SlideShare a Scribd company logo
ตกหลุมรัก
แนวคิดที่มาและความสาคัญ
การตกหลุมรัก เป็นอาการที่เกิดขึ้นทั้งในคนและสัตว์ ซึ่งแต่ละคนก็จะมี
อาการแตกต่างกันไป แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และกระบวนการ
เกิดเป็นอย่างไร คณะผู้จัดทาจึงคิดที่จะค้นคว้าเรื่องการตกหลุมรักเพื่อคลายความ
สงสัยในบางปัญหาได้
วัตถุประสงค์ของการค้นคว้า
1. เพื่อศึกษากระบวนการเกิดของอาการตกหลุมรัก
2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมภายนอกที่เห็นได้ชัดเมื่อเกิดอาการตกหลุมรัก
3. เพื่อนาความรู้ที่ได้มาเผยแพร่
ขอบเขตของการศึกษา
สิ่งที่สามารถศึกษาได้
•การเกิดกระบวนการทางเคมีเมื่อตก
หลุมรัก
•การแสดงออกทางพฤติกรรมเมื่อ
เกิดอาการตกหลุมรัก
สิ่งที่ไม่สามารถศึกษาได้
•ความหมายที่ชัดเจนของคาว่าตก
หลุมรัก
•ต้นกาเนิดของอาการตกหลุมรักมีมา
ตั้งแต่เมื่อไร เกิดขึ้นที่ไหน
•ความรักในเพศเดียวกัน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ศึกษากระบวนการเกิดของอาการตกหลุมรัก
2. ได้ศึกษาพฤติกรรมภายนอกที่เห็นได้ชัดเมื่อเกิดอาการตกหลุมรัก
3. สามารถนาความรู้ที่ได้มาเผยแพร่
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
• ตกหลุมรักคืออะไร...? หลายคนอาจเคยผ่านความรู้สึกแบบนี้กันมาบ้าง แต่ก็หาเหตุผลไม่เจอ
ว่ามันเป็นเพราะอะไร แต่วันนี้ เรามาไขข้อสงสัยนี้ กับ อ๊อกซิโตซิน ฮอร์โมนแห่งความผูกพัน
• ออกซิโทซินนั้นถูกสังเคราะห์โดยเซลล์ที่ชื่อ magnocellular neurosecretory cells ที่อยู่ในกลุ่ม
ของเซลล์ประสาทที่ชื่อว่า supraoptic nucleus และ paraventricular nucleus ของสมองส่วนไฮ
โปธาลามัส นอกจากออกฤทธิ์เป็นสารสื่อประสาทแล้ว ยังถูกส่งไปยังต่อมพิธูอิตารีเพื่อหลั่งสู่
กระแสเลือดจากต่อมพิธูอิตารีไปทาหน้าที่ในอวัยวะที่อยู่ห่างไกล ซึ่งเราจัดว่าเป็นคุณสมบัติของ
ฮอร์โมน (neurohypophyseal hormone) ออกซิโทซินมีบทบาทสาคัญในหลายอวัยวะโดยเฉพาะ
ในสามส่วนหลัก คือ ไฮโปธาลามัส ต่อมพิธูอิตารี (pituitary gland) และต่อมหมวกไต ที่
เรียกว่า hypothalamic pituitary adrenal (HPA) axis
• การเกี้ยวพาราสี :ในชั่วโมงแรกๆ หรือวันแรกๆ
การเกี้ยวพาอาจเปรียบได้กับการเข้าบ่อนหรือใช้ยาเสพติด ศูนย์กลางในสมองส่วนที่เกี่ยวกับการให้
รางวัลเป็นตัวการของอารมณ์รุนแรงที่ควบคุมพฤติกรรมของเรา พื้นที่ในสมองส่วนหน้าที่เรียกว่า
นิวเคลียสแอกคัมเบนส์ หรือ NAcc จะสารสื่อประสาทโดปามีนออกมา ทาให้เกิดความพึงพอใจอย่างยิ่ง
จนเรากระหายอยากจะทาซ้าการกระทาที่ทาให้สารนั้นหลั่งออกมาอีก ในการทดลองนักวิทยาศาสตร์วัด
ระดับโดปามีนที่เพิ่มขึ้นใน NAcc ของผู้เข้ารับการทดลองที่ได้รับคาสัญญาว่าจะได้รับเงินตอบแทนกับ
ผู้ชายรักต่างเพศที่เห็นภาพของผู้หญิง
• ตกหลุมรัก : ช่วง 6-12 เดือนแรก
ความสุขคือความเครียด ความอิ่มเอิบใจในช่วงตกหลุมรักนั้น ปกติมักมองกันว่าเป็นช่วงเวลาของ
ความสุข แต่เอาเข้าจริงมันแฝงไว้ด้วยความไม่ไว้วางและความไม่มั่นคง เมื่อนักวิทยาศาสตร์ตรวจสมอง
ของคนที่เพิ่งตกหลุมรัก ก็พบว่ามีสภาวะเครียดร่วมด้วยอย่างเห็นได้ชัด ฮอร์โมนที่มีความเครียดมี
ระดับสูง และพื้นที่ส่วนใหญ่ส่วนที่สมองทางานเกี่ยวกับการเลือกและการตัดสินว่าคนอื่นมีจุดมุ่งหมาย
อย่างไรเกิดกิจกรรมสูงขึ้น
• ความสัมพันธ์คงที่ : 1 ปี ขึ้นไป
ฮอร์โมนสร้างความมั่นคงปลอดภัย หลังผ่านช่วงเวลาแห่งความเครียดและความสุขใจ
ของการตกหลุมรักไปราว 6-12 เดือน ความสัมพันธ์จะเข้าสู่ช่วงคงที่ ซึ่งถูกควบคุมโดย
สารเคมีตัวอื่น ฮอร์โมนคอร์ติซอลและโปรตีน NGF ลดลงสู่ระดับปกติ แต่ปริมาณฮอร์โมน
ออกซิโทซินจะเพิ่มขึ้น ออกซิโทซินจะมีประสิทธิภาพต่อสมองส่วนอะมิกดาลาในสมองใหญ่ส่วน
ขมับตรงส่วนนั้น ฮอร์โมนจะสู้กับความเครียดและความกังวล ทั้งช่วยสร้างความรู้สึกปลอดภัย
และสันติในความสัมพันธ์ที่คงที่
• ออกซิโทซินทาให้คุณน่าดึงดูด
ฮอร์โมนออกซิโทซินเป็นกุญแจสาคัญในชีวิต รักของมนุษย์ในปี 2013 จิตแพทย์ชาว
เยอรมัน เรเนอ ฮูร์เลมันน์ แห่งมหาวิทยาลัยบอนน์ในเยอรมนี ตีพิมพ์ผลการทดลองน่าตื่นเต้น
เกี่ยวกับออกซิโทซิน ฮูร์เลมันน์ให้ชายหนุ่ม 20 คนที่มีความสัมพันธ์ราบรื่นและยาวนานมองดู
ภาพของผู้หญิงหลายๆ คน โดยในภาพเหล่านั้นมีภาพแฟนของเขารวมอยู่กับผู้หญิงที่เขาไม่
รู้จัก โดยผู้ชายเหล่านั้นต้องให้คะแนนความสวยกับผู้หญิงแต่ละคน
สามารถวัดระดับความรักได้ คนที่มีความรักมักเป็นกังวลว่าคนรักจะรักตอบหรือไม่
พื้นที่เล็กๆ ในสมองที่เรียกว่า แองกูลาร์ไจรัส () ซึ่งอยู่ระหว่างสมองส่วนใหญ่ส่วนท้ายทอยกับ
ความเข้าใจเรื่องอารมณ์ ความรู้สึกและเจตนาของคนอื่น (ทฤษฎีแห่งจิตใจ) สมองส่วนนี้จะ
ทางานหนักเวลาเราตกหลุมรัก สเตฟานี ออร์ทีค แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตแซน
ตาบาร์บารา สแกนสมองของผู้หญิงที่กาลังมีความรัก 29 คน เวลาที่พวกเธอนึกถึงความรัก
การทดลองแสดงให้เห็นว่า ยิ่งรู้สึกรักมากเท่าไหร่ สมองส่วนนี้จะทางานหนักมากเท่านั้น
• ความสัมพันธ์ที่มั่นคงช่วยยับยั้งอารมณ์ทางด้านลบ
นักชีววิทยาทางประสาท เซเมียร์ เซกิ จากยูนิเวอร์ซิตีคอลเลจในลอนดอน ศึกษาผล
สแกนสมองในการทดลองของนักวิทยาศาสตร์อื่น ขณะที่ผู้เข้าทดลองเห็นภาพคนรักของตนเอง
เขาสรุปว่า สมองหลายส่วนจะทางานน้อยลงถ้าเรามีความสัมพันธ์ที่มั่นคงและมีความสุข สมอง
ดังกล่าว ได้แก่ อะมิกดาลา ซึ่งเกี่ยวข้องกับความกลัว และเปลือกสมองส่วนข้างและส่วนขมับซึ่ง
เกี่ยวข้องกับการสร้างอารมณ์ทางลบกิจกรรมที่น้อยลงในพื้นที่เหล่านี้จะทาให้เกิดความสมดุล
ความสงบ และความรู้สึกปลอดภัยมากขึ้น อันเป็นอารมณ์หลักของความสัมพันธ์ที่มีความสุข
• ฮอร์โมนสามชนิดควบคุมความปรารถนา
ชีวิตทางเพศของเราถูกควบคุมจากฮอร์โมนสามชนิด นั่นคือฮอร์โมนเพศของชายและ
หญิง ได้แก่ เทสโทสเตอโรน และเอสโตรเจน กับฮอร์โมนออกซิโทซิน ซึ่งทาให้เกิดความ
รื่นรมย์และความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกัน
• เลิกรา
รักที่ไม่สมหวังเหมือนโรคซึมเศร้า หากความสัมพันธ์ระยะยาวจบสิ้นลง เรา
สามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงในสมองได้เช่นกัน จิตแพทย์ คริสตินา สเติสเซิล จาก
มหาวิทยาลัยไฟรดริช อาเลกซันเดอร์-อูนิเวอร์ซิแตต แอร์ลังเงินเนอร์นแบร์ก ใน
เยอรมนี เปรียบเทียบผลสแกนสมองของคน 12 คน ที่ถูกคู่ทิ้งไปกับอีก 12 คน ที่มี
ความสุขในความสัมพันธ์สมองส่วนอินซูลาร์คอร์เทกซ์ (Insular Cortex) กับแอนทีเรียร์
ซิงกูเลตคอร์เทกซ์ (Anterior Cingulate Cortex: ACC) ของคนที่ถูกทิ้งจะทางานลด
น้อยลง
สมองบริเวณนี้จะประมวลผลอารมณ์ทั้งบวกและลบ และจะทางานลดน้อยลงใน
ผู้ป่ วยที่เป็ นโรคซึมเศร้าด้วย ดังนั้นจึงอธิบายได้ว่าทาไมเรารู้สึกเศร้าเมื่อ
ความสัมพันธ์ระยะยาวจบสิ้นลง.
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ตกหลุมรัก คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
การตกหลุมรักไม่สามารถให้ความหมายได้อย่างชัดเจน เพราะ การตกหลุมรักใน
แต่ละคนมักจะแตกต่างกันแต่สิ่งที่สามารถบอกได้ชัดเจนคือกระบวนการทางเคมีที่
เกิดขึ้นภายในร่างกายขณะตกหลุมรัก
ข้อเสนอแนะ
1. ควรศึกษาข้อมูลหลากหลายแหล่งความรู้เพื่อความถูกต้องแม่นยาในการนามา
เผยแพร่
2. ควรหาข้อมูลเรื่องการตกหลุมรักในเพศเดียวกัน
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
คณะผู้จัดทา
นาย ภาสกร วรภาสลาภิน เลขที่ 12
นาย นราวิชญ์ ลู่เกียง เลขที่ 15
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6

More Related Content

Similar to ตกหลุมรัก

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)Tuk Diving
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องPadvee Academy
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
การเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกตการเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกตorawan chaiyakhan
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 

Similar to ตกหลุมรัก (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
การเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกตการเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกต
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 

ตกหลุมรัก