SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
บทสรุปผู้บริหาร
รายงานการสำารวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้าน
ยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม
ประกาศ(ร่าง)กฎกระทรวงฯเกี่ยวกับการขายยาแผน
ปัจจุบัน พ.ศ……
โดย ภก.ดร.วิรัตน์ ทองรอด, ภญ.พรทิพย์ เจียมสุชน
วัตถุประสงค์
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำารวจความพร้อมของผู้
ประกอบการร้านยาต่อการประกาศ(ร่าง)กฎกระทรวงว่าด้วยหลัก
เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาต การออกใบอนุญาต
การต่ออายุใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาต เกี่ยวกับการ
ขายยาแผนปัจจุบัน ที่จะมีผลบังคับใช้ให้ร้านยาปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติ
ทางเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยาคุณภาพ) และ เพื่อหารูปแบบของร้าน
ยาที่พึงประสงค์ในสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นของสมาชิกชมรมร้าน
ขายยาแห่งประเทศไทย ดำาเนินการสำารวจระหว่างเดือนกุมภาพันธ์–
เมษายน 2553 กับผู้ประกอบการร้านยาทั่วประเทศที่เป็นสมาชิก
ชมรมร้านขายยา
ผลการสำารวจ
1. ข้อมูลทั่วไป
ผู้ตอบแบบสำารวจตอบกลับมาทั้งสิ้น 796 ร้าน คิดเป็นร้อยละ
10.6 ของสมาชิกทั้งหมด เป็นร้านยา ขย.1 จำานวน 460 ร้าน (ร้อย
ละ 57.8) และร้านยา ขย.2 จำานวน 315 ร้าน (ร้อยละ 39.6) ใน
จำานวนนี้เป็นร้านยานอกอำาเภอเมือง 499 ร้านคิดเป็นร้อยละ 62.7
และร้านยาในเขตอำาเภอเมือง 289 ร้านคิดเป็นร้อยละ 36.3 โดยมา
จากจังหวัดต่างๆ จำานวน 68 จังหวัด (ร้อยละ 89.5) โดยจังหวัดที่มี
แบบสำารวจตอบกลับมามากที่สุด 5 ลำาดับแรก ได้แก่ 1) ชลบุรี (ร้อย
ละ 6.5) 2) นครราชสีมา (ร้อยละ 3.6) 3) นนทบุรี ขอนแก่น และ
ลพบุรีที่มีจำานวนร้านเท่ากัน (ร้อยละ 3.3) เมื่อรวมเป็นภาค พบว่า
ภาคใต้ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก และกรุงเทพ
(และปริมณฑล) คิดเป็นร้อยละ 27.7, 23.5, 23.5, 16.0, 6.6 และ
2.6 ตามลำาดับ
เมื่อแยกตามจำานวนปีที่เปิดร้าน พบว่า กว่าครึ่งที่เปิดร้านมา
มากกว่า 20 ปี (ร้อยละ 58.7) รองลงมา คือ 6-10 ปี (ร้อยละ 17.3)
ส่วนรายได้ต่อวัน พบว่า ประมาณหนึ่งในสามที่มีรายได้ต่อวันน้อย
กว่า 3,000 บาท (ร้อยละ 36.2) และอีกประมาณหนึ่งในสามที่มีราย
1
ได้ต่อวัน 3,000 – 5,000 บาท (ร้อยละ 32.9) และที่เหลืออีก
ประมาณหนึ่งในสามที่มีรายได้ต่อวันมากกว่า 5,000 บาทขึ้นไป
มีร้านยาที่ผู้ประกอบการเป็นทั้งผู้ดำาเนินกิจการและผู้มีหน้าที่
ปฏิบัติการทุกประเภทมีจำานวน 516 ร้านคิดเป็นร้อยละ 64.8 ซึ่ง
ส่วนใหญ่เป็นร้านยา ขย.1 (ร้อยละ 89.14) โดยเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติ
และประจำาอยู่ร้านยาร้อยละ 43.0 และไม่ได้อยู่ประจำาร้านแต่มีลูก/
หลานหรือจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการท่านอื่นอยู่ประจำาหรือเป็นบางเวลา
ร้อยละ 57.0 สำาหรับร้าน ขย.2 มีจำานวน 315 ร้าน ซึ่งส่วนใหญ่ผู้
ประกอบการร้านยาเป็นผู้ดำาเนินกิจการและผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ 298
ร้าน (ร้อยละ 94.6)
ในเรื่องการจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการมาอยู่ประจำาร้าน (ค่าเฉลี่ย
10,847.47 บาท ตำ่าสุด 0 บาท สูงสุด 35,000 บาท) พบว่า ร้อยละ
37.7 ของร้านยาจะไม่จ้างเภสัชกรมาประจำาร้าน (ตอบว่าจ้างเป็นเงิน
0 บาท) และจะจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการเป็นเงินเดือน 1,000-5,000
บาท คิดเป็นร้อยละ 17.1 ถัดมา คือ 6,000-10,000 บาท คิดเป็น
ร้อยละ 22.3 และ 12,000-20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 17.9 และ
มีอีกร้อยละ 5.0 ที่จ้างเป็นเงินเดือนตั้งแต่ 22,000 บาทเป็นต้นไป
สำาหรับเรื่องผู้ประกอบการจะส่งลูก/หลานไปเรียนเภสัชศาสตร์
บัณฑิต ร้านยาส่วนใหญ่ร้อยละ 58.7 ที่มีความคิดในเรื่องนี้ และร้าน
ยาที่ไม่มีความคิดดังกล่าวจำานวน 155 ร้านคิดเป็นร้อยละ 19.5 %
(ส่วนอีกร้อยละ 20.6 ไม่ตอบในประเด็นนี้)
ในด้านระยะเวลาในการปรับปรุงร้านยาให้เป็นร้านยาคุณภาพ
นั้นมีค่าเฉลี่ย 5.89 ปี (ตำ่าสุด 0 ปีหรือทันที สูงสุด 40 ปี) โดยร้อยละ
40.0 จะใช้เวลาปรับปรุง 1-5 ปี อีกร้อยละ 31.9 จะใช้เวลาปรับปรุง
6-10 ปี และที่เหลืออีกร้อยละ 9.7 ที่จะใช้เวลาปรับปรุงมากกว่า 10
ปี และมีถึงร้อยละ 18.4 ที่ใช้เวลาปรับปรุง 0 ปี (ทันที)
ตารางที่ 1 ผลการสำารวจร้านยาของตนเอง
ความเห็น
สมำ่าเสมอ
ปานกลาง
ไม่สมำ่าเสมอ
1.บริเวณและภายในร้านอยู่ในสภาพสะอาด เป็น
ระเบียบ ป้องกันสัตว์แมลง ปลอดกลิ่นน่า รังเกียจ
จากภายนอกหรือมลภาวะ
58
8
(75
.3)
18
4
(23
.6)
9
(1.2
)
2
2. อากาศถ่ายเท ไม่มีกลิ่นอับ 67
1
(85
.9)
10
6
(13
.6)
4
(0.5
)
3. มีการทำาความสะอาดสมำ่าเสมอ ไม่มีฝุ่นหนา ไม่มี
เศษขยะอยู่นอกที่ทิ้งขยะ ถังขยะมีฝาปิด
55
3
(70
.8)
21
5
(27
.5)
13
(1.7
)
4. แสงสว่างเหมาะสมต่อการอ่านเอกสารทั่วไปใน
บริเวณนั้น อ่านตัวหนังสือบนภาชนะบรรจุยา และเห็น
ป้ายแสดงต่างๆ
67
8
(86
.8)
10
2
(13
.1)
1
(0.1
)
5. มีวิธีควบคุมกำากับยาหมดอายุ และส่งคืนหรือ
ทำาลายยาหมดอายุที่ชัดเจนเป็นระบบ
49
7
(63
.7)
25
8
(33
.1)
25
(3.2
)
6. สถานที่เก็บรักษายา มีอุณหภูมิเหมาะสมตามชนิด
ของยา และไม่ถูกแดดส่อง
49
5
(63
.5)
26
8
(34
.4)
17
(2.2
)
7. มีเครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ ไว้บริการลูกค้า เช่น
เครื่องชั่งนำ้าหนัก,ที่วัดส่วนสูง, เครื่องวัดความดันโลหิต
และชีพจร
31
5
(40
.3)
27
5
(35
.2)
191
(24.
5)
8. ฉลาก/ซองยามีข้อมูลเพียงพอต่อการใช้ของผู้ใช้
ยา เช่น ชื่อยา ข้อบ่งใช้ วิธีใช้ยาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
หรือมีฉลากช่วย คำาแนะนำา คำาเตือน
43
4
(55
.6)
29
9
(38
.3)
48
(6.1
)
9. ไม่มีการจำาหน่ายยาชุด ยาปลอม ยาหมดอายุ ยาที่
ถูกเพิกถอนทะเบียน ยาที่ถูกยกเลิกทะเบียน ยาไม่มี
ทะเบียน
64
7
(82
.8)
82
(10
.5)
52
(6.7
)
10. บริการข้อมูลและความรู้เรื่องยาและผลิตภัณฑ์
สุขภาพที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
49
3
(63
.1)
26
3
(33
.7)
25
(3.2
)
ตัวเลข คือ ความถี่ และตัวเลขในวงเล็บ คือ ร้อยละ
2. การสำารวจร้านยาของตนเอง
ในส่วนที่ 2 นี้เป็นการสำารวจร้านยาของตนเองในประเด็นต่างๆ
10 ข้อ โดยจัดให้มีตัวเลือกคำาตอบ 3 ระดับ คือ สมำ่าเสมอ ปานกลาง
และไม่สมำ่าเสมอ (ดังแสดงในตารางที่ 1 ตัวเลขเป็นค่าความถี่ ส่วน
3
ตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บเป็นค่าร้อยละ) พบว่า สมาชิกส่วนใหญ่
ได้ปฏิบัติในประเด็นทั้ง 10 ในระดับสมำ่าเสมอและปานกลางรวมกัน
มากกว่าร้อยละ 90.0 ไม่ว่าจะเป็น สภาพความสะอาดและเป็น
ระเบียบของร้าน อากาศถ่ายเท การทำาความสะอาดสมำ่าเสมอ มีวิธี
ควบคุมกำากับยาหมดอายุ สถานที่เก็บรักษายาที่เหมาะสม ฉลาก/ซอง
ยามีข้อมูลเพียงพอ ไม่มีการจำาหน่ายยาชุดและยาผิดกฎหมาย และ
ให้บริการข้อมูลและความรู้เรื่องยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยกเว้น ข้อ
7 “มีเครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ ไว้บริการลูกค้า เช่น เครื่องชั่งนำ้า
หนัก,ที่วัดส่วนสูง, ”เครื่องวัดความดันโลหิตและชีพจร เพียงข้อเดียว
ที่ “ ”ไม่สมำ่าเสมอ ถึงร้อยละ 24.5 หรือ ประมาณ 1 ใน 4 ที่ยังไม่
พร้อมในประเด็นนี้
3. ข้อเสนอให้สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
(อย.) เกี่ยวกับนโยบายจากภาครัฐเป็นร้านยาคุณภาพ
สมาชิกได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับนโยบายของภาครัฐให้พัฒนา
เป็นร้านยาคุณภาพ ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นสำาคัญ ดังแสดงในรูป
ที่ 1 ดังนี้
3.1 ยังไม่ควรจะบังคับใช้.. ซึ่งพบว่า สมาชิกประมาณร้อย
ละ 70-80 มีความเห็นว่า ยังไม่ควรจะบังคับใช้เรื่องร้านยาคุณภาพ
โดยมีเหตุผล ดังนี้
ก. ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ ประมาณร้อยละ 40-50 โดย
ส่วนใหญ่ต้องการส่งลูกหลานไปเรียนเป็นเภสัชกรเป็นประเด็นสำาคัญ
รองลงมา คือ จำานวนเภสัชกรยังไม่เพียงพอ ไม่คุ้มที่จะต้องจ้าง
เภสัชกร เภสัชกรไม่ต้องการอยู่ร้านยา และเสนอว่า ให้เภสัชกรอยู่
ร้านวันละ 3 ชั่วโมงก็พอแล้ว
ข. คง...ร้านยา ขย.2 ประมาณร้อยละ 20 ที่ต้องการให้
คงร้านยา ขย.2 ไว้ ด้วยเหตุผลว่า โดยเฉพาะในชนบทหรือเมืองเล็ก
ควรจัดให้มีการอบรมความรู้ให้กับร้านยา ขย. 2 ควรให้ร้านยา ขย.
2 สืบทอดถึงทายาทได้ และถ้าให้เลิกร้านยา ขย.2 จะไม่มีอาชีพใน
การทำามาหาเลี้ยงครอบครัว
ค. มีเงื่อนไข ประมาณร้อยละ 10 ที่ขอเสนอเงื่อนไข
โดยส่วนใหญ่ขอให้ผ่อนผันออกไป 8-10-20 ปี (แปด สิบ และยี่สิบ
ปี) รองลงมา คือ ควรเริ่มจากเขตที่มีความพร้อมก่อน เช่น ในกรุงเทพ
ปริมณฑล หรือ อำาเภอเมือง ของบประมาณสนับสนุนในการพัฒนา
ร้านยา ควรพัฒนาร้านยาคุณภาพตามความสมัครใจ และต้องการให้
จัดการเข้มงวดเอาจริงกับร้านยาที่ทำาผิดกฎหมาย
3.2 บังคับได้เลย.. ประมาณร้อยละ 20-30 ที่เสนอให้บังคับ
ใช้ได้เลย โดยแยกเป็นประเด็นย่อย 3 ประเด็น ดังนี้
4
ก. ต้องการสิ่งสนับสนุน/สิทธิพิเศษ ประมาณร้อยละ
10 โดยส่วนใหญ่ของสมาชิกต้องการประชาสัมพันธ์ร้านยาคุณภาพ
ให้ประชาชนได้รู้จัก รองลงมา คือ การลดขั้นตอนในการเข้าร่วมเป็น
ร้านยาคุณภาพให้น้อยลง การจัดหาเภสัชกรที่ต้องการอยู่ที่ร้านยา
การเชื่อมต่อร้านยากับระบบประกันสุขภาพ และให้ร้านยาคุณภาพ
ขายยาได้ทุกชนิด
5
รูปที่ 1 ข้อเสนอของจากสมาชิกเพื่อให้สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เกี่ยวกับนโยบาย
จากภาครัฐเป็นร้านยาคุณภาพ
6
ข. เข้มงวด...กฎหมาย ประมาณร้อยละ 5-10 ที่
ต้องการให้มีการเข้มงวดในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวกับร้านยา โดย
เฉพาะเรื่องยาที่ผิดกฎหมาย ได้แก่ ยาชุด ยานอนหลับ ยาสเตียรอยด์
ยาทำาแท้ง ยาแก้ไอ เป็นต้น ควรจัดให้มีการตรวจร้านยาปีละ 1-4
ครั้ง ให้ติดตามการบังคับใช้กฎหมายของสำานักงานสาธารณสุขใน
บางจังหวัด และร้านยา ขย.1 ต้องมีเภสัชกรประจำา
ค. เริ่มต้นกับร้านยาใหม่ ประมาณร้อยละ 5-10 ที่
ต้องการให้บังคับใช้เรื่องนี้กับร้านยาที่เปิดใหม่ทั้งหมด
สรุป มีสมาชิกร้อยละ 10.6 ที่ส่งแบบสำารวจกลับมา เป็นร้านยา
ขย.1 (เกือบร้อยละ 60) และที่เหลืออีกร้อยละ 40 เป็นร้านยา ขย.2
โดย 2 ใน 3 มีที่ตั้งนอกอำาเภอเมือง และกว่าครึ่งหนึ่งที่เปิดร้านมา
มากกว่า 20 ปี (ร้อยละ 58.7) ในจำานวนนี้มีรายได้ต่อวันแบ่งเป็น 3
กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีรายได้น้อยกว่า 3,000 บาท/วัน กลุ่มที่มีรายได้
3,000–5,000 บาท/วัน และกลุ่มที่ที่มีรายได้ต่อวันมากกว่า 5,000
บาทขึ้นไป ค่าเฉลี่ยในเรื่องการจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการมาอยู่ประจำา
ร้าน เท่ากับ 10,847.47 บาท แต่ส่วนใหญ่ต้องการส่งลูก/หลานไป
เรียนเภสัช (ร้อยละ 58.7) โดยจะปรับปรุงร้านยาให้เป็นร้านยา
คุณภาพเฉลี่ย 5.89 ปี ในการสำารวจร้านยาของตนเอง พบว่า
สมาชิกส่วนใหญ่ได้ปฏิบัติในประเด็นทั้ง 10 ในระดับสมำ่าเสมอและ
ปานกลางรวมกันมากกว่าร้อยละ 90 ยกเว้นเรื่องเครื่องมือหรือ
อุปกรณ์ (ร้อยละ 75.5) และสมาชิกส่วนใหญ่เห็นว่า (ร้อยละ 70-
80) ยังไม่ควรจะบังคับใช้เรื่องร้านยาคุณภาพ เพราะติดปัญหาเรื่อง
ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ ต้องการให้คงร้านยา ขย.2 ไว้ และขอผ่อนผัน
ออกไป 8-20 ปี แต่อีก 1 ใน 5 ที่เหลือมีความเห็นว่า ควรจะบังคับ
ได้เลย แต่ต้องการสิ่งสนับสนุน/สิทธิพิเศษ การประชาสัมพันธ์ร้านยา
คุณภาพให้ประชาชนได้รู้จัก การเข้มงวดเรื่องกฎหมาย และเริ่มต้น
กับร้านยาที่เปิดใหม่ก่อน
------------------------------------------------------------------------------------------
--
7

More Related Content

What's hot

แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015Utai Sukviwatsirikul
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา GppUtai Sukviwatsirikul
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...Vorawut Wongumpornpinit
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPUtai Sukviwatsirikul
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (18)

แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
 
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้ารวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
 
กฎกระทรวง GPP
กฎกระทรวง GPPกฎกระทรวง GPP
กฎกระทรวง GPP
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
 

Viewers also liked

Functional dyspepsia its causes and therapies
Functional dyspepsia  its causes and therapies Functional dyspepsia  its causes and therapies
Functional dyspepsia its causes and therapies Utai Sukviwatsirikul
 
Guiding Principles for Diabetes Care
Guiding Principles for Diabetes CareGuiding Principles for Diabetes Care
Guiding Principles for Diabetes CareUtai Sukviwatsirikul
 
Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)
Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)
Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)tanilenatic
 
ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...
ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...
ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (7)

Functional dyspepsia its causes and therapies
Functional dyspepsia  its causes and therapies Functional dyspepsia  its causes and therapies
Functional dyspepsia its causes and therapies
 
Guiding Principles for Diabetes Care
Guiding Principles for Diabetes CareGuiding Principles for Diabetes Care
Guiding Principles for Diabetes Care
 
Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)
Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)
Lei n.º 46barra86, de 14 de outubro (lbse)
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Ct chapter9
Ct chapter9Ct chapter9
Ct chapter9
 
Innovation & Marketing at 50+
Innovation & Marketing at 50+Innovation & Marketing at 50+
Innovation & Marketing at 50+
 
ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...
ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...
ร่างกฎกระทรวง สธ. กำหนดให้ร้านยาต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้ห...
 

Similar to รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(ร่าง)กฎกระ

ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdfแนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdfssusercd124f
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาParun Rutjanathamrong
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ Utai Sukviwatsirikul
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementSurang Judistprasert
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Self assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug storeSelf assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug storeKanon Thamcharoen
 

Similar to รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(ร่าง)กฎกระ (20)

ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdfแนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
Pharmacy ayudya
Pharmacy ayudyaPharmacy ayudya
Pharmacy ayudya
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Self assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug storeSelf assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug store
 
Self assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug storeSelf assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug store
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(ร่าง)กฎกระ

  • 1. บทสรุปผู้บริหาร รายงานการสำารวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้าน ยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(ร่าง)กฎกระทรวงฯเกี่ยวกับการขายยาแผน ปัจจุบัน พ.ศ…… โดย ภก.ดร.วิรัตน์ ทองรอด, ภญ.พรทิพย์ เจียมสุชน วัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำารวจความพร้อมของผู้ ประกอบการร้านยาต่อการประกาศ(ร่าง)กฎกระทรวงว่าด้วยหลัก เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาต การออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาต เกี่ยวกับการ ขายยาแผนปัจจุบัน ที่จะมีผลบังคับใช้ให้ร้านยาปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติ ทางเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยาคุณภาพ) และ เพื่อหารูปแบบของร้าน ยาที่พึงประสงค์ในสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นของสมาชิกชมรมร้าน ขายยาแห่งประเทศไทย ดำาเนินการสำารวจระหว่างเดือนกุมภาพันธ์– เมษายน 2553 กับผู้ประกอบการร้านยาทั่วประเทศที่เป็นสมาชิก ชมรมร้านขายยา ผลการสำารวจ 1. ข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบแบบสำารวจตอบกลับมาทั้งสิ้น 796 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 10.6 ของสมาชิกทั้งหมด เป็นร้านยา ขย.1 จำานวน 460 ร้าน (ร้อย ละ 57.8) และร้านยา ขย.2 จำานวน 315 ร้าน (ร้อยละ 39.6) ใน จำานวนนี้เป็นร้านยานอกอำาเภอเมือง 499 ร้านคิดเป็นร้อยละ 62.7 และร้านยาในเขตอำาเภอเมือง 289 ร้านคิดเป็นร้อยละ 36.3 โดยมา จากจังหวัดต่างๆ จำานวน 68 จังหวัด (ร้อยละ 89.5) โดยจังหวัดที่มี แบบสำารวจตอบกลับมามากที่สุด 5 ลำาดับแรก ได้แก่ 1) ชลบุรี (ร้อย ละ 6.5) 2) นครราชสีมา (ร้อยละ 3.6) 3) นนทบุรี ขอนแก่น และ ลพบุรีที่มีจำานวนร้านเท่ากัน (ร้อยละ 3.3) เมื่อรวมเป็นภาค พบว่า ภาคใต้ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก และกรุงเทพ (และปริมณฑล) คิดเป็นร้อยละ 27.7, 23.5, 23.5, 16.0, 6.6 และ 2.6 ตามลำาดับ เมื่อแยกตามจำานวนปีที่เปิดร้าน พบว่า กว่าครึ่งที่เปิดร้านมา มากกว่า 20 ปี (ร้อยละ 58.7) รองลงมา คือ 6-10 ปี (ร้อยละ 17.3) ส่วนรายได้ต่อวัน พบว่า ประมาณหนึ่งในสามที่มีรายได้ต่อวันน้อย กว่า 3,000 บาท (ร้อยละ 36.2) และอีกประมาณหนึ่งในสามที่มีราย 1
  • 2. ได้ต่อวัน 3,000 – 5,000 บาท (ร้อยละ 32.9) และที่เหลืออีก ประมาณหนึ่งในสามที่มีรายได้ต่อวันมากกว่า 5,000 บาทขึ้นไป มีร้านยาที่ผู้ประกอบการเป็นทั้งผู้ดำาเนินกิจการและผู้มีหน้าที่ ปฏิบัติการทุกประเภทมีจำานวน 516 ร้านคิดเป็นร้อยละ 64.8 ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นร้านยา ขย.1 (ร้อยละ 89.14) โดยเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติ และประจำาอยู่ร้านยาร้อยละ 43.0 และไม่ได้อยู่ประจำาร้านแต่มีลูก/ หลานหรือจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการท่านอื่นอยู่ประจำาหรือเป็นบางเวลา ร้อยละ 57.0 สำาหรับร้าน ขย.2 มีจำานวน 315 ร้าน ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ ประกอบการร้านยาเป็นผู้ดำาเนินกิจการและผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ 298 ร้าน (ร้อยละ 94.6) ในเรื่องการจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการมาอยู่ประจำาร้าน (ค่าเฉลี่ย 10,847.47 บาท ตำ่าสุด 0 บาท สูงสุด 35,000 บาท) พบว่า ร้อยละ 37.7 ของร้านยาจะไม่จ้างเภสัชกรมาประจำาร้าน (ตอบว่าจ้างเป็นเงิน 0 บาท) และจะจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการเป็นเงินเดือน 1,000-5,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 17.1 ถัดมา คือ 6,000-10,000 บาท คิดเป็น ร้อยละ 22.3 และ 12,000-20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 17.9 และ มีอีกร้อยละ 5.0 ที่จ้างเป็นเงินเดือนตั้งแต่ 22,000 บาทเป็นต้นไป สำาหรับเรื่องผู้ประกอบการจะส่งลูก/หลานไปเรียนเภสัชศาสตร์ บัณฑิต ร้านยาส่วนใหญ่ร้อยละ 58.7 ที่มีความคิดในเรื่องนี้ และร้าน ยาที่ไม่มีความคิดดังกล่าวจำานวน 155 ร้านคิดเป็นร้อยละ 19.5 % (ส่วนอีกร้อยละ 20.6 ไม่ตอบในประเด็นนี้) ในด้านระยะเวลาในการปรับปรุงร้านยาให้เป็นร้านยาคุณภาพ นั้นมีค่าเฉลี่ย 5.89 ปี (ตำ่าสุด 0 ปีหรือทันที สูงสุด 40 ปี) โดยร้อยละ 40.0 จะใช้เวลาปรับปรุง 1-5 ปี อีกร้อยละ 31.9 จะใช้เวลาปรับปรุง 6-10 ปี และที่เหลืออีกร้อยละ 9.7 ที่จะใช้เวลาปรับปรุงมากกว่า 10 ปี และมีถึงร้อยละ 18.4 ที่ใช้เวลาปรับปรุง 0 ปี (ทันที) ตารางที่ 1 ผลการสำารวจร้านยาของตนเอง ความเห็น สมำ่าเสมอ ปานกลาง ไม่สมำ่าเสมอ 1.บริเวณและภายในร้านอยู่ในสภาพสะอาด เป็น ระเบียบ ป้องกันสัตว์แมลง ปลอดกลิ่นน่า รังเกียจ จากภายนอกหรือมลภาวะ 58 8 (75 .3) 18 4 (23 .6) 9 (1.2 ) 2
  • 3. 2. อากาศถ่ายเท ไม่มีกลิ่นอับ 67 1 (85 .9) 10 6 (13 .6) 4 (0.5 ) 3. มีการทำาความสะอาดสมำ่าเสมอ ไม่มีฝุ่นหนา ไม่มี เศษขยะอยู่นอกที่ทิ้งขยะ ถังขยะมีฝาปิด 55 3 (70 .8) 21 5 (27 .5) 13 (1.7 ) 4. แสงสว่างเหมาะสมต่อการอ่านเอกสารทั่วไปใน บริเวณนั้น อ่านตัวหนังสือบนภาชนะบรรจุยา และเห็น ป้ายแสดงต่างๆ 67 8 (86 .8) 10 2 (13 .1) 1 (0.1 ) 5. มีวิธีควบคุมกำากับยาหมดอายุ และส่งคืนหรือ ทำาลายยาหมดอายุที่ชัดเจนเป็นระบบ 49 7 (63 .7) 25 8 (33 .1) 25 (3.2 ) 6. สถานที่เก็บรักษายา มีอุณหภูมิเหมาะสมตามชนิด ของยา และไม่ถูกแดดส่อง 49 5 (63 .5) 26 8 (34 .4) 17 (2.2 ) 7. มีเครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ ไว้บริการลูกค้า เช่น เครื่องชั่งนำ้าหนัก,ที่วัดส่วนสูง, เครื่องวัดความดันโลหิต และชีพจร 31 5 (40 .3) 27 5 (35 .2) 191 (24. 5) 8. ฉลาก/ซองยามีข้อมูลเพียงพอต่อการใช้ของผู้ใช้ ยา เช่น ชื่อยา ข้อบ่งใช้ วิธีใช้ยาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย หรือมีฉลากช่วย คำาแนะนำา คำาเตือน 43 4 (55 .6) 29 9 (38 .3) 48 (6.1 ) 9. ไม่มีการจำาหน่ายยาชุด ยาปลอม ยาหมดอายุ ยาที่ ถูกเพิกถอนทะเบียน ยาที่ถูกยกเลิกทะเบียน ยาไม่มี ทะเบียน 64 7 (82 .8) 82 (10 .5) 52 (6.7 ) 10. บริการข้อมูลและความรู้เรื่องยาและผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน 49 3 (63 .1) 26 3 (33 .7) 25 (3.2 ) ตัวเลข คือ ความถี่ และตัวเลขในวงเล็บ คือ ร้อยละ 2. การสำารวจร้านยาของตนเอง ในส่วนที่ 2 นี้เป็นการสำารวจร้านยาของตนเองในประเด็นต่างๆ 10 ข้อ โดยจัดให้มีตัวเลือกคำาตอบ 3 ระดับ คือ สมำ่าเสมอ ปานกลาง และไม่สมำ่าเสมอ (ดังแสดงในตารางที่ 1 ตัวเลขเป็นค่าความถี่ ส่วน 3
  • 4. ตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บเป็นค่าร้อยละ) พบว่า สมาชิกส่วนใหญ่ ได้ปฏิบัติในประเด็นทั้ง 10 ในระดับสมำ่าเสมอและปานกลางรวมกัน มากกว่าร้อยละ 90.0 ไม่ว่าจะเป็น สภาพความสะอาดและเป็น ระเบียบของร้าน อากาศถ่ายเท การทำาความสะอาดสมำ่าเสมอ มีวิธี ควบคุมกำากับยาหมดอายุ สถานที่เก็บรักษายาที่เหมาะสม ฉลาก/ซอง ยามีข้อมูลเพียงพอ ไม่มีการจำาหน่ายยาชุดและยาผิดกฎหมาย และ ให้บริการข้อมูลและความรู้เรื่องยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยกเว้น ข้อ 7 “มีเครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ ไว้บริการลูกค้า เช่น เครื่องชั่งนำ้า หนัก,ที่วัดส่วนสูง, ”เครื่องวัดความดันโลหิตและชีพจร เพียงข้อเดียว ที่ “ ”ไม่สมำ่าเสมอ ถึงร้อยละ 24.5 หรือ ประมาณ 1 ใน 4 ที่ยังไม่ พร้อมในประเด็นนี้ 3. ข้อเสนอให้สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เกี่ยวกับนโยบายจากภาครัฐเป็นร้านยาคุณภาพ สมาชิกได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับนโยบายของภาครัฐให้พัฒนา เป็นร้านยาคุณภาพ ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นสำาคัญ ดังแสดงในรูป ที่ 1 ดังนี้ 3.1 ยังไม่ควรจะบังคับใช้.. ซึ่งพบว่า สมาชิกประมาณร้อย ละ 70-80 มีความเห็นว่า ยังไม่ควรจะบังคับใช้เรื่องร้านยาคุณภาพ โดยมีเหตุผล ดังนี้ ก. ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ ประมาณร้อยละ 40-50 โดย ส่วนใหญ่ต้องการส่งลูกหลานไปเรียนเป็นเภสัชกรเป็นประเด็นสำาคัญ รองลงมา คือ จำานวนเภสัชกรยังไม่เพียงพอ ไม่คุ้มที่จะต้องจ้าง เภสัชกร เภสัชกรไม่ต้องการอยู่ร้านยา และเสนอว่า ให้เภสัชกรอยู่ ร้านวันละ 3 ชั่วโมงก็พอแล้ว ข. คง...ร้านยา ขย.2 ประมาณร้อยละ 20 ที่ต้องการให้ คงร้านยา ขย.2 ไว้ ด้วยเหตุผลว่า โดยเฉพาะในชนบทหรือเมืองเล็ก ควรจัดให้มีการอบรมความรู้ให้กับร้านยา ขย. 2 ควรให้ร้านยา ขย. 2 สืบทอดถึงทายาทได้ และถ้าให้เลิกร้านยา ขย.2 จะไม่มีอาชีพใน การทำามาหาเลี้ยงครอบครัว ค. มีเงื่อนไข ประมาณร้อยละ 10 ที่ขอเสนอเงื่อนไข โดยส่วนใหญ่ขอให้ผ่อนผันออกไป 8-10-20 ปี (แปด สิบ และยี่สิบ ปี) รองลงมา คือ ควรเริ่มจากเขตที่มีความพร้อมก่อน เช่น ในกรุงเทพ ปริมณฑล หรือ อำาเภอเมือง ของบประมาณสนับสนุนในการพัฒนา ร้านยา ควรพัฒนาร้านยาคุณภาพตามความสมัครใจ และต้องการให้ จัดการเข้มงวดเอาจริงกับร้านยาที่ทำาผิดกฎหมาย 3.2 บังคับได้เลย.. ประมาณร้อยละ 20-30 ที่เสนอให้บังคับ ใช้ได้เลย โดยแยกเป็นประเด็นย่อย 3 ประเด็น ดังนี้ 4
  • 5. ก. ต้องการสิ่งสนับสนุน/สิทธิพิเศษ ประมาณร้อยละ 10 โดยส่วนใหญ่ของสมาชิกต้องการประชาสัมพันธ์ร้านยาคุณภาพ ให้ประชาชนได้รู้จัก รองลงมา คือ การลดขั้นตอนในการเข้าร่วมเป็น ร้านยาคุณภาพให้น้อยลง การจัดหาเภสัชกรที่ต้องการอยู่ที่ร้านยา การเชื่อมต่อร้านยากับระบบประกันสุขภาพ และให้ร้านยาคุณภาพ ขายยาได้ทุกชนิด 5
  • 6. รูปที่ 1 ข้อเสนอของจากสมาชิกเพื่อให้สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เกี่ยวกับนโยบาย จากภาครัฐเป็นร้านยาคุณภาพ 6
  • 7. ข. เข้มงวด...กฎหมาย ประมาณร้อยละ 5-10 ที่ ต้องการให้มีการเข้มงวดในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวกับร้านยา โดย เฉพาะเรื่องยาที่ผิดกฎหมาย ได้แก่ ยาชุด ยานอนหลับ ยาสเตียรอยด์ ยาทำาแท้ง ยาแก้ไอ เป็นต้น ควรจัดให้มีการตรวจร้านยาปีละ 1-4 ครั้ง ให้ติดตามการบังคับใช้กฎหมายของสำานักงานสาธารณสุขใน บางจังหวัด และร้านยา ขย.1 ต้องมีเภสัชกรประจำา ค. เริ่มต้นกับร้านยาใหม่ ประมาณร้อยละ 5-10 ที่ ต้องการให้บังคับใช้เรื่องนี้กับร้านยาที่เปิดใหม่ทั้งหมด สรุป มีสมาชิกร้อยละ 10.6 ที่ส่งแบบสำารวจกลับมา เป็นร้านยา ขย.1 (เกือบร้อยละ 60) และที่เหลืออีกร้อยละ 40 เป็นร้านยา ขย.2 โดย 2 ใน 3 มีที่ตั้งนอกอำาเภอเมือง และกว่าครึ่งหนึ่งที่เปิดร้านมา มากกว่า 20 ปี (ร้อยละ 58.7) ในจำานวนนี้มีรายได้ต่อวันแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีรายได้น้อยกว่า 3,000 บาท/วัน กลุ่มที่มีรายได้ 3,000–5,000 บาท/วัน และกลุ่มที่ที่มีรายได้ต่อวันมากกว่า 5,000 บาทขึ้นไป ค่าเฉลี่ยในเรื่องการจ้างผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการมาอยู่ประจำา ร้าน เท่ากับ 10,847.47 บาท แต่ส่วนใหญ่ต้องการส่งลูก/หลานไป เรียนเภสัช (ร้อยละ 58.7) โดยจะปรับปรุงร้านยาให้เป็นร้านยา คุณภาพเฉลี่ย 5.89 ปี ในการสำารวจร้านยาของตนเอง พบว่า สมาชิกส่วนใหญ่ได้ปฏิบัติในประเด็นทั้ง 10 ในระดับสมำ่าเสมอและ ปานกลางรวมกันมากกว่าร้อยละ 90 ยกเว้นเรื่องเครื่องมือหรือ อุปกรณ์ (ร้อยละ 75.5) และสมาชิกส่วนใหญ่เห็นว่า (ร้อยละ 70- 80) ยังไม่ควรจะบังคับใช้เรื่องร้านยาคุณภาพ เพราะติดปัญหาเรื่อง ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ ต้องการให้คงร้านยา ขย.2 ไว้ และขอผ่อนผัน ออกไป 8-20 ปี แต่อีก 1 ใน 5 ที่เหลือมีความเห็นว่า ควรจะบังคับ ได้เลย แต่ต้องการสิ่งสนับสนุน/สิทธิพิเศษ การประชาสัมพันธ์ร้านยา คุณภาพให้ประชาชนได้รู้จัก การเข้มงวดเรื่องกฎหมาย และเริ่มต้น กับร้านยาที่เปิดใหม่ก่อน ------------------------------------------------------------------------------------------ -- 7