SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ECONOMICS
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
คือ ?
วิชาที่ศึกษาการเลือกใช้ทรัพยากรที่
มีอยู่อย่างจากัด เพื่อนามาผลิตสินค้า
และบริการสนองความต้องการของ
มนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ทาไม
ต้อง
เลือก
? • ทรัพยากรแต่ละอย่างสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้หลายทาง
• เพราะ ทรัพยากรมีอยู่อย่างจากัด
ปัญหา
พื้นฐาน
ทาง
เศรษฐกิจ
?
• จะผลิตอย่างไร (HOW)
• จะผลิตอะไร (WHAT)
• จะผลิตเพื่อใคร (FOR WHOM)
1
2
3
ปัจจัยการผลิต (Factors of production)
คือ สิ่งของหรือบริการที่นามาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ แบ่งเป็น
ที่ดิน
(LAND)
ทุน
(CAPITAL)
แรงงาน
(LABOUR)
2 3 4
ผู้ประกอบการ
(ENTREPRENUR)
ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กาไร
การเลือก (choice) เกิดจากความไม่สมดุลระหว่างความต้องการที่
ไม่จากัดกับทรัพยากรที่มีจากัด จึงต้องเลือก เพื่อให้ประโยชน์หรือความ
พอใจสูงสุดและต้องมีต้นทุนค่าเสียโอกาสเสมอ
ทรัพยากรการผลิต (productive resources) คือ สิ่งของบริการที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งนามาใช้ในกระบวนการ
ผลิต เพื่อให้เกิดผลผลิต
การมีอยู่จากัด (scarcity) ยกเว้นแต่ ค้นพบวิทยาการใหม่ๆ ทาให้
มีทรัพยากรใหม่มาทดแทนของเดิมที่หมดไป
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (opportunity cost) คือ มูลค่าของทางเลือกที่ดี
ที่สุดในบรรดาทางเลือกที่ต้องสละไป
สินค้าและบริการ (goods and services) คือ สิ่งที่ได้จากการทางาน
ร่วมกันของปัจจัยผลิตต่างๆ เป็นสิ่งที่ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคได้
สินค้า คือ สิ่งที่มีตัวตนจับต้องได้ มีรูปธรรม
บริการ คือ สิ่งที่จับต้องไม่ได้ ไม่เป็นรูปธรรม
สินค้าและบริการ
1. เศรษฐทรัพย์ (Economics goods) สินค้า/บริการที่มีต้นทุนการผลิต
1.1 สินค้าเอกชน (private goods)
- สินค้า/บริการที่สามารถบ่งแยกการบริโภคได้
- สินค้า/บริการที่สามารถกีดกันคนอื่นเข้ามาใช้ได้
1.2 สินค้าสาธารณะ (public goods)
- สินค้า/บริการที่สามารถบริโภคร่วมกันได้
- สินค้า/บริการที่ไม่สามารถกีดกันคนอื่นเข้ามาใช้ได้
2. สินค้าเสรี (free goods) ไม่มีต้นทุนการผลิต
เศรษฐศาสตร์มหภาค
ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวม
- รายได้ประชาชาติ
- ระดับการจ้างงาน
- ระดับราคาโดยทั่วไป
- การใช้จ่ายรัฐบาล
- การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
- ปัญหาเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์จุลภาค
ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐศาสตร์
ของหน่วยเศรษฐกิจใดหน่วยหนึ่ง
ตลาดผลผลิต
- ครัวเรือน พฤติกรรมผู้บริโภค อุปสงค์
- หน่วยธุรกิจครัวเรือน ทฤษฎีการผลิต อุปทาน
ตลาดปัจจัยการผลิต
- อุปทานปัจจัยการผลิต (ครัวเรือน)
- อุปสงค์ปัจจัยการผลิต (ธุรกิจ)
V S
เครื่องมือในการศึกษา
ทางเศรษฐศาสตร์
สถิติ ช่วยบันทึกข้อมูลทางเศรษฐกิจในอดีต
ปัจจุบัน และทานายแนวโน้มในอนาคต
ฟังก์ชัน แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร
- ตัวแปรอิสระ ไม่ขึ้นกับค่าของตัวแปรอื่น
- ตัวแปรตาม เปลี่ยนตามตัวแปรอิสระ (ค่าจะขึ้นกับตัวแปรอื่น)
X = f(Y) คือ X เป็นฟังก์ชันของ Y หมายความว่า ค่าของ x
ขึ้นอยู่กับค่าของ Y
กราฟ
กราฟเส้นตรง
ความชัน
ความชันของเส้นตรง
มีค่าเท่ากันตลอดเส้น
SLOPE =
∆𝑌
∆𝑋
ความชันของเส้นโค้ง
มีค่าไม่เท่ากันตลอดเส้น
ค่าต่าสุดและค่าสูงสุด (Minimum and Maximum Value)
เป็นค่าที่นิยมใช้วิเคราะห์กาไรสูงสุดหรือต้นทุนต่าสุด
รูปแสดงต้นทุนเฉลี่ยต่าสุดและเส้นผลผลิตสูงสุด
เส้นเป็นไปได้ในการผลิต
(Production Possibility Curve : PPC)
คือ เส้นที่แสดงส่วนผสมของสินค้า 2 ชนิดที่สามารถผลิตได้ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งหมด
ในระยะเวลาหนึ่งและด้วยเทคนิคการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงสุดที่มีอยู่ในขณะนั้น
- PPC มีความชันเป็นลบ เนื่องจากเมื่อเราใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งหมดแล้ว และต้องการ
เพิ่มการผลิตอย่างหนึ่งหมายความว่าเราจะผลิตสินค้าอีกอย่างได้ลดลง
- ถ้าผลิตบนเส้น PPC แสดงว่าใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งหมดอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ณ
เทคโนโลยีที่มีอยู่ในขณะนั้น
ไม่มีปัจจัยการผลิตว่างงาน
การใช้ปัจจัยผลิตอย่างเต็มที่
• ถ้าผลิตใต้เส้น PPC แสดงว่าใช้ทรัพยากรอย่างไม่มี
ประสิทธิภาพ เพราะ สามารถผลิตได้มากกว่านั้น เราจึงเรียก
จุดใต้เส้น PPC นี้ว่า Inefficient Point
• ถ้าผลิตเหนือเส้น PPC ทาไม่ได้ เพราะ เกินความสามารถ
และศักยภาพของปัจจัยการผลิตและเทคโนโลยีขณะนั้น เรา
จึงเรียกจุดเหนือเส้น PPC ว่า Unattainable Point หรือจุดที่
ไม่สามารถผลิตได้
อาหาร
คอม
หลักการสร้างทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์
1.วิธีนิรนัย
• คาดคะเนตามหลักเหตุผล
• ตั้งสมมติฐานขึ้นตามหลักเหตุผลที่พิจารณานั้น
• หาหลักฐานข้อเท็จจริงมาพิสูจน์สมมติฐาน
• ถ้าพิสูจน์แล้วเป็นจริงก็ตั้งเป็นทฤษฎี
หลักการสร้างทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์
2.วิธีอุปนัย
• รวบรวมหลักฐานข้อเท็จจริงขึ้น
• นาข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมมาแล้ว สรุปตั้งเป็น
ทฤษฎี
หลักการสร้างทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์
3.ศึกษาจากประวัติศาสตร์
คือ การศึกษาถึงเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆที่
ปรากฏในอดีต เพื่อนามาใช้ในการศึกษาเรื่องใน
ปัจจุบันและใช้คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นใน
อนาคต
ระบบเศรษฐกิจ
1.ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือแบบทุนนิยม
• กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน
• เสรีภาพในธุรกิจ
• กาไรเป็นจูงใจให้เกิดการผลิต
• ราคาถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทาน
• เอกชนเป็นผู้กาหนดนโยบายทางธุรกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
2.ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน
• รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต
• รัฐตัดสินใจในการทากิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ
• เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของปัจจัย
การผลิต
ระบบเศรษฐกิจ
3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
• รัฐและเอกชนมีกรรมสิทธิ์ในปัจจัย
การผลิต
• การจัดสรรทรัพยากรผ่านกลไกราคา
แต่มีบทบาทน้อยกว่าระบบทุนนิยม
• เอกชนมีเสรีภาพในการดาเนินกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ
ข้อสมมติสาคัญใน
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
1. บุคคลทุกคนเป็นผู้มีเหตุมีผลทางเศรษฐศาสตร์
(economic man) คือ การตัดสินใจใดๆมุ่งให้ได้
ประโยชน์หรือความพอใจสูงสุด
2. กาหนดให้ปัจจัยอื่นคงที่ (centaris paribus) คือ ใน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ซึ่งมีปัจจัยกาหนดหลายตัว
เมื่อเน้นที่ปัจจัยตัวใดแล้วจะสมมติให้ปัจจัยอื่นไม่
เปลี่ยนแปลง มิฉะนั้นไม่สามารถหาข้อสรุปที่แน่นอนได้

More Related Content

What's hot

5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
การตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบินการตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบิน
Mint NutniCha
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
Tanchanok Pps
 
การบริการในธุรกิจการบิน
การบริการในธุรกิจการบินการบริการในธุรกิจการบิน
การบริการในธุรกิจการบิน
Mint NutniCha
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
Pongpob Srisaman
 

What's hot (20)

รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
การตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบินการตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบิน
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
การบริการในธุรกิจการบิน
การบริการในธุรกิจการบินการบริการในธุรกิจการบิน
การบริการในธุรกิจการบิน
 
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
 
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 

หลักเศรษฐศาสตร์