึ่งแห่งโคแม่ลูกอ่อนตัวเดียวมีเท่าใด พระ ราชาทรงเยียวยาอัตภาพด้วยนำ้านม เท่านั้น นำ้านมในเต้าที่ ๒ มีเท่าใด พระมเหสีทรงเยียวยาอัตภาพ ด้วยนำ้านมเท่านั้น นำ้านมใน เต้าที่ ๓ มีเท่าใด พราหมณ์ปุโรหิต ย่อมเยียวยาอัตภาพด้วย นำ้านมเท่านั้น นำ้านมในเต้าที่ ๔ มี เท่าใด ก็บูชาไฟด้วยนำ้านมเท่านั้น ลูกโคเยียวยาอัตภาพด้วย นำ้านมที่เหลือ พระราชาหรือพราหมณ์ นั้นตรัสอย่างนี้ว่า เพื่อต้องการบูชายัญ จงฆ่าโคผู้ประมาณเท่า นี้ ลูกโคผู้ประมาณเท่านี้ ลูกโคเมีย ประมาณเท่านี้ แพะประมาณเท่านี้ ม้าประมาณเท่านี้ จงตัด ต้นไม้ประมาณเท่านี้ เพื่อต้องการ ทำาเป็นเสายัญ จงเกี่ยวหญ้าประมาณเท่านี้ เพื่อต้องการลาดพื้น ชนเหล่าที่เป็นทาสก็ดี เป็นคนใช้ ก็ดี เป็นกรรมกรก็ดี ของพระราชาหรือพราหมณ์นั้น ชนเหล่า นั้นถูกอาชญาคุกคาม ถูกภัยคุกคาม มีนำ้าตานองหน้า ร้องไห้ ทำาการงานตามกำาหนด ดูกรภิกษุทั้ง หลาย บุคคลนี้ เรากล่าวว่า ทำาตน
  • 14. ให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทำาตนให้เดือดร้อน และทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน. ว่าด้วยพระพุทธคุณ [๑๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ ประกอบความขวนขวาย ในการทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบ ความขวนขวายในการทำาผู้อื่นให้ เดือดร้อน เขาไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่มีความหิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน เป็นไฉน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระตถาคตเสด็จอุบัติในโลกนี้ เป็นพระ อรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็น สารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่น ยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิก บานแล้ว เป็นผู้จำาแนกพระธรรม พระตถาคตพระองค์นั้น ทรงทำาโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ให้รู้แจ้งชัดด้วยปัญญา อันยิ่งของพระองค์เองแล้ว ทรงสอนหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ให้รู้ ตาม ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามใน ที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์
  • 15. พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง คฤหบดี บุตรคฤหบดี หรือผู้เกิดเฉพาะ ในตระกูลใดตระกูลหนึ่ง ย่อมฟังธรรมนั้น ครั้นฟังแล้ว ได้ ศรัทธาในพระตถาคต เมื่อได้ศรัทธา แล้ว ย่อมเห็นตระหนักว่า ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี บรรพชาเป็นทางปลอดโปร่ง การที่บุคคลผู้ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ ให้ บริสุทธิ์โดยส่วนเดียวดุจสังข์ขัด ไม่ใช่ทำาได้ง่าย ถ้ากระไร เราพึงปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาว สาวพัสตร์ ออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิต สมัยต่อมา เขาละกองโภคสมบัติน้อยใหญ่ ละ เครือญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและ หนวด นุ่งผ้ากาสาวพัสตร์ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต. ผู้ถึงพร้อมด้วยสิกขาและสาชีพ [๑๒] เขาบวชอย่างนี้แล้ว ถึงพร้อมด้วยสิกขาและสาชีพ เสมอด้วยภิกษุทั้งหลาย ๑. ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ วาง ศาตรา มีความละอาย มีความเอ็นดู มีความกรุณา หวังประโยชน์แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่. ๒. ละการลักทรัพย์ เว้นขาดจากการลักทรัพย์ รับแต่ของที่ เขาให้ ต้องการแต่ของ ที่เขาให้ ไม่ประพฤติตนเป็นขโมย เป็นผู้สะอาดอยู่. ๓. ละกรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล เว้นขาด
  • 16. จากเมถุนอันเป็นกิจของชาวบ้าน. ๔. ละการพูดเท็จ เว้นขาดจากการพูดเท็จ พูดแต่คำาจริง ดำารงคำาสัตย์ มีถ้อยคำาเป็น หลักฐาน ควรเชื่อได้ ไม่พูดลวงโลก. ๕. ละคำาส่อเสียด เว้นขาดจากคำาส่อเสียด ฟังจากข้างนี้แล้ว ไม่ไปบอกข้างโน้น เพื่อให้ คนหมู่นี้แตกร้าวกัน หรือฟังจากข้างโน้นแล้วไม่มาบอกข้างนี้ เพื่อให้คนหมู่โน้นแตกร้าวกัน สมานคนที่แตกร้าวกันแล้วบ้าง ส่งเสริมคนที่พร้อมเพรียงกัน แล้วบ้าง ชอบคนผู้พร้อมเพรียงกัน ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน เพลิดเพลินในคนผู้พร้อมเพรียงกัน กล่าวแต่คำาที่ทำาให้คนพร้อม เพรียงกัน. ๖. ละคำาหยาบ เว้นขาดจากคำาหยาบ กล่าวแต่คำาที่ไม่มีโทษ เพราะหู ชวนให้รัก จับใจ เป็นของชาวเมือง คนส่วนมากรักใคร่ พอใจ. ๗. ละคำาเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากคำาเพ้อเจ้อ พูดถูกกาล พูดแต่ คำาที่เป็นจริง พูดอิงอรรถ พูดอิงธรรม พูดอิงวินัย พูดแต่คำาที่มีหลักฐาน มีที่อ้าง มีที่ กำาหนด ประกอบด้วยประโยชน์ โดยกาลอันควร. ๘. เว้นขาดจากการพรากพืชคามและภูตคาม . ๙. ฉันหนเดียว เว้นการฉันในราตรี งดการฉันในเวลาวิกาล .
  • 17. ๑๐. เว้นขาดจากการฟ้อนรำา ขับร้อง ประโคมดนตรี และการ เล่นอันเป็นข้าศึกแก่ กุศล. ๑๑. เว้นขาดจากการทัดทรงประดับ และตกแต่งร่างกายด้วย ดอกไม้ ของหอม และ เครื่องประเทืองผิว อันเป็นฐานแห่งการแต่งตัว. ๑๒. เว้นขาดจากการนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่. ๑๓. เว้นขาดจากการรับทองและเงิน. ๑๔. เว้นขาดจากการรับธัญญาหารดิบ . ๑๕. เว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ. ๑๖. เว้นขาดจากการรับสตรีและกุมารี . ๑๗. เว้นขาดจากการรับทาสีและทาส . ๑๘. เว้นขาดจากการรับแพะและแกะ . ๑๙. เว้นขาดจากการรับไก่และสุกร . ๒๐. เว้นขาดจากการรับช้าง โค ม้า และลา. ๒๑. เว้นขาดจากการรับไร่นาและที่ดิน. ๒๒. เว้นขาดจากการประกอบทูตกรรมและการรับใช้. ๒๓. เว้นขาดจากการซื้อ การขาย. ๒๔. เว้นขาดจากการฉ้อโกงด้วยตราชั่ง การโกงด้วยของ ปลอม และการโกงด้วยเครื่อง ตวงวัด. ๒๕. เว้นขาดจากการรับสินบน การล่อลวง และการ ตลบตะแลง .
  • 18. ๒๖. เว้นขาดจากการตัด การฆ่า การจองจำา การตีชิง การ ปล้น และกรรโชก. เธอเป็นผู้สันโดษด้วยจีวรเป็นเครื่องบริหารกาย ด้วย บิณฑบาตเป็นเครื่องบริหารท้อง เธอจะไปทางทิศาภาคใดๆ ก็ถือไปได้เอง นกมีปีกจะบินไปทาง ทิศาภาคใดๆ ก็มีปีกของตัว เป็นภาระบินไปฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร เป็นเครื่องบริหารกาย ด้วยบิณฑบาต เป็นเครื่องบริหารท้อง เธอจะไปทางทิศาภาคใดๆ ก็ถือไปได้เอง. ภิกษุนั้นประกอบด้วยศีลขันธ์อันเป็นอริยะนี้ ย่อมได้เสวยสุข อันปราศจากโทษในภายใน เธอเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ไม่ถือนิมิต ไม่ถือพยัญชนะ เธอย่อม ปฏิบัติเพื่อสำารวมจักขุนทรีย์ ที่เมื่อไม่สำารวมแล้ว จะเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คืออภิ ชฌาและโทมนัสครอบงำานั้น ชื่อว่ารักษาจักขุนทรีย์ ชื่อว่าถึงความสำารวมในจักขุนทรีย์ เธอ ฟังเสียงด้วยโสต ... ดมกลิ่นด้วย ฆานะ ... ลิ้มรสด้วยชิวหา ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ... รู้แจ้ง ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว ไม่ถือนิมิต ไม่ถือพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำารวมมนินทรีย์ ที่เมื่อไม่ สำารวมแล้ว จะเป็นเหตุให้ อกุศลธรรมอันลามก คืออภิชฌาและโทมนัสครอบงำานั้น ชื่อว่า รักษามนินทรีย์ ชื่อว่าสำารวมใน
  • 19. มนินทรีย์ ภิกษุประกอบด้วยอินทรีย์สังวรอันเป็นอริยะเช่นนี้ ย่อมได้เสวยสุขอันไม่ระคนด้วย กิเลสภายใน. ภิกษุนั้นย่อมทำาความรู้สึกในตัว ในการก้าวไป ในการถอย กลับ ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิ บาตรและ จีวร ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำาความรู้สึกในตัว ใน การเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง. การละนิวรณ์ [๑๓] ภิกษุนั้นประกอบด้วยศีลขันธ์ อินทรียสังวร สติและ สัมปชัญญะอันเป็นอริยะ เช่นนี้แล้ว ย่อมเสพเสนาสนะอันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอก เขา ถำ้า ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง ในกาลภายหลังภัต เธอกลับจากบิณฑบาตแล้ว นั่งคู้ บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำารงสติ ไว้เฉพาะหน้า เธอละความเพ่งเล็งในโลก มีใจปราศจากความ เพ่งเล็งอยู่ ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์ จากความเพ่งเล็ง ละความประทุษร้ายคือพยาบาท ไม่คิด พยาบาท มีความกรุณา หวังประโยชน์ แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่ ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์จากความประทุษร้าย คือพยาบาทได้ ละถีนมิทธะแล้ว
  • 20. มีความกำาหนดหมายอยู่ที่แสงสว่าง มีสติ มีสัมปชัญญะอยู่ ย่อม ชำาระจิตให้บริสุทธิ์จากถีนมิทธะ ละอุทธัจจกุกกุจจะแล้ว เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบ ณ ภายในอยู่ ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์จาก อุทธัจจกุกกุจจะได้ ละวิจิกิจฉาแล้ว เป็นผู้ข้ามวิจิกิจฉา ไม่มี ความเคลือบแคลงในกุศลธรรม ทั้งหลายอยู่ ย่อมชำาระจิตให้บริสุทธิ์จากวิจิกิจฉาได้. ฌาน ๔ [๑๔] ภิกษุนั้นละนิวรณ์ ๕ เหล่านี้ อันเป็นเครื่องเศร้าหมอง แห่งใจ ทำาปัญญาให้ทุรพล ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มี วิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิด แต่วิเวกอยู่ บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ที่ พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้ สติบริสุทธิ์อยู่. บุพเพนิวาสานุสสติญาณ
  • 21. [๑๕] ภิกษุนั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อม จิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกได้ ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติ บ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอด สังวัฎกัปเป็นอันมาก ตลอด วิวัฏกัปเป็นอันมาก ตลอดสังวัฏวิวัฏกัปเป็นอันมากบ้าง ในภพ โน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตร อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวย ทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำาหนดอายุเพียง เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพ นั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น มีโคตร อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวย ทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำาหนดอายุ เพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อม ระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้. จุตูปปาตญาณ [๑๖] ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
  • 22. อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อม จิตไปเพื่อรู้จุติและอุปบัติของ สัตว์ทั้งหลาย เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำาลังจุติ กำาลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณ ทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของ มนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็น ไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วยอำานาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้อง หน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาเข้าถึง อบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกาย สุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำาด้วย อำานาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตาย เพราะกายแตก เขาเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็น หมู่สัตว์กำาลังจุติ กำาลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วย ทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วย ประการฉะนี้. อาสวักขยญาณ [๑๗] ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
  • 23. อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อม จิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เธอย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินี ปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จาก อวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่ จบแล้ว กิจที่ควรทำา ทำาเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้เรากล่าวว่า ไม่ทำาตนให้เดือด ร้อน ไม่ประกอบความขวนขวาย ในการทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่ประกอบ ความขวนขวายในการทำาผู้อื่น ให้เดือดร้อน เขาไม่ทำาตนให้เดือดร้อน ไม่ทำาผู้อื่นให้เดือดร้อน ไม่มีความหิว ดับสนิท เป็นผู้เย็น เสวยแต่ความสุข มีตนเป็นดังพรหมอยู่ในปัจจุบัน. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสคำาเป็นไวยากรณ์นี้แล้ว ภิกษุเหล่า นั้นชื่นชม ยินดี ภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล้ว ดังนี้แล. จบ กันทรกสูตร ที่ ๑. --------------- ๒. อัฏฐกนาครสูตร
  • 24. พระอานนท์แสดงธรรมโปรดทสมคฤหบดี ชาวเมืองอัฏฐ กะ [๑๘] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:- สมัยหนึ่ง ท่านพระอานนท์อยู่ ณ เวฬุวคาม เขตนครเวสาลี . ก็สมัยนั้น คฤหบดีชื่อ ทสมะ เป็นชาวเมืองอัฏฐกะ ไปยังเมืองปาตลีบุตร ด้วยกรณียกิจ อย่างหนึ่ง. ครั้งนั้น ทสมคฤหบดีชาวเมืองอัฏฐกะ เข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่งถึงกุกกุฏา ราม ไหว้ภิกษุนั้นแล้วนั่ง ณ ที่ควร ส่วนข้างหนึ่ง ได้ถามภิกษุนั้นว่า ท่านผู้เจริญ เดี๋ยวนี้ ท่านพระ อานนท์อยู่ที่ไหน ด้วยว่า ข้าพเจ้า ใคร่จะพบท่านพระอานนท์ ภิกษุนั้น ตอบว่า ดูกรคฤหบดี ท่าน พระอานนท์อยู่ ณ บ้านเวฬุวคาม เขตนครเวสาลี . ครั้งนั้นแล ทสมคฤหบดีชาวเมืองอัฏฐกะ ทำา กรณียกิจนั้นให้สำาเร็จที่เมือง ปาตลีบุตรแล้ว ไปยังนครเวสาลี ถึงบ้านเวฬุวคาม เข้าไปหา ท่านพระอานนท์ถึงที่อยู่ ไหว้ท่าน พระอานนท์แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. [๑๙] ทสมคฤหบดีชาวเมืองอัฏฐกะนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้ว ได้ถามท่านพระ- *อานนท์ว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ผู้เจริญ ธรรมอันหนึ่ง ที่เมื่อ ภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป
  • 25. และย่อมบรรลุถึงธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่อง ประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าที่ยัง ไม่บรรลุ อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ เองโดยชอบ พระองค์นั้นตรัสไว้ มีอยู่แลหรือ? ท่านพระอานนท์ตอบว่า มีอยู่ คฤหบดี ... ข้าแต่ท่านพระอานนท์ผู้เจริญ ก็ธรรมอันหนึ่ง เป็นไฉน ...? รูปฌาน ๔ [๒๐] ดูกรคฤหบดี ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจาก อกุศลธรรม บรรลุ- *ปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุข เกิดแต่วิเวกอยู่ เธอ พิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้ปฐมฌานนี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่ง หนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอ ตั้งอยู่ในธรรม คือ สมถะ และวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่ง โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพาน ในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา .
  • 26. ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความ ผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้ทุติยฌานนี้ อันเหตุ ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่ เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความ สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดี เพลิดเพลิน ในธรรมคือสมถะและ วิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอ ย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปริพพาน ในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
  • 27. ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบอันไม่มีธรรม อื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อัน พระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มี สติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วย นามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ ชัดว่า แม้ตติยฌานนี้อันเหตุ ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุง แต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ใน ธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความสิ้นไป แห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดี เพลิดเพลินในธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้น ไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจาก โลกนั้นเป็นธรรมดา .
  • 28. ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ไม่มี ทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้ สติบริสุทธิ์อยู่ เธอพิจารณา อยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้จตุตถฌานนี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่ง ขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ ไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ในธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไป แห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึง ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินใน ธรรมคือสมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป ปาติกะ จะปริพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา .
  • 29. ดูกรคฤหบดี ธรรมอันหนึ่งแม้นี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีคนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุ ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. อัปปมัญญา ๔ [๒๑] ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่ ทิศที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยเมตตาอัน ไพบูลย์ เป็นมหัคตะ ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง เบื้อง ขวาง ตลอดโลก ทั่วสัตว์ ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วยประการ ฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อม รู้ชัดว่า แม้เมตตาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัย ปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็น ธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ในเมตตา เจโตวิมุตินั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึง ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
  • 30. เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัม- *ภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพานในที่ นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา . ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุธรรม ที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่น ยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มี- *พระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์ นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่ ทิศที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยกรุณา อันไพบูลย์ เป็นมหัคตะ ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง เบื้อง ขวาง ตลอดโลก ทั่วสัตว์ ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วยประการ ฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อม รู้ชัดว่า แม้กรุณาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
  • 31. อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ ไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอา สวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความ สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความกำาหนัดเพลิดเพลินใน ธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา . ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุ ถึงธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อัน พระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่ ทิศที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยมุทิตา อันไพบูลย์ เป็นมหัคตะ ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง เบื้อง ขวาง ตลอดโลก ทั่วสัตว์
  • 32. ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วยประการ ฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อม รู้ชัดว่า แม้มุทิตาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุ ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็น ธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอา สวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความ สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา . ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุ ถึงธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรม อื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระ ผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจประกอบด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่
  • 33. ทิศที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน เธอมีใจประกอบด้วยอุเบกขาอัน ไพบูลย์ เป็นมหัคตะ ไม่มี ประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน แผ่ไปทั้งเบื้องบน เบื้อง ล่าง เบื้องขวาง ตลอดโลก ทั่วสัตว์ทุกเหล่าโดยความมีตนทั่วไป ในที่ทุกสถานอยู่ ด้วย ประการฉะนี้ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้อุเบกขาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ ไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้ง อยู่ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความ สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา . ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุธรรม ที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่น ยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มี
  • 34. พระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์ นั้น ตรัสไว้. อรูปฌาน ๔ [๒๒] ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุเข้าถึงชั้นอากาสานั ญจายตนะ ด้วยมนสิการ ว่า อากาศหาที่สุดมิได้ เพราะล่วงรูปสัญญา เพราะดับปฏิฆ สัญญา เพราะไม่มนสิการนานัตตสัญญา โดยประการทั้งปวงอยู่ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้ อากาสานัญจายตนสมาบัตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุ ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ใน ธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความสิ้นไป แห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความ ยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะ ความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอันไม่กลับจาก โลกนั้นเป็นธรรมดา . ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึงธรรม
  • 35. ที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มีธรรมอื่น ยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มี พระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์ นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุเข้าถึงชั้นวิญญาณัญจาย ตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณ หาที่สุดมิได้ เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง อยู่ เธอพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่าแม้วิญญาณัญจายตนะสมาบัตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุง แต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับ ไปเป็นธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้น ไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึง ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินใน ธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอป ปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอัน ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา . ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง
  • 36. ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อัน พระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. ดูกรคฤหบดี อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร เพราะล่วงวิญญาณัญจายตนะได้โดยประการทั้งปวง เธอ พิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมรู้ชัดว่า แม้ อากิญจัญญายตนสมาบัตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้าง ขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุ ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น สิ่งนั้นไม่เที่ยง มีความดับไปเป็น ธรรมดา ดังนี้ เธอตั้งอยู่ ในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอา สวะทั้งหลาย ถ้าไม่ถึงความสิ้นไป แห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความยินดีเพลิดเพลินในธรรม คือ สมถะและวิปัสสนานั้น เพราะ ความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เธอย่อมเป็นโอปปาติกะ จะปรินิพพานในที่นั้น มีอัน ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา . ดูกรคฤหบดี แม้ธรรมอันหนึ่งนี้แล ที่เมื่อภิกษุผู้ไม่ประมาท มี ความเพียร มีตนส่งไปอยู่ จิตที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่สิ้น ย่อม ถึงความสิ้นไป ย่อมบรรลุถึง
  • 37. ธรรมที่ปลอดโปร่งจากกิเลสเป็นเครื่องประกอบไว้ อันไม่มี ธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ยังไม่บรรลุ อันพระผู้มีพระภาคผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดย ชอบ พระองค์นั้น ตรัสไว้. ทสมคฤหบดีบูชาพระอานนท์ [๒๓] เมื่อท่านพระอานนท์กล่าวอย่างนี้แล้ว ทสมคฤหบดี ชาวเมืองอัฏฐกะ ได้กล่าว กะท่านพระอานนท์ว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ผู้เจริญ บุรุษกำาลัง แสวงหาขุมทรัพย์ขุมหนึ่ง ได้พบขุมทรัพย์ถึง ๑๑ ขุมในคราวเดียวกัน ฉันใด ข้าพเจ้าก็ฉัน นั้น กำาลังแสวงหาประตูอมตะ ประตูหนึ่ง ได้พบประตูอมตะถึง ๑๑ ประตูในคราวเดียวกัน โดย การฟังเท่านั้น. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เรือนของบุรุษมีประตู ๑๑ ประตู เมื่อเรือน นั้นถูกไฟไหม้ บุรุษ เจ้าของเรือนอาจทำาตนให้สวัสดี โดยประตูแม้ประตูหนึ่งๆ ได้ ฉันใด ข้าพเจ้าก็ฉันนั้น จักอาจ ทำาตนให้สวัสดีได้โดยประตูอมตะ แม้ประตูหนึ่งๆ แห่งประตู อมตะ ๑๑ ประตูนี้. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อันชื่อว่าอัญญเดียรถีย์เหล่านี้ จักแสวงหา ทรัพย์สำาหรับบูชาอาจารย์ เพื่ออาจารย์ ก็ไฉน ข้าพเจ้าจักไม่ทำาการบูชาท่านพระอานนท์ เล่า. ลำาดับนั้น ทสมคฤหบดี