SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
บทที่2 สารอาหารนางสาว สิริภัทร์ พุดตาล
สารอาหาร
แบ่งได้6ประเภท
3
2
4
1
5
6
โปรตีน
คาร ์โบไฮเดรต
ไขมัน
วิตามิน
เกลือแร่
น้า
‘สารอาหารดังกล่าวต้องอาศัยซึ่งกันและ
กัน ในแต่ละมื้อต้องรับประทานอาหาร
ให้หลากหลาย เพื่อให้ร่างกายได้
สารอาหารครบถ้วน’
โปรตีน Protein
•โปรตีน เป็ นภาษากรีก หมายถึง “สิ่งแรก” หรือ มีความสาคัญเป็ น
อันดับแรก
• เนื่องจากมีความสาคัญต่อการทางานของร่างกายหลายด้านและเป็ น
สารอาหารที่มีอยู่ในร่างกายมากเป็ นอันดับ ๒ รองจากน้า
• ส่วนใหญ่มีราคาแพง เก็บรักษาให้คงคุณค่าสารอาหารไว้นานๆ ได้
ยาก จึงต้องคานึงถึงการจัดเตรียมในส่วนเกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา
โภชนาการขาดแคลนคุณภาพสมบูรณ์มากที่สุดในปัจจุบัน
โปรตีน Proteinหน้าที่ของ
เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย เช่น การสร้างเซลล์ เนื้อเยื่อและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
เป็ นส่วนประกอบของ เอนไซม์และ ฮอร์โมน
เป็ นส่วนประกอบของสารเคมีที่สร้างภูมิต้านทานให้แก่ร่างกาย และทาให้ร่างกายแข็งแรง
โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่
ประเภทของโปรตีน
หรือ โปรตีนสมบูรณ์ มีคุณภาพสูงในการ
ซ่อมแซมและสร้างเลือดเนื้อ เนื่องจากมี
กรดอะมิโนที่จาเป็ นต่อร่างกายทุกชนิด
โปรตีนสมบูรณ์พบได้ในอาหารจาพวก
เนื้อสัตว์ นม ไข่ และนมถั่วเหลือง
ช่วยให้ชีวิตดารงได้ แต่ไม่เพียงพอสาหรับ
การเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึก
หรอได้ เนื่องจากขาดกรดอะมิโนที่จาเป็ น
อย่างใดอย่างหนึ่ง จัดเป็ นโปรตีนกึ่ง
สมบูรณ์ พบได้ใน พืช ผัก และถั่วต่างๆ
ยกเว้นถั่วเหลือง
โปรตีนแบ่งตามคุณค่าทางโภชนาการได้ 3 พวก คือ
มีคุณภาพต่า ไม่สามารถซ่อมแซม
หรือสร้างเนื้อเยื่อได้ เนื่องจากขาด
กรดอะมิโนหลายตัว เช่นเจลาติน
จากสัตว์ ข้าวโพด
โปรตีนชั้นดี โปรตีนชั้นกลาง โปรตีนชั้นเลว
ความต้องการของร่างกาย
โดยทั่วไปเด็กมีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่และจะ
ลดความต้องการเมื่อโตขึ้นจนถึงอายุประมาณ 19 ปี
ผู้ใหญ่ต้องการโปรตีน 1 กรัม ต่อน้าหนักตัว 1
กิโลกรัมต่อวัน เช่น
ถ้าน้าหนักตัว 60 กิโลกรัม ต้องรับประทาน
โปรตีนวันละ 60 กรัม ควรเป็ นโปรตีนสมบูรณ์อย่าง
น้อย 1 ใน 3 ส่วน
โปรตีน Protein
ยังไม่มีผลแน่ชัดว่าการบริโภคโปรตีน
มากเกินไปจะทาให้เกิดโรค เนื่องจาก
ร่างกายไม่สะสมไว้เหมือนไขมัน ส่วนที่
เหลือใช้ร่างกายก็จะสลายออกเป็ นยูเรีย
ขับออกทางปัสสาวะ
•ทาให้ความต้านทานโรคต่า ติดโรคง่าย อ่อนเพลีย เบื่อ
อาหาร หลับไม่สนิท เลือดมีโปรตีนต่ากว่าปกติ เกิดอาการ
บวมตามตัว มือ เท้า
•เด็กจะมีผลต่อการเจริญเติบโต ส่งผลให้เด็กมีร่างกาย
แคระแกร็น สติปัญญาทึบ
•ผู้ใหญ่จะไม่เพียงพอที่จะนาไปซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และ
ทาให้สูญเสียแคลเซียมจากกระดูก ซึ่งเสี่ยงต่อการเป็ นโรค
กระดูกพรุน
บริโภคน้อยเกินไป บริโภคมากเกินไป
คาร์โบไฮเดรต Carbohydrates
•เป็ นสารอาหารที่สาคัญที่ให้พลังงานแก่ร่างกายในราคาถูก และมีอยู่
ทั่วไปตามธรรมชาติ เช่น ข้าว แป้ ง น้าตาล
•ทหารจาเป็ นต้องบริโภคเป็ นประจาทุกมื้อ พบมาในอาหารที่มาจากพืช
มากกว่าสัตว์ เพราะพืชสามารถสร้างคาร์โบไฮเดรตได้โดยการ
สังเคราะห์แสง
คาร์โบไฮเดรต Carbohydratesหน้าที่ของ
ให้พลังงานและความร้อนความแก่ร่างกาย คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่
คาร์โบไฮเดรตจาพวกเซลลูโลส ช่วยในการขับถ่าย
ทาให้การเผาพลาญไขมันเป็ นไปตามปกติ
ช่วยเปลี่ยนสารพิษที่เข้าสู่ร่างกายให้มีพิษน้อยลง และอยู่ในสภาพที่ขับถ่ายออกได้
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของสมอง
ประเภทของ คาร์โบไฮเดรต
•น้าตาลกลูโคส เป็ นน้าตาลชั้นเดียวที่ย่อยง่าย
ที่สุด มีในธรรมชาติ
•น้าตาลฟรุคโทส เป็ นน้าตาลที่หวานมากที่สุด
พบในน้าผึ้ง เกสรดอกไม้
•น้าตาลซูโครส เป็ นน้าตาล 2 ชั้น หรือน้าตาล
ทราย พบในอ้อย ตาลโตนด มะพร้าว
•น้าตาลแลคโทส เป็ นน้าตาลที่พบในสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนมหรือน้าตาลในนม
•น้าตาลเทียม เป็ นสารเคมีสังเคราะห์ขึ้นมา
จัดเป็ นคาร์โบไฮเดรตประเภทหนึ่ง ประกอบขึ้นจาก
น้าตาลหลายๆชั้น หรือน้าตาลเชิงซ้อน ไม่มีรส
หวาน ไม่ละลายน้า
•แป้ งในพืช ได้รับจากธัญพืช เมล็ดพืช และหัว
ของพืชต่างๆ เช่น เผือก มัน การรับประทานแป้ ง
ดิบ ร่างกายไม่สามารถย่อยได้ เพราะแป้ งอยู่ใน
เซลล์ซึ่งมีเซลลูโลสหุ้มอยู่
•แป้ งในสัตว์ เป็ นแป้ งที่ตับสร้างขึ้นจากน้าตาล
กลูโคสที่เหลือใช้ แล้วเก็บไว้ในตับเป็ นส่วนใหญ่
ส่วนน้อยเก็บไว้กล้ามเนื้อและผิวหนัง
แบ่งได้ 3 ประเภท
เป็ นสารที่มีโครงสร้างทางเคมีคล้ายกับ
แป้ งและไกลโคเจน แม้ไม่ใช่สารอาหาร
โดยตรง เซลลูโลสเป็ นโครงสร้างของราก
ลาต้น กิ่ง ก้านใบของพืช เพื่อสร้างความ
แข็งแรงให้แก่พืช ประโยชน์ของใยอาหาร
ช่วยในการขับถ่ายให้ปกติ ป้ องกันมะเร็ง
ลาไส้ใหญ่และช่วยลดระดับโคเรสเตอรอล
ในเลือด มีมากในธัญพืชทั้งเมล็ด ข้าวที่
ขัดสีน้อย ถั่วเมล็ดแห้ง
น้าตาล แป้ ง เซลลูโลส
ความต้องการของร่างกาย
ในแต่ละวันร่างกายควรได้รับคาร์โบไฮเดรตไม่น้อย
กว่าวันละ 100 กรัม ไม่น้อยกว่า1 ใน 4 ของ
พลังงานทั้งหมดที่ร่างกายต้องการ คนไทยจึงไม่มี
ปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานน้อยเกินไป และควร
เป็ นคาร์โบไฮเดรตที่ได้จากพืช ผัก และผลไม้
มากกว่าน้าตาลที่ได้จากการแปรรูป
คาร์โบไฮเดรต Carbohydrates
•ทาให้หนักหนักเกินมาตรฐาน ส่งผลให้
เกิดโรค เช่น โรคหัวใจ และโรคเกี่ยวกับ
หลอดเลือดบางอย่าง
•ทาให้รับประทานอาหารอย่างอื่นได้
น้อยลง
•คนที่รับประทานน้าตาลมาก อาจทาให้
เป็ นโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง
•ทอฟฟี่ ลูกกวาด ทาให้เป็ นโรคฟันผุ
•บริโภคน้อยกว่าวันละ 100 กรัม อาจจะทาให้ไขมัน
เผาผลาญไม่สามบูรณ์ ทาให้เกิดสารคีโทน (Ketone
bodies) ในเลือดซึ่งมีฤทธิ์เป็ นกรดสะสมในกระแสเลือด
และร่างกายจะสูญเสียโปรตีนมากกว่าที่ควร หลักฐาน
ทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน แสดงให้เห็นว่าคนที่เหนื่อย
ง่ายมักมีน้าตาลในเลือดต่า
บริโภคน้อยเกินไป บริโภคมากเกินไป
ไขมัน Fats
•เป็ นสารอาหารที่มีอยู่ในธรรมชาติ เหมือนคาร์โบเดรตในอุณหภูมิห้อง
(25 องศาเซลเซียส) อาหารหมู่นี้ไม่จาเป็ นอยู่ในรูปของน้ามัน แต่
อาจจะแทรกอยู่ในเนื้ออาหารหลายๆชิด เช่น ถั่วลิสง ไข่ นม เนย
•ไขมันเป็ นส่วนที่พืชและสัตว์ สามารถเก็บสะสมได้มาก ไม่จากัด
จานวน พืชบางชนิดเก็บไขมันไว้ใน ผล เมล็ด สัตว์เก็บไขมันไว้หลาย
แห่ง มีมากใต้ผิวหนัง ในหมูเรียกว่ามันแข็งซึ่งติดกับหนังหมู ในช่อง
ท้อง ได้แก่ มันเปลวรอบๆ อวัยวะต่างๆ เช่น หัวใจ ไต มักมีไขมัน
ห่อหุ้ม ช่วยป้ องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายใน
ไขมัน Fatsหน้าที่ของ
ให้พลังงานความร้อนแก่ร่างกายสูงสุด โดยไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่
ทาให้ผิวพรรณสดชื่น ไม่แห้งและเป็ นสารหล่อลื่นป้ องกันการเสียดสี การกระแทก
ช่วยให้ดูดซึมวิตามิน A D E K
เป็ นแหล่งของพลังงาน เมื่อต้องการใช้กาลังเป็ นเวลานานๆ
ป้ องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย
ประเภทของไขมัน
หรือ กรดไขมันที่จาเป็ นต่อกรดไขมันที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ได้ หรือ
สังเคราะห์ได้แต่ปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
พบในน้ามันพืชชนิดต่างๆ เช่น น้ามันดอกคาฝอย น้ามันดอกทานตะวัน
น้ามันถั่วเหลือง น้ามันราข้าว ฯลฯ
ไขมันพืชบางชนิดมีคุณสมบัติคล้ายไขมันจากสัตว์ซึ่งได้จากต้นปาล์ม
กรดลิโนเลอิก เป็ นกรดไขมันชนิดเดียวที่ร่างกายไม่สามารถสร้างเองได้ ต้อง
ได้รับจากอาหารเท่านั้น “กรดไขมันชนิดจาเป็ น”
หรือ กรดไขมันที่ไม่จาเป็ นต่อร่างกายจะอยู่ในสภาพ
แข็ง เรียกว่า ไขมันได้จากสัตว์เลือดอุ่น เช่น ไขวัว
ไขควาย ไขแกะ มันหมู มันไก่ และจากพืช เล่น
น้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม
มีโคเลสเตอรอลสูง รับประทานอาหารเกินความ
ต้องการส่วนเกินจะเข้าไปสะสมและอุดตันหลอด
เลือด หลอดเลือดแข็ง
รุนแรงถึงขั้นหัวใจวาย ถ้าอุดตันสมองก็อาจเป็ น
อัมพาตได้
ไขมันแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
กรดไขมันไม่อิ่มตัว กรดไขมันอิ่มตัว
ไขมัน Fats
ทาให้น้าหนักตัวเกิน เกิดโรคอ้วน และ
โรคแทรกซ้อนต่างๆ เช่น โรคหัวใจ
ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็ นต้น
•ได้รับพลังงานไม่เพียงพอ น้าหนักร่างกายน้อยกว่าปกติ
นอกจากนี้อาจทาให้ได้รับวิตามินละลายไขมันน้อยเกินไป
บริโภคน้อยเกินไป บริโภคมากเกินไป
เกลือแร่ Mineral หรือ Element
•เป็ นสารอาหารอีกประเภทร่างกายต้องการและขาดไม่ได้ เพราะเป็ น
ส่วนประกอบของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายให้หน้าที่เป็ นปกติ
•ร่างกายคนเรามีเกลือแร่อยู่ประมาณร้อยละ 4 ของน้าหนักร่างกาย
•แม้ร่างกายต้องการปริมาณน้อย ถ้าขาดทาให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บไข้
•แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม
1. เกลือแร่ร่างกายต้องการปริมาณมาก เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส
โซเดียม คอลรีน โปแตสเซียม และแมกนีเซียม
2. เกลือแร่ร่างกายต้องการปริมาณน้อย เช่น เหล็ก ทองแดง สังกะสี
แมงกานีส ไอโอดีน ซีลีเนียม ฟลูออรีน โครเมียม และกามะถัน
เกลือแร่ Mineralหน้าที่ของ
เป็ นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อที่ทาหน้าร่วมกัน เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัสและแมกนีเซียม
เป็ นส่วนประกอบของโปรตีน ฮอร์โมน เอนไซม์
ควบคุมความเป็ นกรดเป็ นด่างของร่างกาย
ควบคุมความสมดุลของน้า เกลือแร่ที่มีส่วนช่วยควบคุมความสมดุลของน้า
เร่งปฎิกิริยาหลายชนิด ในร่างกายจะดาเนินการไปได้ต้องมีเกลือแร่บางชนิดเป็ นตัวเร่ง
a l c i u m
แคลเซียมC
แคลเซียม
แคลเซียม
ประมาณครึ่งหนึ่งของน้าหนักเกลือแร่ในร่างกาย คือ แคลเซียม จึงจัดว่า แคลเซียม
เป็นเกลือแร่ที่มีมากที่สุดในร่างกาย ส่วนใหญ่อยู่ในกระดูกและฟัน
หน้าที่ของแคลเซียม
ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง (โดยมีฟอสฟอรัสและวิตามินดีทางาน
ร่วมกัน) เป็นสารจาเป็นต่อระบบถ่ายทอดสัญญาณประสาท
ทาให้กระดูกอ่อน (ร่วมกับการขาดฟอสฟอรัสและวิตามินดี) เป็นสารจาเป็นต่อ
ระบบถ่ายทอดสัญญาณประสาท
อาหารที่มีแคลเซียมมาก
แคลเซียมพบมากใน นม ผลิตภัณฑ์นม ไข่แดง ปลาเล็กน้อย ผักใบเขียว และเมล็ดงา เป็นต้น
hosphorus
ฟอสฟอรัสP
ฟอสฟอรัส
เป็ นเกลือแร่ที่มีความสาคัญต่อร่างกายเป็ นอันดับสองรองจากแคลเซียม และ
ทางานร่วมกับแคลเซียมในการสร้างกระดูกและฟัน จึงมักได้ยินแคลเซียมควบคู่
ไปกับฟอสฟอรัสเสมอ
หน้าที่ของฟอสฟอรัส
1. ร่วมกับแคลเซียมสร้างกระดูกและฟัน โดยมีวิตามินดีช่วยในการรวมตัว
2. ช่วยในการเผาพลาญคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
3. เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ เซลล์ ช่วยในการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ
4. รักษาสภาพความเป็นกรด ด่าง ของเหลวในร่างกาย
5.ช่วยในการยืดหดของกล้ามเนื้อ
ฟอสฟอรัส(ต่อ)
ผลของการขาดฟอสฟอรัส เนื่องจากแคลเซียมและฟอสฟอรัส
มักอยู่ในอาหารชนิดเดียวกัน ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ทาให้ขาด
สารทั้งสองพร้อมกัน รวมถึงวิตามินดีด้วย ถ้าขาดวิตามินดีการดูดซึม
เกลือแร่ทั้งสองก็จะเสียไปทาให้เป็นโรกระดูกอ่อน
Ron
เหล็กI
เหล็ก
ร่างกายต้องการเหล็กเพื่อสร้างเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดแดงมีอายุ
ประมาณ 120 วัน ก็สลายตัวร่างกายพยายามรักษาเม็ดเลือดแดงที่สลายตัวแล้ว
ไว้ เพื่อสร้างเม็ดแดงต่อไป ส่วนใหญ่จะอยู่ในสารอาหารสีแดงของเม็ดเลือดที่
เรียกว่า “ฮีโมโกลบิน” นอกนั้นอยู่ในกล้ามเนื้อ ตับ ม้าม ไต และไขสันหลัง ซึ่ง
เป็นที่สร้างเม็ดเลือดแดง
หน้าที่ของเหล็ก ใช้สร้างเม็ดเลือดแดง
ผลของการขาดธาตุเหล็ก
ทาให้สร้างฮีโมโกลบินได้น้อยลง เป็นโรคเลือดจาง คนที่เป็นโรคโลหิตจางจะมี
ออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่เพียงพอ ทาให้ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
วิงเวียนศีรษะ ผิวและเล็บซีด
อาหารที่มีเหล็กมาก
เหล็กพบได้ทั้งพืชและสัตว์ แต่พบมากในเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน เช่น ตับ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง ผักใบเขียว นม
odine
ไอโอดีนI
ไอโอดีน
ร่างกายมีไอโอดีนน้อยประมาณ 10-20 มิลลิกรัมเท่านั้น ส่วนใหญ่
อยู่ในต่อมไทรอยด์
หน้าที่ของไอโอดีน
ส่วนประกอบสาคัญของฮอร์โมนไทรอกซิน ต่อมไทรอยด์สร้างขึ้น
ผลของการขาดไอโอดีน
ทาให้เกิดโรคคอพอก เป็นโรคที่เกิดเพราะต่อมไทรอยด์โตผิดปกติ เรียกว่า ตอ
พอกชนิดธรรมดา คนทางภาคเหนือและวันออกเฉียงเหนือป่วยเป็น โรคคอ
พอกกันมาก ส่วนภาคใต้ไม่ปรากฏโรค เนื่องจากประชาชนมีอาหารทะเล
รับประทานเป็นประจาตลอดทั้งปี
อาหารที่มีไอโอดีนมาก
มีในอาหารทะเลทุกชนิด เช่น สาหร่ายทะเล เกลือทะเล ปลา กุ้ง หอยทะเล นอกจากนี้ ยังพบในเกลืออนามัย หรือเกลือเสริมไอโอดีน
วิตามิน Vitamins
•เป็ นสารอาหารที่จาเป็ นสาหรับร่างกาย แม้ร่างกายต้องการในปริมาณ
น้อยแต่ร่างกายก็ขาดไม่ได้เช่นเดียวกับเกลือแร่ ถ้าขาดทาให้อวัยวะ
ต่างๆ ทางานผิดปกติและเกิดโรคได้
•วิตามินไม่ทาให้อ้วน แต่จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต บารุงผิวพรรณ
เหงือก ผม นัยน์ตา อีกทั้งยังช่วยในการต้านทานโรค ช่วยให้ร่างกายมี
สุภาพแข็งแรง
ประเภทของวิตามิน
วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค วิตามินที่ละลายในน้า ได้แก่ วิตามินซี และวิตามิน
บีทุกชนิด
วิตามินแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
วิตามินละลายในไขมัน วิตามินละลายในน้า
วิตามิน Vitaminsหน้าที่ของ
ทาให้ร่างกายทาหน้าที่เป็ นปกติ ช่วยสร้างภูมิต้านทานโรค ช่วยให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง
ควบคุมการเจริญและการเปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะของเซลล์และเนื้อเยื่อ
วิตามินบางตัวมีหน้าที่คล้ายฮอร์โมนเป็ นตัวควบคุมเมแทบอลิซึมของแร่ธาตุ
วิตามินที่ละลายในไขมัน
ประโยชน์
•ช่วยบารุงสายตา และแก้โรคตา
มันตอนกลางคืน
•ช่วยให้กระดูและฟันแข็งแรง
วิตามิน เอ
ผลของการขาดวิตามินเอ
•ทาให้เกิดโรคตาฟาง ทาให้
มองเห็นได้ยากในเวลากลางคืน
•ทาให้ผิวพรรณขาดความชุ่มชื้น
•ทาให้ติดเชื้อง่าย
แหล่งที่พบ
ผักและผลไม้ที่มีสีเหลือง ส้ม แดง และเชียว
เข้ม,ตับ,เนย,ไข่แดง,นมสด
วิตามิน ดี
ประโยชน์
•ช่วยดูดซึมแคลเซียม
•ควบคุมปริมาณแคลเซียมในร่างกาย
•ช่วยในการสร้างกระดูและฟัน
ผลของการขาดวิตามินดี
•ปวดข้อและกระดูก
•ปวดเมื่อย
•กระดูกหักง่าย
แหล่งที่พบ
ไข่,ปลา,แสงแดด,น้ามันตับปลา,นม เนย
วิตามินที่ละลายในไขมัน
ประโยชน์
•ช่วยการทางานของระบบประสาท
ระบบสืบพันธุ์และกล้ามเนื้อ
•-ช่วยป้องกันการแตกสลายของ
เยื้อหุ้มเซลล์
วิตามิน อี
ผลของการขาดวิตามินอี
•มีผลต่อระบบประสาท
•เป็นโรคโลหิตจาง
แหล่งที่พบ
น้ามันพืช,เมล็ดทานตะวัน,ถั่วต่างๆ,ผักสีเขียว
ปนเหลือง,มันเทศ
วิตามินเค
ประโยชน์
•ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
•-ป็นองค์ประกอบสาคัญของกระดูก
ผลของการขาดวิตามินเค
•เลือดไหลไม่หยุด
•มีผลต่อระบบการดูดซึมใน
ร่างกาย
แหล่งที่พบ
บรอกโคลี,ผักกะหล่า,ไข่แดง,น้ามันถั่วเหลือง,
น้ามันตับปลา
วิตามินที่ละลายในน้า
ประโยชน์
•ป้องกันโรคเหน็บชา
•ช่วยในการของระบบประสาท
หัวใจและกล้ามเนื้อ
•ช่วยเพิ่มการเผาพลาญ
คาร์โบไฮเดรต
วิตามิน บี1
ผลของการขาดวิตามินบี1
•เหนื่อยง่าย
•ชาตามปลายประสาท
•เป็นตะคริว
แหล่งที่พบ
ธัญพืช,ข้าวซ้อมมือ,ถั่วต่างๆ
งา,ขนมปังขาว
วิตามิน บี2
ประโยชน์
•สารสาหรับการเติบโตของมนุษย์
•ป้องกันการอักเสบที่ตาและปาก
•ช่วยในการเผาพลาญไขมัน
ผลของการขาดวิตามินบี2
•โรคปากนกกระจอก
•น้าตาไหลง่าย
•ลิ้นแตก เจ็บในปาก
แหล่งที่พบ
ยีสต์,ไข่,นมสด,เนย,เนื้อสัตว์
วิตามินที่ละลายในน้า
ประโยชน์
•ช่วยเผาพลาญโปรตีนในร่างกาย
•ช่วยการทางานของระบบประสาท
วิตามิน บี6
ผลของการขาดวิตามินบี6
•โรคโลหิตจาง
•เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
•ไขสันหลังเสื่อม
แหล่งที่พบ
เนื้อสัตว์,เครื่องในสัตว์,ผักต่างๆ,ไข่
วิตามิน ซี
ประโยชน์
•ช่วยบารุงเหงือก
•ควบคุมการไหลเวียนของเลือดใน
ร่างกาย
•ช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก
ผลของการขาดวิตามินเค
•โรคลักปิดลักเปิด(เลือดออกตามไรฟัน)
•ติดเชื้อง่าย
•เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
แหล่งที่พบ
ผลไม้สด,ส้ม,มะนาว,ผักสดบางชนิดคะน้า ถั่ว
งอก,ผักหวาน,ผักกาดเขียว
น้า Water
•มีความสาคัญสาหรับชีวิตคนเรา รองลงมาจาก
อากาศ คนเราสามารถอดอาหารได้หลายๆวันหรือเป็น
สัปดาห์ แต่จะมีชีวิตอยู่โดยขาดน้าได้เพียง 2-3 วัน
เท่านั้น
น้า Waterหน้าที่ของ
ละลายสิ่งต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย
ช่วยให้ผิวพรรณสดชื่น
ช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกาย
เป็ นส่วนประกอบของเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกาย
ช่วยหล่อลื่นอวัยวะต่างๆ เช่น ดวงตา
น้า
•ร่างกายของเรามีน้าเป็ นส่วนประกอบประมาณ 70% ของน้าหนักตัว
•ปริมาณน้าที่ร่างกายต้องการขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อม อากาศ ชนิดอาหาร และ
สภาพร่างกาย
•การดื่มน้ามากเกินไปไตจะทาหน้าที่ขับออกมาหมดจะไม่เกิดอันตราย
แต่อย่างใดสาหรับคนที่มีไตผิดปกติ เมื่อดื่มน้ามากเกินไปจะมีอาการบวม ปวดศีรษะ
ซึมและหมดสติ
คนที่ขาดน้า ปาก คอจะแห้ง ปัสสาวะน้อย มีสีเข้ม(ของเสียในร่างกายเยอะ) เลือดข้น
หัวใจทางานมากขึ้น
น้า
น้าฝนตามชนบทหรือตามชานเมืองมีอากาศบริสุทธิ์ ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรม
หรืออากาศเป็ นพิษอย่างในกรุงเทพมหานคร จัดได้ว่าอากาศค่อนข้างบริสุทธิ์
น้าฝนมักมีสารอื่นซึ่งลอยในอากาศติดมาด้วย
ในการรองน้าฝนไว้ใช้ในการบริโภค ควรรอให้ฝนตกสักพักหนึ่ง เพื่อให้ฝุ่ น
ละอองถูกชะล้างไปให้หมดจึงค่อยรองน้าฝนไว้ใช้บริโภค จะทาให้คุณภาพ
น้าฝนดีขึ้น
แหล่งน้าดื่ม 2 ประเภท
น้าฝน
น้า(ต่อ)
•ผ่านกระบวนการทาให้สะอาดโดยการกรอง ปรับความกระด้างให้
พอเหมาะและฆ่าเชื้อโรคโดยการใช้คลอรีนเพื่อความปลอดภัยในการบริโภค
•น้าที่นามาใช้ในการทาน้าประปา คือ น้าจากแม่น้าซึ่งส่งมาตามลา
คลองเฉพาะเพื่อใช้ในการทาน้าประปา เรียกกันว่า คลองประปา
•การผลิตน้าประปาได้มีการควบคุมอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ได้น้าที่มี
คุณภาพตามมาตรฐาน น้าประปาจากต้นทางเป็ นน้าที่มีคุณภาพเข้ามาตรฐาน
เหมาะกับการใช้ดื่มกิน
•ตามบ้านเรือนที่ใช้น้าประปา บางครั้งมีสีแดงหรือขุ่น เนื่องมาจากท่อ
นาน้าเป็ นสนิมหรือ มีท่อรั่วน้าประปานั้นๆ ก็ไม่เหมาะสาหรับบริโภค หรือได้
กลิ่นคลอรีนแรงมาก ในเฉพาะช่วงที่มีโรคระบาดที่ติดต่อได้ทางน้าหรือการ
บริโภคอาหาร เช่น อหิวาตกโรค
น้าปะปา
น้า(ต่อ)
•ทางการประปาจะเพิ่มปริมาณคลอรีนให้มากกว่าปกติเพื่อให้
คลอรีนอิสระเหลือมากพอที่จะฆ่าเชื้อโรคได้
•ฉะนั้นเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคน้าประปา ก็ควรจะมี
การต้มให้เดือดเสียก่อนที่จะใช้ดื่ม
•ปัญหาของประชาชนที่น้าประปาไม่ใสนั้น แก้ไขโดยการ รองน้า
ใส่โอ่ง ตั้งทิ้งไว้สักระยะหนึ่ง หรือพวกดินทรายที่ทาให้น้าขุ่นจะ
ตกตะกอนลง
•ส่วนกลิ่นคอลรีนนั้นจะทาให้ลดลงได้ก็โดยการกรองน้าใส่โอ่งตั้ง
ทิ้งไว้กลางแดดนานๆ หรือต้มในน้าเดือดนานๆ คลอรีนจะ
ระเหยออกไป
น้าปะปา(ต่อ)
น้าดื่มบรรจุขวด
•1. ฉลากมีรายละเอียดระบุไว้ครบเช่น ชื่อ น้าดื่ม ชื่อ
ผู้ผลิต สถานที่ผลิต ปริมาณสุทธิ เครื่องหมายการค้า อย.
•2. ขวดหรือภาชนะบรรจุต้องสะอาด เนื้อไม่ขุ่น เพราะมี
การละลายของพลาสติก หากเก็บไว้ในที่ไม่เหมาะสม ไม่รั่วซึม
และฝาปิ ดสนิท
•3. น้าต้องใส ไม่มีตะกอน ปราศจากสี กลิ่นและรสที่ผิดปกติ
•ข้อควรระวัง น้าแร่บรรจุขวดบางยี่ห้ออาจมีโซเดียมสูง คนที่
ต้องจากัดการรับประทานเกลือ เช่น เป็ นโรคความดันโลหิตสูง
ควรอ่านฉลากให้ดีเสียก่อน
เครื่องกรอกน้า
•ปัจจุบันก็มีเครื่องกรอกน้าไว้ใช้กันเกือบทุกบ้าน เพื่อ
ความสบายใจว่าได้ขจัดโลหะหนัก และสารเคมีอื่นๆ
•ไม่ว่าจะเลือกใช้เครื่องกรอกน้าระบบไหนจาเป็ นต้อง
เปลี่ยนไส้กรอกสม่าเสมอตามที่ผู้ผลิตกาหนด
•ไส้กรองที่หมดอายุจะเริ่มปล่อยสารพิษที่กรองไว้
ออกมากับน้า และยังเป็ นแหล่งเพาะเชื้อแบคทีเรีย

More Related Content

What's hot

Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัยPloyLii
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 

What's hot (18)

บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
Food&life
Food&lifeFood&life
Food&life
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 

Similar to 2

อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารBank Kitsana
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยยguest3494f08
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 

Similar to 2 (20)

อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยย
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 

2