SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกากับดูแล




       โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบัตการ
                                ิ
       NT TAM Camp 2008
                                      วราภรณ์ วัชรสุ รกุล
                                สานักงานปรมาณูเพือสันติ
                                                  ่
เนื้อหาการบรรยาย
• ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์
   – ความหมายของความปลอดภัยทางนิวเคลียร์
   – ทางวิศวกรรม
   – ทางด้านบริ หารจัดการ
• แนวคิดด้านการกากับดูแลความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล
• ตัวอย่างการกากับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ของต่างประเทศ
• การกากับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ของไทย
• ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ หมายถึง การดาเนินการให้เป็ นไปตาม
  เงื่อนไขการเดินเครื่ อง(ปฏิกรณ์ปรมาณู/นิวเคลียร์) อย่างเหมาะสม โดยมี
  มาตรการป้ องกันการเกิดอุบติเหตุ หรื อ การบรรเทาผลของอุบติเหตุ เพื่อ
                              ั                               ั
  ป้ องกันมิให้ผปฏิบติงาน ประชาชน และสิ่ งแวดล้อม ได้รับผลกระทบที่
                ู้ ั
  เป็ นอันตรายจากรังสี
วัตถุประสงค์ ด้านความปลอดภัย
• วัตถุประสงค์ทวไปด้ านความปลอดภัยทางนิวเคลียร์
                 ั่
   – เพือปองกันประชาชน สั งคม และ สิ่ งแวดล้อม จากผลกระทบ
         ่ ้
      ทางรังสี โดยจัดให้ มีการปองกันและบารุงรักษาระบบต่ างๆเพือ
                               ้                              ่
      กักเก็บสารกัมมันตรังสี ไม่ ให้ แพร่ กระจาย

• วัตถุประสงค์ด้านการปองกันรังสี
                        ้
   – เพือประกันว่ าการได้ รับรังสี ในทุกขั้นตอนของการเดินเครื่อง
        ่
      ตามทีวางแผนไว้ เป็ นปริมาณน้ อยทีสุดเท่ าทีทาได้ และ อยู่
            ่                              ่     ่
      ภายใต้ ปริมาณที่กาหนด และมั่นใจได้ ว่ามีการบรรเทาผลกระทบ
      ทางรังสี จากกรณีอุบัติเหตุ
วัตถุประสงค์ ด้านความปลอดภัย (ต่ อ)
• วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัยทางเทคนิค
   – เพือนามาตรการต่ างๆทีสมเหตุสมผลมาใช้ ปองกันอุบัติเหตุใน
         ่                     ่                   ้
      สถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์ และบรรเทาผลกระทบหากเกิด
      อุบัติเหตุขึน
                  ้
   – เพือให้ มั่นใจว่าอุบัติเหตุท้งหมดทีอาจเกิดขึน ได้ ถูกนามา
           ่                      ั     ่        ้
      พิจารณาตั้งแต่ ข้ันตอนการออกแบบ (รวมถึงอุบัติเหตุทมีโอกาส
                                                             ี่
      เกิดขึนน้ อยมากๆ) มีผลกระทบทางรังสี น้อย และ อยู่ภายใต้
               ้
      เกณฑ์ กาหนด
   – เพือให้ มั่นใจว่าอุบัติเหตุรุนแรง และ มีผลกระทบทางรังสี มาก มี
             ่
      โอกาสเกิดขึนได้ ยาก
                    ้
แนวคิดพืนฐานด้ านความปลอดภัยทางนิวเคลียร์
          ้

• IAEA Safety Fundamentals, Safety Series No. 110, กาหนดขึน             ้
  เพื่อ ให้ มั่น ใจว่ า หน่ วยงานภาครั ฐ หน่ วยงานเดิ น เครื่ อ ง และสถาน
  ปฏิบัติการทางนิวเคลียร์ มีการดาเนิ นการให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ด้าน
  ความปลอดภัย โดยอาศัยหลักการและข้ อกาหนดต่ างๆ ดังนี:           ้
   – กรอบกฎหมายและการกากับดูแล
   – การบริหารจัดการด้ านความปลอดภัย
   – มาตรการความปลอดภัยทางเทคนิค
   – การทวนสอบด้ านความปลอดภัย
กฎหมายและการกากับดูแล
• ข้ อกาหนดทางกฎหมาย
   – รัฐบาลต้ องตรากฎหมาย และ จัดตั้งหน่ วยงานกากับดูแลสถาน
      ปฏิบัติการทางนิวเคลียร์ โดยมีการแบ่ งแยกหน้ าทีรับผิดชอบ
                                                     ่
      ระหว่ างหน่ วยงานกากับดูแล และ หน่ วยงานเดินเครื่องอย่ าง
      ชัดเจน
กฎหมายและการกากับดูแล (ต่ อ)

• หน้ าทีรับผิดชอบของหน่ วยงานกากับดูแล
           ่
   – ต้ องเป็ นหน่ วยงานอิสระทีไม่ ขึนกับหน่ วยงานเดินเครื่อง หรือ
                                 ่ ้
      เกียวข้ องกับการใช้ ประโยชน์ จากพลังงานนิวเคลียร์
         ่
   – มีหน้ าทีในการออกใบอนุญาต ตรวจสอบ และ บังคับให้ เป็ นไปตาม
               ่
      กฎหมาย โดยต้ องมีอานาจหน้ าที่ สมรรถนะ และ ทรัพยากรอย่ าง
      เพียงพอที่จะดาเนินการตามที่ได้ รับมอบหมาย และต้ องไม่ มีหน้ าที่
      รับผิดชอบอืนที่ขัดต่ อหน้ าทีรับผิดชอบด้ านความปลอดภัย
                   ่               ่
กฎหมายและการกากับดูแล (ต่ อ)

• หน้ าที่รับผิดชอบของหน่ วยงานเดินเครื่อง
   – กาหนดให้ หน่ วยงานเดินเครื่อง เป็ นผู้รับผิดชอบด้ านความปลอดภัย
      เบืองต้ นของเครื่องปฏิกรณ์
         ้
การบริหารจัดการด้ านความปลอดภัย
•   ความรับผิดชอบในการบริหารจัดการ
•   การประกันคุณภาพ
•   ปัจจัยมนุษย์ (Human factor)
•   การจัดการอุบติเหตุ และ การเตรียมความพร้ อม
                  ั
•   วัฒนธรรมความปลอดภัย
•   การประเมินตนเอง
•   คณะกรรมการทบทวนจากภายนอก (Peer review)
•   การปฏิบัตงานอย่ างยอดเยียม (Operational excellence)
              ิ             ่
มาตรการความปลอดภัยทางเทคนิค

• สถานทีต้ัง
          ่
• การออกแบบและก่อสร้ าง
   – แนวคิดด้ านการปองกันเชิงลึกซึ่งมีความสาคัญเหมือนกับ
                         ้
     วัฒนธรรมความปลอดภัย
• การติดตั้งทดสอบ
• การเดินเครื่อง และ การซ่ อมบารุง
• การจัดการกากกัมมันตรังสี และ การเลิกดาเนินงาน
• การใช้ เทคโนโลยีที่เป็ นทียอมรับ
                            ่
การทวนสอบด้ านความปลอดภัย

– หน่ วยงานเดินเครื่องต้ องมีการทวนสอบโดยการวิเคราะห์ ความ
  ปลอดภัย เฝ้ าระวัง ทดสอบ ตรวจสอบ ว่ าสภาพปัจจุบันของถาน
  ปฏิบัติการสามารถเดินเครื่องได้ ตามขีดจากัดและเงื่อนไขการ
  เดินเครื่อง เป็ นไปตามข้ อกาหนดและรายงานวิเคราะห์ ความ
  ปลอดภัย
– ต้ องมีการการประเมินความปลอดภัยซ้าอย่ างเป็ นระบบตลอดช่ วง
  อายุการใช้ งานตามข้ อกาหนด โดยคานึงถึงประสบการณ์ การ
  เดินเครื่อง และข้ อมูลด้ านความปลอดภัยจากหน่ วยงานทีเ่ กียวข้ อง
                                                           ่
การกากับดูแลความปลอดภัย
เพื่อเป็ นหลักประกันด้ านความปลอดภัย
ของโรงไฟฟานิวเคลียร์ แก่ ประชาชนและ
            ้
               สิ่งแวดล้ อม
วิธีทจะบรรลุถงความปลอดภัยโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
     ี่      ึ

       1. ด้านเทคโนโลยี
       2. ด้านบริ หารจัดการ
การกากับดูแลโดยวิธีบริหารจัดการ
   การประเมินความปลอดภัย
   กระบวนการอนุญาต
   • การคัดเลือกสถานที่ต้ งั
   • การออกแบบและก่อสร้าง
   • การเริ่ มดาเนินงาน (ทดสอบติดตั้ง)
   • การเดินเครื่ องใช้งาน
   • การเลิกดาเนินงาน (การรื้ อถอน)
   การตรวจสอบและบังคับให้เป็ นไปตามกฎหมาย
กระบวนการกากับดูแลความปลอดภัย
• ประเมินความปลอดภัย
  – สถานที่ต้ง
             ั
  – การออกแบบ
  – ขั้นตอนต่ างๆในการอนุญาต
• ออกใบอนุญาต
  – การก่ อสร้ าง
  – การติดตั้งทดสอบก่ อนเดินเครื่อง
  – การเดินเครื่องใช้ งานโรงไฟฟา
                               ้
  – การรื้อถอนเมื่อเลิกใช้ งาน
กระบวนการกากับดูแลความปลอดภัย (ต่ อ)
• ตรวจสอบและบังคับให้ เป็ นไปตามกฎหมาย
  – ระหว่ างการก่ อสร้ าง
  – ระหว่ างการทดสอบติดตั้ง
  – ระหว่ างการเดินเครื่องโรงไฟฟา
                                ้
  – ภายหลังการเลิกใช้ งาน
หลักในการประเมินความเหมาะสมสถานที่ต้ ง
                                          ั
• คานึงถึงองค์ ประกอบทีเ่ กียวข้ องซึ่งอาจกระทบต่ อความปลอดภัยสถาน
                            ่
  ปฏิบัติการ หรือ จากการดาเนินงานของสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์
  และ การดาเนินแผนกรณีฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ /รังสี
• การพิจารณาต้ องประเมินไปจนชั่วอายุของสถานปฏิบัติการ และมีการ
  ประเมินซ้าเป็ นระยะเพือประกันว่ าองค์ ประกอบทีเ่ กียวข้ องยังสามารถ
                         ่                           ่
  ยอมรับได้
วัตถุประสงค์ของการพิจารณาความเหมาะสมสถานที่ต้ ง
                                                ั
• เพือปองกันประชาชน และสิ่ งแวดล้อมจากผลกระทบทางรังสี ทั้งในการ
       ่ ้
  เดินเครื่องปกติ หรือ จากอุบติเหตุ
                              ั
• เพือแสดงให้ เห็นว่ าสถานที่ต้งมีความเหมาะสมในแง่ ของความปลอดภัย
     ่                          ั
  โดยสะท้ อนออกมาในลักษณะการออกแบบ และ การเดินเครื่อง ให้
  สอดคล้องกัน
การพิจารณาด้ านความปลอดภัย

ด้ านสถานที่ต้งโรงไฟฟานิวเคลียร์
              ั      ้

 * ไม่ อยู่ในเขตที่เกิดภัยธรรมชาติ
 * ห่ างจากคลังแสง คลังนามัน หรือ แนวขึนลงของเครื่องบิน
                            ้            ้
   หรือพิจารณาว่ ามีโรงงานนิวเคลียร์ อนในบริเวณใกล้ เคียงหรือไม่
                                      ื่
 * ประชากรไม่ หนาแน่ น
 * ใกล้ แหล่ งนาขนาดใหญ่
                ้
 * ลักษณะทางธรณีวทยาเหมาะสม
                       ิ
เทคโนโลยีความปลอดภัยโรงไฟฟานิวเคลียร์
                                     ้
•    ปรัชญาการออกแบบอาศัยหลักพืนฐาน 3 ประการ:
                                ้
    – การควบคุมปฏิกริยา /การดับเครื่องปฏิกรณ์
                     ิ
    – การระบายความร้ อนจากแกนปฏิกรณ์
    – การกักเก็บสารกัมมันตรังสี
       •   การออกแบบเม็ดเชื้อเพลิง
       •   การออกแบบระบบเครื่องปฏิกรณ์
       •   การออกแบบอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์

    โดยรวมคุณลักษณะภายใน และ คุณลักษณะทีไม่ ต้องพึงพลังงานในระบบความ
                                        ่         ่
    ปลอดภัย และระบบสนับสนุนทางวิศวกรรม

    ระบบความปลอดภัย และระบบตรวจติดตาม เครื่องปฏิกรณ์ ต้ องมีระบบสารอง
    ซึ่งแตกต่ างกัน และสามารถทางานได้ โดยอิสระไม่ ขึนแก่ กน
                                                    ้     ั
การควบคุมปฏิกริยาลูกโซ่
             ิ
การพิจารณาด้ านความปลอดภัย (ต่ อ)
อาศัยหลักการป้ องกันหลายขั้นตอน
- การปองกันเหตุผดปกติ
      ้            ิ
        * การออกแบบให้ การเดินเครื่องมีความผิดพลาดน้ อยทีสุด
                                                         ่
        * การมีกฎระเบียบ และการตรวจสอบการดาเนินการ
        * การเลือกใช้ วสดุอุปกรณ์ และการควบคุมคุณภาพ
                       ั
        * การฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่
  - การควบคุม
        * การออกแบบระบบให้ สามารถตรวจสอบความผิดปกติได้ อย่ างรวดเร็ว
        * การออกแบบให้ ดบเครื่องอัตโนมัตกรณีเหตุฉุกเฉิน รวมทั้ง ECCS
                           ั             ิ
        * การตรวจสอบระบบอุปกรณ์ และ การซ่ อมบารุง ตามระยะเวลา
  - การดาเนินการแก้ ไข (แผนฉุกเฉินกรณีอุบตเิ หตุและพิทกษ์ ความ
                                           ั           ั
         ปลอดภัยวัสดุนิวเคลียร์ )
สรุปแผนภูมของการป้ องกันเชิงลึก (หลายขั้นตอน)
          ิ
การออกแบบโรงไฟฟาและการก่ อสร้ าง
                 ้
• โรงไฟฟาต้ องได้ รับการออกแบบให้ มีโครงสร้ างที่
            ้
  แข็งแรง และเหมาะสมกับสภาพด้ อยของสถานที่ตง       ั้
  นันๆ
     ้
• หน่ วยงานกากับดูแลความปลอดภัยต้ องมีโปรแกรม
  ตรวจสอบการก่ อสร้ างเป็ นระยะ เพื่อให้ เป็ นไปตามแบบ
  ที่ได้ ผ่านการพิจารณาความปลอดภัยแล้ ว
การทดสอบเดินเครื่ อง

• ก่ อนการเดินเครื่ องใช้ งานจริงจะมีการทดสอบระบบ
  ต่ างๆ ก่ อน เพื่อแสดงว่ าสามารถทางานได้ ตามการ
  ออกแบบ และเพื่อกาหนดค่ าความปลอดภัยของระบบ
  และอุปกรณ์ ต่างๆ เมื่อการทดสอบเดินเครื่องผ่ านการ
  พิจารณาจากหน่ วยงานกากับดูแลความปลอดภัยแล้ ว
  จึงจะใส่ เชือเพลิง เพื่อเดินเครื่ องใช้ งานจริง
              ้
การเดินเครื่ องใช้ งาน

• โรงไฟฟานิวเคลียร์ จะต้ องมีใบอนุญาตการเดินเครื่ อง
           ้
  ซึ่งหน่ วยงานกากับดูแลความปลอดภัยจะเป็ นผู้พจารณา
                                              ิ
  ให้ ใบอนุญาต และระหว่ างอายุของใบอนุญาตจะมีการ
  ตรวจสอบเป็ นระยะด้ วย
การรื อถอนโรงไฟฟาเมื่อเลิกใช้ งาน
          ้         ้

• เมื่อโรงไฟฟานิวเคลียร์ ถงเวลาปลดระวาง จะต้ อง
             ้            ึ
  ทาแผนการรือถอนทังการดาเนินการและแผนการ
               ้      ้
  จัดการกากกัมมันตรังสีให้ หน่ วยงานกากับดูแล
  พิจารณาก่ อนการดาเนินการ
ตัวอย่ างกระบวนการกากับดูแลความปลอดภัย
           และ กระบวนการต่ างๆ
ปัญหาทีมกถูกถามบ่ อยๆ
                          ่ ั

•   ใครเป็ นคนกากับดูแล
•   หน่วยงานกากับดูแลฯ เป็ นหน่วยงานอิสระหรื อไม่
•   ใครเป็ นผูออกใบอนุญาต
              ้
•   กรอบภาระรับผิดชอบเป็ นอย่างไร
•   มีกระบวนการควบคุมในการพิจารณาของหน่วยงานกากับดูแลอย่างไร
ตัวอย่ างกระบวนการกากับดูแลความปลอดภัย
              ประเทศญีปน
                       ่ ุ่
ตัวอย่ างกระบวนการกากับดูแลความปลอดภัย
             ประเทศแคนาดา
กระบวนการกากับดูแลความปลอดภัยของไทย
การกากับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ รังสี

• พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพือสั นติ พ.ศ. ๒๕๐๔
                                    ่
• พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพือสั นติ (ฉบับที๒) พ.ศ. ๒๕๐๘
                                      ่        ่
   – กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑-๘
   – กฎกระทรวงกาหนดเงื่อนไขวิธีการขอรับใบอนุญาต พ.ศ. ๒๕๔๖
   – กฎกระทรวงว่าด้ วยการจัดการกากกัมมันตรังสี พ.ศ. ๒๕๔๖
   – ร่ างกฎกระทรวงว่ าด้ วยวิธีการขอใบอนุญาต และ เงื่อนไขทีผู้รับในอนุญาต
                                                            ่
     ต้ องปฏิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๐
        • ระเบียบปฏิบัติ ประกาศคณะกรรมการ มาตรฐาน และแนวปฏิบติ       ั
พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ
• ให้ รัฐมนตรีมีอานาจ
 – กาหนดเงือนไขและวิธีการขอรับใบอนุญาต
           ่
 – กาหนดเงือนไขให้ ผู้รับใบอนุญาตปฏิบติตาม
             ่                       ั
• คณะการการพลังงานปรมาณูเพือสั นติมอานาจ
                           ่       ี
 – ออกใบอนุญาต วางระเบียบ มาตรฐาน เพือควบคุมให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนด/เงือนไข
                                              ่                        ่
 – ระงับการใช้ เพิกถอน สั่ งให้ แก้ ไข เพือความปลอดภัย
                                          ่
• พ.ร.บ. ห้ าม
 – ผลิต มีไว้ ในครอบครอง และใช้ วสดุนิวเคลียร์ พเิ ศษ พลังงานปรมาณู วัสดุพลอยได้ หรือวัสดุ
                                         ั
    ต้ นกาลังซึ่งพ้นสภาพทีเ่ ป็ นอยู่ตามธรรมชาติในทางเคมี
 – นาหรือส่ งออกนอกราชอาณาจักร นาหรือสั่ งเข้ ามาในราชอาณาจักร ซึ่งวัสดุนิวเคลียร์ พเิ ศษ
    วัสดุพลอยได้ ฯลฯ
                  เว้ นแต่ ได้ รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการฯ
 # กาหนดหน้ าที่พนักงานเจ้ าหน้ าทีตรวจสอบความปลอดภัยฯ
                                       ่
กฎกระทรวง
• กาหนดวิธีการและเงื่อนไขการขอรับใบอนุญาต
• กาหนดเงื่อนไขทีผู้รับใบอนุญาตต้ องปฏิบติตาม
                     ่                       ั
• กาหนดปริมาณวัสดุต้นกาลังในสิ นแร่
• กาหนดเกณฑ์ ปริมาณรังสี สาหรับผู้ปฏิบตงาน และ ประชาชนทัวไป
                                         ั ิ                   ่
• กาหนดให้ มีมาตรการปองกันรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัย การ
                         ้
  พิทกษ์ วสดุนิวเคลียร์ พเิ ศษ การปองกันอัคคีภัย แผนฉุกเฉินทาง
      ั ั                          ้
  นิวเคลียร์ /รังสี ฯลฯ
• กาหนดมาตรการจัดการกากกัมมันตรังสี
บทบาทของสานักงานปรมาณูเพือสันติ
                                     ่

กาหนดมาตรการควบคุม ประเมิน และตรวจสอบการปฏิบติงานให้ เป็ นไปด้ วย
                                                   ั
ความปลอดภัย (โดยผ่ านกระบวนการออกใบอนุญาตตามมาตรฐานสากล
เพือมิให้ ส่งผลกระทบต่ อประชาชน และ สิ่ งแวดล้ อม)
   ่

  - การพิจารณาความเหมาะสมสถานที่ต้ง  ั
  - การพิจารณาการออกแบบ
  - การพิจารณารายงานการวิเคราะห์ ความปลอดภัย
  - การตรวจสอบระหว่ างการก่ อสร้ าง ทดสอบเดินเครื่อง การเดินเครื่อง
    ใช้ งาน และ การรื้อถอน รวมถึงความพร้ อมของเจ้ าหน้ าที่ และ การจัด
    การกากกัมมันตรังสี ด้วย
Infrastructure of regulatory system

                       THAI ATOMIC ENERGY COMMISSION




   18 Sub -Committees                        OFFICE OF ATOMS FOR PEACE (OAP)



 Medical Application
  Agricultural Application
  Industrial Application
  Licensing of Radioisotopes and Nuclear Materials (LRNMS)
  Nuclear Law

  Food Processing Technology

  Reactor Safety (RSSC)
  (Formation of Regulatory and Safety Standard for NPP and
   Reactor Safety)

  Etc.
Organization chart
                                      Prime minister

Thai Atomic Energy Commission                             Ministry of Science and Technology

       18 Sub-Committees                 Office of Atoms for Peace

                 Deputy Secretary General (1)             Deputy Secretary General (2)

             Bureau of Nuclear Safety Regulation           Office of Secretary

            Bureau of Radiation Safety Regulation           Other Support groups

         Bureau of Atomic Energy Administration

 Bureau of Technical Support for Safety Regulation
การยอมรับโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ในแต่ละประเทศ   GlobeScan Incorporate, 2005
sir_lop@yahoo.com

More Related Content

What's hot

เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxssuser920267
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศmungmat
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...
แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...
แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...wirarat
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 

What's hot (20)

4
44
4
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แสง ป2.pptx
แสง ป2.pptxแสง ป2.pptx
แสง ป2.pptx
 
Cell
CellCell
Cell
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...
แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...
แบบฝึกหัดการคิดวิเคราะห์แบบ KWL Plus กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรี...
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
C3
C3C3
C3
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 

Viewers also liked

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)Office of Atoms for Peace
 
วัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรม
วัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรมวัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรม
วัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรมOffice of Atoms for Peace
 
การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์
การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์
การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์Office of Atoms for Peace
 
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัยอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัยOffice of Atoms for Peace
 
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์Office of Atoms for Peace
 
ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)
ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)
ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)Office of Atoms for Peace
 
การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์
การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์
การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์Office of Atoms for Peace
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์Office of Atoms for Peace
 
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีOffice of Atoms for Peace
 
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีเครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีOffice of Atoms for Peace
 
Radiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentRadiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentPawitra Masa-ah
 

Viewers also liked (13)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
 
วัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรม
วัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรมวัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรม
วัสดุกัมมันตรังสีกับการฆาตกรรม
 
การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์
การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์
การตรวจสอบสถานปฏิบัติการทางรังสีทางการแพทย์
 
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัยอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
 
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
 
ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)
ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)
ระเบิดนิวเคลียร์ (Dirty Bomb)
 
การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์
การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์
การใช้ประโยชน์จากวัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
 
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
 
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีเครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
 
รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์
 
Radiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentRadiation Safety Instrument
Radiation Safety Instrument
 
การวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสีการวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสี
 

Similar to ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล

การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...Natkon Woraputthirunmas
 
Construction safety management
Construction safety managementConstruction safety management
Construction safety managementNantawit Boondesh
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิต
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิตLoadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิต
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิตนวพร คำแสนวงษ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 

Similar to ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล (9)

การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
 
Construction safety management
Construction safety managementConstruction safety management
Construction safety management
 
Project 4
Project 4Project 4
Project 4
 
Project 4
Project 4Project 4
Project 4
 
Doc006
Doc006Doc006
Doc006
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิต
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิตLoadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิต
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเทคนิค กรมสุขภาพจิต
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
IT Risk Assessment
IT Risk AssessmentIT Risk Assessment
IT Risk Assessment
 
4 april report
4 april report4 april report
4 april report
 

ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล

  • 1. ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกากับดูแล โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบัตการ ิ NT TAM Camp 2008 วราภรณ์ วัชรสุ รกุล สานักงานปรมาณูเพือสันติ ่
  • 2. เนื้อหาการบรรยาย • ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ – ความหมายของความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ – ทางวิศวกรรม – ทางด้านบริ หารจัดการ • แนวคิดด้านการกากับดูแลความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล • ตัวอย่างการกากับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ของต่างประเทศ • การกากับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ของไทย
  • 3. • ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ หมายถึง การดาเนินการให้เป็ นไปตาม เงื่อนไขการเดินเครื่ อง(ปฏิกรณ์ปรมาณู/นิวเคลียร์) อย่างเหมาะสม โดยมี มาตรการป้ องกันการเกิดอุบติเหตุ หรื อ การบรรเทาผลของอุบติเหตุ เพื่อ ั ั ป้ องกันมิให้ผปฏิบติงาน ประชาชน และสิ่ งแวดล้อม ได้รับผลกระทบที่ ู้ ั เป็ นอันตรายจากรังสี
  • 4. วัตถุประสงค์ ด้านความปลอดภัย • วัตถุประสงค์ทวไปด้ านความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ ั่ – เพือปองกันประชาชน สั งคม และ สิ่ งแวดล้อม จากผลกระทบ ่ ้ ทางรังสี โดยจัดให้ มีการปองกันและบารุงรักษาระบบต่ างๆเพือ ้ ่ กักเก็บสารกัมมันตรังสี ไม่ ให้ แพร่ กระจาย • วัตถุประสงค์ด้านการปองกันรังสี ้ – เพือประกันว่ าการได้ รับรังสี ในทุกขั้นตอนของการเดินเครื่อง ่ ตามทีวางแผนไว้ เป็ นปริมาณน้ อยทีสุดเท่ าทีทาได้ และ อยู่ ่ ่ ่ ภายใต้ ปริมาณที่กาหนด และมั่นใจได้ ว่ามีการบรรเทาผลกระทบ ทางรังสี จากกรณีอุบัติเหตุ
  • 5. วัตถุประสงค์ ด้านความปลอดภัย (ต่ อ) • วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัยทางเทคนิค – เพือนามาตรการต่ างๆทีสมเหตุสมผลมาใช้ ปองกันอุบัติเหตุใน ่ ่ ้ สถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์ และบรรเทาผลกระทบหากเกิด อุบัติเหตุขึน ้ – เพือให้ มั่นใจว่าอุบัติเหตุท้งหมดทีอาจเกิดขึน ได้ ถูกนามา ่ ั ่ ้ พิจารณาตั้งแต่ ข้ันตอนการออกแบบ (รวมถึงอุบัติเหตุทมีโอกาส ี่ เกิดขึนน้ อยมากๆ) มีผลกระทบทางรังสี น้อย และ อยู่ภายใต้ ้ เกณฑ์ กาหนด – เพือให้ มั่นใจว่าอุบัติเหตุรุนแรง และ มีผลกระทบทางรังสี มาก มี ่ โอกาสเกิดขึนได้ ยาก ้
  • 6. แนวคิดพืนฐานด้ านความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ ้ • IAEA Safety Fundamentals, Safety Series No. 110, กาหนดขึน ้ เพื่อ ให้ มั่น ใจว่ า หน่ วยงานภาครั ฐ หน่ วยงานเดิ น เครื่ อ ง และสถาน ปฏิบัติการทางนิวเคลียร์ มีการดาเนิ นการให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ด้าน ความปลอดภัย โดยอาศัยหลักการและข้ อกาหนดต่ างๆ ดังนี: ้ – กรอบกฎหมายและการกากับดูแล – การบริหารจัดการด้ านความปลอดภัย – มาตรการความปลอดภัยทางเทคนิค – การทวนสอบด้ านความปลอดภัย
  • 7. กฎหมายและการกากับดูแล • ข้ อกาหนดทางกฎหมาย – รัฐบาลต้ องตรากฎหมาย และ จัดตั้งหน่ วยงานกากับดูแลสถาน ปฏิบัติการทางนิวเคลียร์ โดยมีการแบ่ งแยกหน้ าทีรับผิดชอบ ่ ระหว่ างหน่ วยงานกากับดูแล และ หน่ วยงานเดินเครื่องอย่ าง ชัดเจน
  • 8. กฎหมายและการกากับดูแล (ต่ อ) • หน้ าทีรับผิดชอบของหน่ วยงานกากับดูแล ่ – ต้ องเป็ นหน่ วยงานอิสระทีไม่ ขึนกับหน่ วยงานเดินเครื่อง หรือ ่ ้ เกียวข้ องกับการใช้ ประโยชน์ จากพลังงานนิวเคลียร์ ่ – มีหน้ าทีในการออกใบอนุญาต ตรวจสอบ และ บังคับให้ เป็ นไปตาม ่ กฎหมาย โดยต้ องมีอานาจหน้ าที่ สมรรถนะ และ ทรัพยากรอย่ าง เพียงพอที่จะดาเนินการตามที่ได้ รับมอบหมาย และต้ องไม่ มีหน้ าที่ รับผิดชอบอืนที่ขัดต่ อหน้ าทีรับผิดชอบด้ านความปลอดภัย ่ ่
  • 9. กฎหมายและการกากับดูแล (ต่ อ) • หน้ าที่รับผิดชอบของหน่ วยงานเดินเครื่อง – กาหนดให้ หน่ วยงานเดินเครื่อง เป็ นผู้รับผิดชอบด้ านความปลอดภัย เบืองต้ นของเครื่องปฏิกรณ์ ้
  • 10. การบริหารจัดการด้ านความปลอดภัย • ความรับผิดชอบในการบริหารจัดการ • การประกันคุณภาพ • ปัจจัยมนุษย์ (Human factor) • การจัดการอุบติเหตุ และ การเตรียมความพร้ อม ั • วัฒนธรรมความปลอดภัย • การประเมินตนเอง • คณะกรรมการทบทวนจากภายนอก (Peer review) • การปฏิบัตงานอย่ างยอดเยียม (Operational excellence) ิ ่
  • 11. มาตรการความปลอดภัยทางเทคนิค • สถานทีต้ัง ่ • การออกแบบและก่อสร้ าง – แนวคิดด้ านการปองกันเชิงลึกซึ่งมีความสาคัญเหมือนกับ ้ วัฒนธรรมความปลอดภัย • การติดตั้งทดสอบ • การเดินเครื่อง และ การซ่ อมบารุง • การจัดการกากกัมมันตรังสี และ การเลิกดาเนินงาน • การใช้ เทคโนโลยีที่เป็ นทียอมรับ ่
  • 12. การทวนสอบด้ านความปลอดภัย – หน่ วยงานเดินเครื่องต้ องมีการทวนสอบโดยการวิเคราะห์ ความ ปลอดภัย เฝ้ าระวัง ทดสอบ ตรวจสอบ ว่ าสภาพปัจจุบันของถาน ปฏิบัติการสามารถเดินเครื่องได้ ตามขีดจากัดและเงื่อนไขการ เดินเครื่อง เป็ นไปตามข้ อกาหนดและรายงานวิเคราะห์ ความ ปลอดภัย – ต้ องมีการการประเมินความปลอดภัยซ้าอย่ างเป็ นระบบตลอดช่ วง อายุการใช้ งานตามข้ อกาหนด โดยคานึงถึงประสบการณ์ การ เดินเครื่อง และข้ อมูลด้ านความปลอดภัยจากหน่ วยงานทีเ่ กียวข้ อง ่
  • 14. วิธีทจะบรรลุถงความปลอดภัยโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ี่ ึ 1. ด้านเทคโนโลยี 2. ด้านบริ หารจัดการ
  • 15. การกากับดูแลโดยวิธีบริหารจัดการ การประเมินความปลอดภัย กระบวนการอนุญาต • การคัดเลือกสถานที่ต้ งั • การออกแบบและก่อสร้าง • การเริ่ มดาเนินงาน (ทดสอบติดตั้ง) • การเดินเครื่ องใช้งาน • การเลิกดาเนินงาน (การรื้ อถอน) การตรวจสอบและบังคับให้เป็ นไปตามกฎหมาย
  • 16. กระบวนการกากับดูแลความปลอดภัย • ประเมินความปลอดภัย – สถานที่ต้ง ั – การออกแบบ – ขั้นตอนต่ างๆในการอนุญาต • ออกใบอนุญาต – การก่ อสร้ าง – การติดตั้งทดสอบก่ อนเดินเครื่อง – การเดินเครื่องใช้ งานโรงไฟฟา ้ – การรื้อถอนเมื่อเลิกใช้ งาน
  • 17. กระบวนการกากับดูแลความปลอดภัย (ต่ อ) • ตรวจสอบและบังคับให้ เป็ นไปตามกฎหมาย – ระหว่ างการก่ อสร้ าง – ระหว่ างการทดสอบติดตั้ง – ระหว่ างการเดินเครื่องโรงไฟฟา ้ – ภายหลังการเลิกใช้ งาน
  • 18. หลักในการประเมินความเหมาะสมสถานที่ต้ ง ั • คานึงถึงองค์ ประกอบทีเ่ กียวข้ องซึ่งอาจกระทบต่ อความปลอดภัยสถาน ่ ปฏิบัติการ หรือ จากการดาเนินงานของสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์ และ การดาเนินแผนกรณีฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ /รังสี • การพิจารณาต้ องประเมินไปจนชั่วอายุของสถานปฏิบัติการ และมีการ ประเมินซ้าเป็ นระยะเพือประกันว่ าองค์ ประกอบทีเ่ กียวข้ องยังสามารถ ่ ่ ยอมรับได้
  • 19. วัตถุประสงค์ของการพิจารณาความเหมาะสมสถานที่ต้ ง ั • เพือปองกันประชาชน และสิ่ งแวดล้อมจากผลกระทบทางรังสี ทั้งในการ ่ ้ เดินเครื่องปกติ หรือ จากอุบติเหตุ ั • เพือแสดงให้ เห็นว่ าสถานที่ต้งมีความเหมาะสมในแง่ ของความปลอดภัย ่ ั โดยสะท้ อนออกมาในลักษณะการออกแบบ และ การเดินเครื่อง ให้ สอดคล้องกัน
  • 20. การพิจารณาด้ านความปลอดภัย ด้ านสถานที่ต้งโรงไฟฟานิวเคลียร์ ั ้ * ไม่ อยู่ในเขตที่เกิดภัยธรรมชาติ * ห่ างจากคลังแสง คลังนามัน หรือ แนวขึนลงของเครื่องบิน ้ ้ หรือพิจารณาว่ ามีโรงงานนิวเคลียร์ อนในบริเวณใกล้ เคียงหรือไม่ ื่ * ประชากรไม่ หนาแน่ น * ใกล้ แหล่ งนาขนาดใหญ่ ้ * ลักษณะทางธรณีวทยาเหมาะสม ิ
  • 21. เทคโนโลยีความปลอดภัยโรงไฟฟานิวเคลียร์ ้ • ปรัชญาการออกแบบอาศัยหลักพืนฐาน 3 ประการ: ้ – การควบคุมปฏิกริยา /การดับเครื่องปฏิกรณ์ ิ – การระบายความร้ อนจากแกนปฏิกรณ์ – การกักเก็บสารกัมมันตรังสี • การออกแบบเม็ดเชื้อเพลิง • การออกแบบระบบเครื่องปฏิกรณ์ • การออกแบบอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ โดยรวมคุณลักษณะภายใน และ คุณลักษณะทีไม่ ต้องพึงพลังงานในระบบความ ่ ่ ปลอดภัย และระบบสนับสนุนทางวิศวกรรม ระบบความปลอดภัย และระบบตรวจติดตาม เครื่องปฏิกรณ์ ต้ องมีระบบสารอง ซึ่งแตกต่ างกัน และสามารถทางานได้ โดยอิสระไม่ ขึนแก่ กน ้ ั
  • 23.
  • 24. การพิจารณาด้ านความปลอดภัย (ต่ อ) อาศัยหลักการป้ องกันหลายขั้นตอน - การปองกันเหตุผดปกติ ้ ิ * การออกแบบให้ การเดินเครื่องมีความผิดพลาดน้ อยทีสุด ่ * การมีกฎระเบียบ และการตรวจสอบการดาเนินการ * การเลือกใช้ วสดุอุปกรณ์ และการควบคุมคุณภาพ ั * การฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ - การควบคุม * การออกแบบระบบให้ สามารถตรวจสอบความผิดปกติได้ อย่ างรวดเร็ว * การออกแบบให้ ดบเครื่องอัตโนมัตกรณีเหตุฉุกเฉิน รวมทั้ง ECCS ั ิ * การตรวจสอบระบบอุปกรณ์ และ การซ่ อมบารุง ตามระยะเวลา - การดาเนินการแก้ ไข (แผนฉุกเฉินกรณีอุบตเิ หตุและพิทกษ์ ความ ั ั ปลอดภัยวัสดุนิวเคลียร์ )
  • 26. การออกแบบโรงไฟฟาและการก่ อสร้ าง ้ • โรงไฟฟาต้ องได้ รับการออกแบบให้ มีโครงสร้ างที่ ้ แข็งแรง และเหมาะสมกับสภาพด้ อยของสถานที่ตง ั้ นันๆ ้ • หน่ วยงานกากับดูแลความปลอดภัยต้ องมีโปรแกรม ตรวจสอบการก่ อสร้ างเป็ นระยะ เพื่อให้ เป็ นไปตามแบบ ที่ได้ ผ่านการพิจารณาความปลอดภัยแล้ ว
  • 27. การทดสอบเดินเครื่ อง • ก่ อนการเดินเครื่ องใช้ งานจริงจะมีการทดสอบระบบ ต่ างๆ ก่ อน เพื่อแสดงว่ าสามารถทางานได้ ตามการ ออกแบบ และเพื่อกาหนดค่ าความปลอดภัยของระบบ และอุปกรณ์ ต่างๆ เมื่อการทดสอบเดินเครื่องผ่ านการ พิจารณาจากหน่ วยงานกากับดูแลความปลอดภัยแล้ ว จึงจะใส่ เชือเพลิง เพื่อเดินเครื่ องใช้ งานจริง ้
  • 28. การเดินเครื่ องใช้ งาน • โรงไฟฟานิวเคลียร์ จะต้ องมีใบอนุญาตการเดินเครื่ อง ้ ซึ่งหน่ วยงานกากับดูแลความปลอดภัยจะเป็ นผู้พจารณา ิ ให้ ใบอนุญาต และระหว่ างอายุของใบอนุญาตจะมีการ ตรวจสอบเป็ นระยะด้ วย
  • 29. การรื อถอนโรงไฟฟาเมื่อเลิกใช้ งาน ้ ้ • เมื่อโรงไฟฟานิวเคลียร์ ถงเวลาปลดระวาง จะต้ อง ้ ึ ทาแผนการรือถอนทังการดาเนินการและแผนการ ้ ้ จัดการกากกัมมันตรังสีให้ หน่ วยงานกากับดูแล พิจารณาก่ อนการดาเนินการ
  • 31. ปัญหาทีมกถูกถามบ่ อยๆ ่ ั • ใครเป็ นคนกากับดูแล • หน่วยงานกากับดูแลฯ เป็ นหน่วยงานอิสระหรื อไม่ • ใครเป็ นผูออกใบอนุญาต ้ • กรอบภาระรับผิดชอบเป็ นอย่างไร • มีกระบวนการควบคุมในการพิจารณาของหน่วยงานกากับดูแลอย่างไร
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 44.
  • 46. การกากับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ รังสี • พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพือสั นติ พ.ศ. ๒๕๐๔ ่ • พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพือสั นติ (ฉบับที๒) พ.ศ. ๒๕๐๘ ่ ่ – กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑-๘ – กฎกระทรวงกาหนดเงื่อนไขวิธีการขอรับใบอนุญาต พ.ศ. ๒๕๔๖ – กฎกระทรวงว่าด้ วยการจัดการกากกัมมันตรังสี พ.ศ. ๒๕๔๖ – ร่ างกฎกระทรวงว่ าด้ วยวิธีการขอใบอนุญาต และ เงื่อนไขทีผู้รับในอนุญาต ่ ต้ องปฏิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๐ • ระเบียบปฏิบัติ ประกาศคณะกรรมการ มาตรฐาน และแนวปฏิบติ ั
  • 47. พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ • ให้ รัฐมนตรีมีอานาจ – กาหนดเงือนไขและวิธีการขอรับใบอนุญาต ่ – กาหนดเงือนไขให้ ผู้รับใบอนุญาตปฏิบติตาม ่ ั • คณะการการพลังงานปรมาณูเพือสั นติมอานาจ ่ ี – ออกใบอนุญาต วางระเบียบ มาตรฐาน เพือควบคุมให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนด/เงือนไข ่ ่ – ระงับการใช้ เพิกถอน สั่ งให้ แก้ ไข เพือความปลอดภัย ่ • พ.ร.บ. ห้ าม – ผลิต มีไว้ ในครอบครอง และใช้ วสดุนิวเคลียร์ พเิ ศษ พลังงานปรมาณู วัสดุพลอยได้ หรือวัสดุ ั ต้ นกาลังซึ่งพ้นสภาพทีเ่ ป็ นอยู่ตามธรรมชาติในทางเคมี – นาหรือส่ งออกนอกราชอาณาจักร นาหรือสั่ งเข้ ามาในราชอาณาจักร ซึ่งวัสดุนิวเคลียร์ พเิ ศษ วัสดุพลอยได้ ฯลฯ เว้ นแต่ ได้ รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการฯ # กาหนดหน้ าที่พนักงานเจ้ าหน้ าทีตรวจสอบความปลอดภัยฯ ่
  • 48. กฎกระทรวง • กาหนดวิธีการและเงื่อนไขการขอรับใบอนุญาต • กาหนดเงื่อนไขทีผู้รับใบอนุญาตต้ องปฏิบติตาม ่ ั • กาหนดปริมาณวัสดุต้นกาลังในสิ นแร่ • กาหนดเกณฑ์ ปริมาณรังสี สาหรับผู้ปฏิบตงาน และ ประชาชนทัวไป ั ิ ่ • กาหนดให้ มีมาตรการปองกันรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัย การ ้ พิทกษ์ วสดุนิวเคลียร์ พเิ ศษ การปองกันอัคคีภัย แผนฉุกเฉินทาง ั ั ้ นิวเคลียร์ /รังสี ฯลฯ • กาหนดมาตรการจัดการกากกัมมันตรังสี
  • 49. บทบาทของสานักงานปรมาณูเพือสันติ ่ กาหนดมาตรการควบคุม ประเมิน และตรวจสอบการปฏิบติงานให้ เป็ นไปด้ วย ั ความปลอดภัย (โดยผ่ านกระบวนการออกใบอนุญาตตามมาตรฐานสากล เพือมิให้ ส่งผลกระทบต่ อประชาชน และ สิ่ งแวดล้ อม) ่ - การพิจารณาความเหมาะสมสถานที่ต้ง ั - การพิจารณาการออกแบบ - การพิจารณารายงานการวิเคราะห์ ความปลอดภัย - การตรวจสอบระหว่ างการก่ อสร้ าง ทดสอบเดินเครื่อง การเดินเครื่อง ใช้ งาน และ การรื้อถอน รวมถึงความพร้ อมของเจ้ าหน้ าที่ และ การจัด การกากกัมมันตรังสี ด้วย
  • 50. Infrastructure of regulatory system THAI ATOMIC ENERGY COMMISSION 18 Sub -Committees OFFICE OF ATOMS FOR PEACE (OAP) Medical Application Agricultural Application Industrial Application Licensing of Radioisotopes and Nuclear Materials (LRNMS) Nuclear Law Food Processing Technology Reactor Safety (RSSC) (Formation of Regulatory and Safety Standard for NPP and Reactor Safety) Etc.
  • 51. Organization chart Prime minister Thai Atomic Energy Commission Ministry of Science and Technology 18 Sub-Committees Office of Atoms for Peace Deputy Secretary General (1) Deputy Secretary General (2) Bureau of Nuclear Safety Regulation Office of Secretary Bureau of Radiation Safety Regulation Other Support groups Bureau of Atomic Energy Administration Bureau of Technical Support for Safety Regulation
  • 52.
  • 54.