SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
11 พ.ค. 64
1
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน
ในรูปแบบที่ 3 (Model 3)
ตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
2
จํานวนผู้ป่วยสะสม และจํานวนครั้ง ที่ไปรับยาที่ร้านยา รายโรงพยาบาลสูงสุด 10 อันดับแรก ณ 1 เม.ย. 64
3
แหล่งข้อมูล 1) ฐานข้อมูลหน่วยงานที่ขึ้นทะเบียนเข้าร่วมโครงการ สปสช. 2) ฐานข้อมูลระบบข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ สปสช.
ลําดับ สปสช.เขต จังหวัด ชื่อโรงพยาบาล จํานวนผู้ป่วย (คน) จํานวนครั้ง
1 1 เชียงราย เชียงรายประชานุเคราะห์ 6,443 10,964
2 12 สงขลา หาดใหญ่ 2,832 5,331
3 2 สุโขทัย สุโขทัย 2,208 2,826
4 5 นครปฐม นครปฐม 1,900 2,434
5 5 เพชรบุรี พระจอมเกล้า 1,662 2,246
6 1 ลําพูน ลําพูน 1,127 6,504
7 2 ตาก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 1,113 2,173
8 7 กาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ 1,103 1,913
9 3 พิจิตร พิจิตร 1,032 2,752
10 6 ระยอง ระยอง 974 1,352
Microsoft Excel
Worksheet
จํานวนโรงพยาบาลและร้านยาที่เข้าร่วมโครงการ (รพ. 21 แห่งร้านยา 87 แห่ง
4
ลําดับ สปสช.เขต จังหวัด ชื่อโรงพยาบาล จํานวนร้าน
ยา
1 1 ลําพูน ลําพูน 8
2 2 ตาก แม่สอด 3
3 2 พิษณุโลก พุทธชินราช 8
4 5 นครปฐม เมตตาประชารักษ์
(วัดไร่ขิง)
1
5 5 เพชรบุรี พระจอมเกล้า 2
6 6 ชลบุรี ชลบุรี 1
7 7 ขอนแก่น ขอนแก่น 1
8 7 มหาสารคาม มหาสารคาม 1
9 7 ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด 1
10 9 ชัยภูมิ ชัยภูมิ 2
ลําดับ สปสช.
เขต
จังหวัด ชื่อโรงพยาบาล จํานวนร้านยา
11 9 นครราชสีมา จิตเวชนครราชสีมา
ราชนครินทร์
1
12 9 นครราชสีมา มหาราช
นครราชสีมา
3
13 9 สุรินทร์ สุรินทร์ 7
14 10 อํานาจเจริญ อํานาจเจริญ 3
15 11 ภูเก็ต วชิระภูเก็ต 2
16 12 พัทลุง พัทลุง 16
17 12 สงขลา สงขลา 8
18 12 สงขลา หาดใหญ่ 15
19 13 กรุงเทพฯ นพรัตนราชธานี 1
20 13 กรุงเทพฯ ราชวิถี 2
21 13 กรุงเทพฯ เลิดสิน 1
คุณสมบัติของโรงพยาบาลและร้านยากลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโมเดล 3
1. เป็นโรงพยาบาลและร้านยาแผนปัจจุบัน (ขย.1) ที่เข้าร่วมโครงการลดความแออัดของหน่วย
บริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในระหว่างปีงบประมาณ 2563 และ 2564
2. มีการกําหนดกรอบรายการยาที่โรงพยาบาลจะส่งผู้ป่วยไปรับยาที่ร้านยาร่วมกันระหว่าง
โรงพยาบาลและร้านยาแผนปัจจุบัน (ข.ย.1)
3. ร้านยาแผนปัจจุบัน (ข.ย.1) มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1) มีผู้ป่วยมารับบริการที่ร้านยา
2) มีพื้นที่สํารองยาตามกรอบรายการยาที่โรงพยาบาลและร้านยากําหนด ไม่ต่ํากว่า 2 เดือน
5
โรงพยาบาล
องค์การ
เภสัชกรรม
สปสช.
1. ข้อมูลใบสั่งยา
3. ข้อมูลการจ่ายยา
4.2.1 ค่าบริการโมเดล 1 (70 บาท/ใบสั่งยา)
7. การส่งยาให้ร้านยา
3. ข้อมูลการจ่ายยา
5. ร้านยาทําสัญญาโอน
สิทธิเรียกร้องหนี้ค่ายา
จากสปสช.ให้ GPO
บริษัท A
บริษัท B
GPO
** สปสช.จ่ายค่ายาตามราคาที่สปสช.กําหนดโดยอ้างอิง ราคากลาง
ร้านยา/
เครือข่ายร้านยา GPO
ข้อมูลใบสั่งยา
และการจ่ายยา
1. ข้อมูลใบสั่งยา
3. ข้อมูลการจ่ายยา
4.1.1 ค่าบริการ โมเดล 1 (49 บาท/ใบสั่งยา)
ผู้ป่วย
2. ยา
3. ข้อมูลการจ่ายยา
ราย Items
8. ข้อมูลส่งยาไปร้านยา
6. สปสช.จ่ายค่ายาให้ GPO
ตามสัญญาโอนสิทธิเรียกร้อง**
4.1.3 ค่าบริการ โมเดล 3 (42 บาท/ใบสั่งยา
4.1.2 ค่าบริการ โมเดล 2 (47 บาท/ใบสั่งยา)
4.2.3 ค่าบริการโมเดล 3 (90 บาท/ใบสั่งยา)
4.2.2 ค่าบริการโมเดล 2 (80 บาท/ใบสั่งยา)
6
การจ่ายค่าบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ปีงบประมาณ 2564
ประเภท
หน่วยงาน
ค่าบริการด้านยาและ
เวชภัณฑ์
กิจกรรม
โรงพยาบาลเดิม 42 บาทต่อใบสั่งยา
ที่ร้านยาโมเดล 3
1. การให้ความรู้ความเข้าใจและความมั่นใจแก่ผู้ป่วยในการเข้ารับบริการ
รับยาที่ร้านยา และคุณภาพยาที่ร้านยา
2. คัดกรองผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การส่งไปรับยาที่ร้านยาและคัดเลือกร้านยา
ใกล้บ้านให้แก่ผู้ป่วย
3. วิเคราะห์ใบสั่งยา (Prescription analysis) และค้นหาปัญหาที่เกี่ยวกับ
ยา (Drug-related problems) ก่อนส่งใบสั่งยาให้ร้านยา *
4. กํากับติดตาม การดูแลต่อเนื่อง ผู้ป่วยจากการให้บริการที่ร้านยา
5. ประสาน ติดตาม และเชื่อมต่อข้อมูล การดูแลผู้ป่วยร่วมกับเครือข่าย
หน่วยบริการ (ร้านยา หน่วยบริการปฐมภูมิ หรือหน่วยร่วมให้บริการ
ประเภทอื่น ๆ) โดยอาจจะมีการใช้เทคโนโลยีสื่อสารทางไกล
7
* อ้างอิงจาก ประกาศสภาเภสัชกรรมที่ 56/2563 เรื่องการกําหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล (Telepharmacy)
ข้อเสนอการจ่ายค่าบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ปีงบประมาณ 2564
ประเภท
หน่วยงาน
ค่าบริการด้านยาและ
เวชภัณฑ์
กิจกรรม
ร้านยา
โมเดล 3
90 บาทต่อใบสั่งยา จัดและจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ ตามมาตรฐานวิชาชีพกําหนด ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม
1) จัดทําทะเบียนผู้ป่วย (Patient registration) และ แฟ้มประวัติผู้ป่วย (Patient
profile) **
2) ประเมินความเหมาะสมการใช้ยา ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรกิริยา
ระหว่างยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและ สมุนไพร ประเมินอาการอันไม่พึงประสงค์
จากยา ให้คําแนะนําการบริหารยา การจัดการเมื่อผู้ป่วยลืมใช้ยา การเก็บรักษา
ยา **
3) การ Review drug profile ป้องกันปัญหาการได้รับยาซ้ําซ้อนจากหน่วยบริการ
หลายแห่ง และการจัดการยาเหลือ และยาหมดอายุให้ผู้ป่วย
4) ให้บริการตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีทางเภสัชกรรม และประสานกับ
โรงพยาบาลเพื่อแก้ปัญหาให้ผู้ป่วย **
8
** อ้างอิงจาก ประกาศสภาเภสัชกรรมที่ 56/2563 เรื่องการกําหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล (Telepharmacy)
ขั้นตอนการให้บริการโมเดล 3 (โรงพยาบาล)
9
กลุ่มงานเภสัชกรรม ตรวจสอบ
Dispensing error และปรับแก้ให้ถูกต้อง
ผู้ป่วยสนใจเข้าร่วมโครงการฯ ไป
ตรวจรักษาที่ รพ.
กลุ่มงานเภสัชกรรมส่งใบสั่งยาให้แก่ผู้ป่วย
เพื่อไปรับยาที่ร้านยา (ในรูปแบบใบสั่งยา
หรือ Electronic prescription)
ขั้นตอนการให้บริการโมเดล 3 (ร้านยา)
10
ร้านยาจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วย ให้คําแนะนํา
การใช้ยา ตรวจสอบ DRP และนัดหมาย
การกลับมารับบริการ
ร้านยาบันทึกข้อมูลการให้บริการลงใน
โปรแกรมการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์
ร้านยาตรวจสอบใบสั่งยาและ
จัดยาตามใบสั่ง
โปรแกรมเฟส 1:
https://prescription.nhso.go.th/Prescription/login
โปรแกรมเฟส 2:
https://eprescript.nhso.go.th/eprescriptui/login
โปรแกรมเฟส 1 ยาในใบสั่งยาทุกรายการต้องระบุ TPU
ขั้นตอนการให้บริการโมเดล 3 (สปสช. และ องค์การเภสัชกรรม)
11
สปสช.จ่ายค่าบริการด้านยา
ให้แก่ ร.พ.
42 บาทต่อใบสั่งยา
สปสช.จ่ายค่ายาตามใบสั่งยา
ให้แก่องค์การเภสัชกรรม
ตามราคาที่สปสข.กําหนด
สปสช.ประมวลผลใบสั่งยาและจ่าย
ค่าบริการด้านยา และค่ายา
สปสช.จ่ายค่าบริการด้านยา
ให้แก่ ร้านยา
90 บาทต่อใบสั่งยา
การจ่ายค่ายาให้แก่องค์การเภสัช
กรรม ตามสัญญาโอนสิทธิ์
เรียกร้อง
1. ภายหลัง โรงพยาบาลส่งข้อมูล electronic prescription และ ร้านยาบันทึกข้อมูลในโปรแกรมเฟส
1 และเฟส 2 แล้ว สปสช.ตัดข้อมูลทุก 15 วัน และร้านยาจะได้รับการโอนเงิน ภายใน 15 วันหลัง
ตัดข้อมูล
2. ร้านยาสามารถอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วันหลังได้รับรายงานการจ่ายเงิน
การเตรียมการ
12
ขั้นตอนการดําเนินงาน ผู้เกี่ยวข้อง
1. การเปลี่ยนรูปแบบการบริการจาก Model 1 หรือ Model 2 มาเป็น Model 3 ที่ประสงค์จะ
ให้บริการ Model 3 ให้โรงพยาบาล ประสาน สปสช.เขต 1-13 เพื่อแก้ไขรูปแบบการให้บริการ
จาก Model 1,2 ให้กลายเป็น Model 3
*** ได้รายชื่อโรงพยาบาลและร้านยาครบแล้ว ***
1. โรงพยาบาล
2. ร้านยา
3. สปสช.เขต
2. การกําหนดข้อมูลพื้นฐานสําหรับการเบิกยาของร้านยาในเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ โดย
ประสานงานกับ โรงพยาบาลและ สปสช.เขต ซึ่งข้อมูลพื้นฐานดังกล่าวประกอบด้วย
1) บัญชียาของร้านยาทุกแห่งที่เข้าร่วมโครงการในเครือข่ายของโรงพยาบาล ซึ่งประกอบการ
รหัสยา (TPU) ชื่อสามัญทางยา ชื่อการค้า ความแรง รูปแบบ
2) ปริมาณยาตั้งต้น (Initial stock) ของร้านยา
3) รายชื่อผู้ประสานงานของโรงพยาบาล และรายชื่อผู้ประสานงานในการรับยาของร้านยา
*** ได้ข้อมูลทั้งหมดแล้ว***
1. โรงพยาบาล
2. ร้านยา
3. สปสช.เขต
4. สํานักสนับสนุนระบบบริการยา
และเวชภัณฑ์ สปสช.
การเตรียมการ (ต่อ)
13
ขั้นตอนการดําเนินงาน ผู้เกี่ยวข้อง
3. สปสช. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและส่งข้อมูลให้แก่บริษัทผู้จําหน่ายยา/
องค์การเภสัชกรรม เพื่อจัดซื้อจัดหาและเตรียมนําเข้าข้อมูลพื้นฐานในระบบ VMI
*** ดําเนินการเรียบร้อยแล้ว***
สปสช.
4. องค์การเภสัชกรรมจัดซื้อจัดหายาตามรายการและปริมาณที่โรงพยาบาลและร้าน
ยากําหนด *** ดําเนินการเรียบร้อยแล้ว***
องค์การเภสัชกรรม
5. องค์การเภสัชกรรม จัดทําสัญญาโอนสิทธิเรียกร้องหนี้ค่ายาระหว่างองค์การ
เภสัชกรรม และ ร้านยาทุกแห่งที่เข้าร่วมโครงการและจัดส่ง สัญญาโอนสิทธิ
เรียกร้องหนี้ค่ายาทั้งหมด ให้แก่ สปสช. เพื่อใช้อ้างอิงการจ่ายค่ายาให้องค์การ
เภสัชกรรม
1. องค์การเภสัชกรรม
2. ร้านยา
3. สปสช.
6. องค์การเภสัชกรรมจัดส่งยา Initial stock เดือนแรกให้แก่ร้านยา ตามรายการยา
และปริมาณยาตั้งต้นที่กําหนด
องค์การเภสัชกรรม
การเตรียมการ (ต่อ)
14
ขั้นตอนการดําเนินงาน ผู้เกี่ยวข้อง
7. ร้านยารับยาเข้าคลังตามรายการยาและปริมาณที่กําหนด และเริ่มให้บริการ ร้านยา
8. องค์การเภสัชกรรมรวบรวมข้อมูลการใช้แยกตามรายการยาของแต่ละร้านยา
และส่งยาให้แก่ร้านยาเพื่อเติมเต็มยาให้แก่ร้านยา
องค์การเภสัชกรรม
9. องค์การเภสัชกรรมรวมรวมข้อมูลการใช้ยาของร้านยาแต่ละแห่งและออกใบแจ้ง
หนี้ค่ายาให้กับ สปสช. เพื่อให้สปสช.ชําระหนี้ค่ายาให้แก่องค์การเภสัชกรรมใน
ฐานะผู้รับโอนสิทธิเรียกร้องหนี้ค่ายาจากร้านยา
1. องค์การเภสัชกรรม
2. ร้านยา
3. สปสช.
ระบบการเบิกยาจากองค์การเภสัชกรรมกรณีโมเดล 3
1. ร้านยาแต่ละแห่งจะมีค่า Initial stock (Stock ตั้งต้นของรายการยาแต่ละรายการ) ตามบัญชียาที่
โรงพยาบาลและร้านยากําหนด
2. องค์การเภสัชกรรมจะส่ง Initial stock ให้แก่ร้านยาที่เข้าร่วมโมเดล 3
3. เมื่อร้านยาให้บริการผู้ป่วยเรียบร้อยแล้ว ให้ร้านยายืนยันการจ่ายยาตามข้อมูลที่ได้รับจากโรงพยาบาลใน
ระบบสารสนเทศการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ระยะที่ 2 (สปสช.จะเรียนเชิญเข้าอบรมต่อไป)
4. ข้อมูลการจ่ายยาของร้านยาแต่ละแห่งจะเข้าสู่ระบบ VMI ขององค์การเภสัชกรรม ทุกวันโดยมีรอบการ
สรุปข้อมูลตามกําหนดของแต่ละจังหวัด (เบื้องต้นกําหนดสรุปยอดทุกวันที่ 20 ของเดือน สําหรับร้านยา
ในเครือข่าย รพ.ลําพูนและหาดใหญ่)
5. องค์การเภสัชกรรมจะนําส่งยาคืนให้แก่ร้านยา ตามปริมาณที่สรุปในข้อ 4 โดยปัดขึ้นเต็มขนาดบรรจุ
6. ร้านยาตรวจรับยาที่ได้จากองค์การเภสัชกรรม พร้อมลงนามในใบนําส่งยาและเวชภัณฑ์
15
ระบบการเบิกจ่ายและการบริหารจัดการยาในโมเดล 3
ขององค์การเภสัชกรรม
1. Initial Stock
2. Replenishment
16
สปสช.ส่งข้อมูลการใช้ยา
และปริมาณยาสํารองแต่ละรายการ
จําแนกรายร้านยา
GPO ดําเนินการจัดซื้อจัดหา
ยาในโครงการตามข้อมูลที่ได้รับมา
INPUT
PROCESS
PROCESS
GPO นําข้อมูลเข้าระบบ SVMI
และจัดส่งยาให้แก่ร้านยา
OUTPUT
ร้านยา รับยาตามใบนําส่ง
ที่ได้รับจาก GPO
INITIAL STOCK
ข้อมูลปริมาณการใช้ยาจากร้านยา
ที่ส่งผ่านระบบของสปสช.
GPO รวบรวมปริมาณการใช้ยา
และจัดหายาสํารองที่คลังส่วนกลาง
INPUT
PROCESS
PROCESS
GPO ประมวลผลการใช้ยา ปัดเต็ม
ขนาดบรรจุ และจัดส่งให้แก่ร้านยา
โดยทดยอดที่ส่งเกินไว้หักลบกับรอบ
ถัดไป
OUTPUT
ร้านยา รับยาตามใบนําส่ง
ที่ได้รับจาก GPO
REPLENISHMENT
ทุกวัน ทุกวันที่ 20 *
(*สําหรับนําร่องเครือข่ายร้านยาโรงพยาบาลลําพูน)
1
2
3
ระบบส่งข้อมูลรายการยา
ที่จะจัดส่งให้ร้านยาผ่าน
เมล์
ระบบส่ง SMS แจ้งว่า
“จะมีของถึงท่านภายใน
วันที่ .....”
** ขอข้อมูลหมายเลข
โทรศัพท์, มือถือ,
E-mail ของร้านยา **
ระบบการแจ้งข้อมูลจัดส่งยา
ระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลใบสั่งยาระหว่าง
โรงพยาบาลและร้านยาระยะที่ 2
20
หลักการ 3 ข้อในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลการ
ดูแลผู้ป่วยระหว่าง โรงพยาบาล ร้านยา
1. ไม่เพิ่มภาระการบันทึกข้อมูลของหน่วยบริการ
2. เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลและร้านยาเพื่อการดูแลผู้ป่วย
แบบ Real time และการจ่ายชดเชย
3. ข้อมูลผู้ป่วยได้รับความคุ้มครองให้ปลอดภัย ไม่รั่วไหลออกสู่สาธารณะ
21
ระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลใบสั่งยาระหว่างโรงพยาบาลและร้านยาระยะที่ 2
22
ชุดข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์
รายการข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล
ข้อมูลใบสั่งยา D01-01 ข้อมูลผู้ป่วย
D01-02 ข้อมูลใบสั่งยา
D01-03 ข้อมูลการซักประวัติตรวจร่างกาย
D01-04 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
D01-05 ข้อมูลความเจ็บป่วย (ICD 10)
ข้อมูลการจ่ายยา D02-01 ข้อมูลการจ่ายยา
D02-02 ข้อมูลการซักประวัติตรวจร่างกาย
D02-03 ข้อมูลปัญหาการใช้ยา
D02-04 ข้อมูลติดต่อเจ้าหน้าที่
ข้อมูลประเมินด้านสุขภาพทั่วไป D03 ข้อมูล ด้านจิตเวช / ผลการประเมินผู้ป่วย
D04-01 ข้อมูลผู้ป่วย
D04-02 การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
D04-03 ปัญหาการใช้ยา
D04-04 ปัญหายาเหลือใช้
23
ตัวแปรในdataset
ช่องทางการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ฯ
1. Web Service รับ/ส่งข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ รองรับ โรงพยาบาล หรือ ร้านยา ที่มีโปรแกรมอยู่แล้ว และ
โรงพยาบาล หรือ ร้านยา มีความพร้อมพัฒนา/ปรับปรุง โปรแกรมรองรับช่องทางนี้ได้
• URL ทดสอบในการส่งข้อมูล: http://119.59.112.225:28001/pisapi
• UPL ทดสอบในการส่งข้อมูล2 https://testing.nhso.go.th/eprescriptapi
• URL ส่งข้อมูลจริง: https://eprescript.nhso.go.th/eprescriptapi
• กรณีที่พบปัญหาการส่งข้อมูลผ่าน Web service ติดต่อ admin@solunar.co.th
2. Upload ชุดข้อมูล (รองรับ excel file และ/หรือ text file) รับ/ส่งข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ ผ่าน
โปรแกรมของ สปสช. รองรับ โรงพยาบาล หรือ ร้านยา ที่มีโปรแกรมอยู่แล้ว แต่ โรงพยาบาล หรือ ร้านยา ยังไม่
พร้อมพัฒนา/ปรับปรุง โปรแกรมให้ส่งออก/รับข้อมูล ผ่าน Web Service
3. บันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมระบบข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ ของ สปสช. สําหรับ โรงพยาบาล หรือ ร้านยา
ที่ยังไม่มีโปรแกรม ใช้งาน (ใช้ร่วมกับช่องทางที่ 2 ในบางตัวแปรที่ไม่มีในโปรแกรมของโรงพยาบาล)
24
Download
1. แนวทางการส่งข้อมูลใบสั่งยาอิเล็กทรอนิกส์ ผ่าน Web Service สามารถ download ที่
https://drive.google.com/drive/folders/1JeUQQEc6kMPT0AWlJ1XvNCLRqZZwH
qFk?usp=sharing
2. แนวทางการส่งข้อมูลโดย Upload ชุดข้อมูล (รองรับ excel file และ/หรือ text file)
สามารถ download ที่
https://drive.google.com/drive/folders/1eohM858AZ8E5qSAWB-
6eMDh1GYGPgoLW?usp=sharing
3. บันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมระบบข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ ของ สปสช. URL การเข้าสู่
โปรแกรม: https://eprescript.nhso.go.th/eprescriptui/login
25
26
ตัวอย่างรูปแบบการรับส่งข้อมูลผ่าน Web service
27
URL การเข้าสู่โปรแกรม: https://eprescript.nhso.go.th/eprescriptui/login
Username/Password ใช้รหัสเดียวกับการเข้าโปรแกรมการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ระยะที่ 1
กระบวนหลักของโปรแกรม
1. โรงพยาบาลส่งใบสั่งยาเข้าสู่ Cloud และตรวจสอบใบสั่งยาจากเมนู “ใบสั่งยา (Prescription)”
2. ร้านยาตรวจสอบใบสั่งยา ตรวจสอบรายการยา และบันทึกข้อมูล จากเมนู “การจ่ายยา (Dispensing)” โดยข้อมูลที่
สําคัญที่ต้องบันทึกได้แก่
1) การจ่ายยาตามใบสั่งยาแพทย์
2) การนัดหมาย การ Refill
3) การตรวจร่างกายเบื้องต้นที่ร้านยา
4) ปัญหาที่พบจากการใช้ยาตามใบสั่งยา
3. ร้านยาบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม (Option) จากเมนู “การติดตามการใช้ยา (Medication Therapy Management)”
1) การประเมินผู้ป่วยด้านจิตเวชที่ร้านยา
2) การซักประวัติผู้ป่วยด้านพฤติกรรมสุขภาพ
3) ปัญหาการใช้ยา
4) ปัญหายาเหลือใช้ 28
เมนูอื่น ๆ
4. การนําเข้าข้อมูลกรณีที่ส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ Cloud โดย excel/Text file
5. ระบบรายงาน (กําลังพัฒนา)
1) รายบุคคล
2) ผลการดําเนินงาน ระดับ หน่วย จังหวัด เขต และประเทศ
6. การสร้าง Key ในการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ Cloud สําหรับโรงพยาบาล และ ร้านยา
ที่ซื้อ/พัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้เอง
29
โรงพยาบาลส่งใบสั่งยาเข้าสู่ Cloud
30
31
Click เลือกเมนูต่าง ๆ ของโปรแกรม
โรงพยาบาลตรวจสอบข้อมูลใบสั่งยาที่ส่งเข้า Cloud ที่เมนู
ใบสั่งยา (Prescription)
32
33
โรงพยาบาลตรวจสอบข้อมูลใบสั่งยาที่ส่งเข้า Cloud ที่เมนู ใบสั่งยา (Prescription)
โรงพยาบาลตรวจสอบข้อมูลใบสั่งยาที่ส่งเข้า Cloud ที่
เมนู ใบสั่งยา (Prescription)
34
โรงพยาบาล ค้นหาใบสั่งยา
แบบมีเงื่อนไข
โรงพยาบาล ค้นหาใบสั่งยาทั้งหมด
35
แสดงผลการค้นหาใบสั่งยา
ดูรายละเอียดใบสั่งยา
และแก้ไขใบสั่งยา
36
ข้อมูลใบสั่งยา
ข้อมูลผู้ป่วย
37
ข้อมูลรายละเอียดใบสั่งยา มี 6 รายการ ได้แก่ 1.รายการยาที่สั่งจ่าย 2. ข้อมูลการแพ้ยา 3. ข้อมูล
บันทึกของเภสัช 4. ข้อมูลความเจ็บป่วย (ICD-10) 5. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และ 6.
ข้อมูลตรวจร่างการ
38
Click เลือกรายการ (ยา, ข้อมูลการเจ็บป่วย) ที่ต้องการแก้ไข เมื่อแก้ไข กด “เพิ่ม แก้ไข หรือ ลบ”
เมื่อ กด เพิ่ม แก้ไข หรือ ลบ ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ให้กด “บันทึก”
การ Refill ใบสั่งยา
39
โรงพยาบาลสามารถสั่ง Refill ได้ โดยระบุเป็น
จํานวนครั้ง ที่ให้ผู้ป่วยไปรับยาที่ร้านยา
• Refill = 1 ผู้ป่วยไปรับยาที่ร้านยา 1 ครั้ง
ครั้งต่อไปต้องกลับมาที่โรงพยาบาล
• Refill = 2 ผู้ป่วยไปรับยาที่ร้ายา 2 ครั้ง
ครั้งที่ 3 ผู้ป่วยต้องกลับมาที่โรงพยาบล
ร้านยาบันทึกการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ที่เมนู
การจ่ายยา (Dispensing)
40
ร้านยาที่ชื่อว่า ร้านยาเล็กเล็ก เข้ามาบันทึกข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์
41
42
43
ร้านยา เล็ก เล็ก บันทึกข้อมูลการจ่ายยาตามใบสั่ง
แพทย์ ที่เมนู การจ่ายยา (Dispensing)
44
ร้านยา ค้นหาใบสั่งยา
แบบมีเงื่อนไข
ร้านยากด บันทึกข้อมูลการจ่ายยา
45
ร้านยากด ค้นหา เพื่อเลือกใบสั่งยา
46
มีใบสั่งยาทั้งหมด 5 ใบ
เลือกใบสั่งยาที่ต้องการ
บันทึกข้อมูล
47
48
ถ้าไม่มีการแก้ไขจํานวนยาที่จ่ายจริงในใบสั่งยา ให้กดปุ่ม บันทึก
49
ถ้ามีการแก้ไขจํานวนยาที่จ่ายจริงในใบสั่งยา ให้กดรายการยาที่จะแก้ไข จะเปลี่ยนเป็นสีฟ้า
และปรากฏ หน้าจอ แก้ไขข้อมูลรายการยา เมื่อบันทึกข้อมูลเสร็จ ให้กด แก้ไข
50
จํานวนยาที่จ่ายจริง ลดลง เปรียบเทียบกับจํานวนยาที่จ่ายตามใบสั่งยา
ถ้าไม่มีการแก้ไขใดใด ให้กดปุ่ม บันทึก
*** ในกรณีที่ต้องการแก้ไข ชื่อยาที่จ่าย ร้านยาต้องติดต่อ โรงพยาบาล เพื่อปรับแก้ใบสั่งยา***
***ร้านยาไม่สามารถแก้ไข ชื่อยาได้ แก้ไขได้เพียง จํานวนยาที่จ่ายจริงได้ ***
51
บันทึกของเภสัชกร
52
บันทึกการตรวจร่างกายเบื้องต้น
ของเภสัชกร ร้านยา
53
บันทึกปัญหาการใช้ยาของผู้ป่วย
โดยการกด เพิ่ม
54
เลือกปัญหาการใช้ยาที่พบ
บันทึกข้อมูลและกดเพิ่ม
การ Print ฉลากยา
55
ร้านยาเลือกเมนู “การจ่ายยา
(Dispensing)
56
1. กดปุ่ม “ค้นหา”
2. กดปุ่มรูป “printer”
57
1.เลือก ขนาดฉลากยา
2. เลือกรูปแบบของฉลากยา
• พิมพ์ label คือ ใช้ฉลากยาที่มีชื่อโรงพยาบาล
• ไม่พิมพ์ label คือ ไม่ใช้ฉลากยาที่มีชื่อโรงพยาบาล
3. กดปุ่ม “พิมพ์ฉลากยา”
การค้นหา Patient profile
58
59
60
รายงานผลการดําเนินงาน download เป็น excel ได้
1. จํานวนผู้ป่วยสะสม จํานวนครั้งสะสม จํานวนโรงพยาบาล และจํานวนร้านยา รายเดือน
2. จํานวนโรงพยาบาล จํานวนร้านยา รายเขต
3. จํานวนโรงพยาบาล จําแนกตามประเภทของโรงพยาบาล
4. จํานวนโรงพยาบาล จําแนกตามประเภทของโมเดล
5. จํานวนผู้ป่วยจําแนกตามการวินิจฉัยโรค
6. จํานวนผู้ป่วย จํานวนครั้ง รายโรงพยาบาล เรียงสูงสุดจากมากไปน้อย
7. จํานวนผู้ป่วย จํานวนครั้ง รายร้านยา เรียงสูงสุดจากมากไปน้อย
8. รายงานผลจํานวนผู้ป่วยที่ไปรับบริการที่ร้านยาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย แยกรายโรงพยาบาล
9. จํานวนผู้ป่วยซึ่งไปรับยาที่ร้านยา (คน) เปรียบเทียบกับเป้าหมายปี 2564 และ เป้าหมาย 3 ปี
61
62
เมนูติดตามการใช้ยา (MTM)
63
เมนูนําเข้าข้อมูล กรณีที่ โรงพยาบาลส่งใบสั่งยาเข้าสู่ Cloud
แบบ excel/text file
URL ที่สําคัญ
1. URL สําหรับการส่งข้อมูลใบสั่งยา และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ผ่าน Web Service (Server to
Server)
1) URL ทดสอบในการส่งข้อมูล: http://119.59.112.225:28001/pisapi
2) URL ส่งข้อมูลจริง: https://eprescript.nhso.go.th/eprescriptapi
2. URL การเข้าสู่โปรแกรม: https://eprescript.nhso.go.th/eprescriptui/login
กรณีที่พบปัญหาการส่งข้อมูลผ่าน Web service ติดต่อ admin@solunar.co.th
64
ความเห็นและข้อเสนอแนะ
65
66

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์Nuttapol Time
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการjustymew
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวโครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวPanu Kethirun
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri nokpackkreem
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนkanjana2536
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineAiman Sadeeyamu
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายMim Papatchaya
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
 
เครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอนเครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอน
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวโครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
ไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงานไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
 
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
Drugs used in lactation
Drugs used in lactationDrugs used in lactation
Drugs used in lactation
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Similar to แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf

(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...Utai Sukviwatsirikul
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยUtai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักZiwapohn Peecharoensap
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...Utai Sukviwatsirikul
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfOldcat4
 

Similar to แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf (20)

(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
 
07
0707
07
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
 

แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf