SlideShare a Scribd company logo
1 of 126
Download to read offline
1
สารบัญ หนา
PART I GENERAL GUIDELINES
PRINCIPAL DIAGNOSIS (การวินิจฉัยหลัก) 4
COMORBIDITY (PRE-ADMISSION COMORBIDITY) (การวินิจฉัยรวม) 5
COMPLICATION (POST-ADMISSION COMORBIDITY) (โรคแทรก) 5
OTHER DIAGNOSES (การวินิจฉัยอื่นๆ) 6
EXTERNAL CAUSE (สาเหตุภายนอก) 6
OPERATION / OPERATING ROOM PROCEDURE (การผาตัด) 7
NON-OPERATION /NON-OPERATING ROOM PROCEDURE (หัตถการ) 7
PART II DRG
ความหมายของกลุมวินิจฉัยโรครวม (DRGs) 9
Comorbidity Complication ที่งาย ๆ สําคัญไมควรพลาดสําหรับ DRG Version 4.0 14
PART III Diagnosis ที่พบขอผิดพลาดบอยๆ
DIARRHOEA 18
FOOD POISONING 18
HYPERTENSION 19
CARDIAC ARREST 20
CONGESTIVE HEART FAILURE 20
CEREBROVASCULAR ACCIDENT [CVA] 21
ACUTE ISCHAEMIC HEART DISEASE 23
PNEUMONIA 24
ERYTHEMA MULTIFORME 25
SKIN INFECTIONS 26
RENAL FAILURE 27
URINARY TRACT INFECTION 28
FEBRILE CONVULSION 28
POISONING 29
2
สารบัญ หนา
WOUND INFECTION (แผลติดเชื้อ) 30
OUTCOME OF DELIVERY 31
HIV / AIDS 32
DIABETES MELLITUS [DM] 33
DYSLIPIDAEMIA 37
FLUID OVERLOAD (VOLUME OVERLOAD) 38
ACIDOSIS 38
CONVULSION, SEIZURE AND EPILEPSY 38
HEADACHE 39
ACUTE PULMONARY OEDEMA 40
VIRAL HEPATITIS 41
TUBERCULOSIS 41
HAEMOPTYSIS 43
MASS / TUMOUR / CYST 44
BREAST CANCER 44
PANCYTOPENIA / BICYTOPENIA 45
ACQUIRED COAGULATION DEFECT 45
THROMBOCYTOPENIA 46
GASTRIC ULCER WITH GASTRITIS 47
ALCOHOLIC LIVER DISEASE 47
GASTROINTESTINAL HAEMORRHAGE 47
GASTRITIS AND DUODENITIS 48
TOXIC LIVER DISEASES 49
SEPTICAEMIA / SEPSIS 49
THALASSEMIA 50
ACUTE POST HEMORRHAGIC ANEMIA 51
ANEMIA IN NEOPLASTIC DISEASE 51
ANEMIA IN OTHER CHRONIC DISEASE 52
IRON DEFICIENCY ANEMIA 53
3
สารบัญ หนา
NUTRITIONAL ANEMIA 53
HYPONATREMIA 53
HYPOKALEMIA 54
HYPERKALEMIA 54
HYPOALBUMINEMIA 54
MALNUTRITION 55
HEPATIC ENCEPHALOPATHY 57
CIRRHOSIS 57
ACUTE RESPIRATORY FAILURE 59
PART IV CAUSE OF DEATH
สาเหตุการตายและการรับรองสาเหตุการตาย 60
PART V แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน
ผูปวยนอก/ฉุกเฉิน
สวนที่ 1 แนวทางการบันทึกเวชระเบียนผูปวยนอก/ฉุกเฉิน 85
สวนที่ 2 เกณฑการตรวจประเมินและการใหคะแนนคุณภาพการบันทึก
เวชระเบียนผูปวยนอก/ฉุกเฉิน 94
สวนที่ 3 การใชแบบตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผูปวยนอก/ฉุกเฉิน 101
PART VI แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน
ผูปวยใน
สวนที่ 1 แนวทางการบันทึกเวชระเบียนผูปวยใน 103
สวนที่ 2 เกณฑการตรวจประเมินและการใหคะแนนคุณภาพการบันทึก
เวชระเบียนผูปวยใน 115
สวนที่ 3 การใชแบบตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผูปวยใน 123
เอกสารอางอิง 126
4
PRINCIPAL DIAGNOSIS (การวินิจฉัยหลัก)
การวินิจฉัยหลัก (principal diagnosis หรือ main condition) มีคําจํากัดความตามหนังสือ ICD-10 วา
“The condition, diagnosed at the end of the episode of health care, primarily responsible for the patient’s
needs for treatment or investigation. If there is more than one such condition, the one held most
responsible for the greatest use of resources should be selected. If no diagnosis was made, the main
symptom, abnormal finding or problem should be selected as the main condition.”
A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความ ไดแก
1. การวินิจฉัยหลักมีไดเพียงการวินิจฉัยเดียวเทานั้น แพทยตองบันทึกคําวินิจฉัยหลักเพียงคําวินิจฉัย
เดียว
2. การวินิจฉัยวาโรคใดเปนการวินิจฉัยหลักใหกระทําเมื่อสิ้นสุดการรักษาแลวเทานั้น เพื่อใหไดคํา
วินิจฉัยโรคขั้นสุดทาย (final diagnosis) ซึ่งจะเปนคําวินิจฉัยโรคที่ละเอียดชัดเจนมากที่สุด ดังนั้น การ
วินิจฉัยหลักอาจแตกตางไปจากการวินิจฉัยเมื่อแรกรับ (admitting หรือ provisional diagnosis)
3. ในกรณีของผูปวยใน โรคที่บันทึกเปนการวินิจฉัยหลักตองเปนโรคที่เกิดขึ้นในตัวผูปวยตั้งแต
กอนรับเขาไวรักษาในโรงพยาบาล มิใชโรคแทรกที่เกิดขึ้นมาภายหลัง ถึงแมโรคแทรกที่เกิดมาภายหลังจะทํา
ใหสูญเสียทรัพยากรหรือคาใชจายในการรักษามากกวา แพทยก็มิอาจเลือกโรคแทรกมาบันทึกเปนการ
วินิจฉัยหลักได
4. ในผูปวยที่มีโรคหลายโรคปรากฏขึ้นพรอมกันตั้งแตกอนรับเขาไวรักษาในโรงพยาบาล ใหเลือก
โรคที่ไดทําการรักษาเปนการวินิจฉัยหลัก หากรักษาหลายโรคพรอมกัน ใหเลือกโรคที่รุนแรงที่สุดเปนการ
วินิจฉัยหลัก หากโรคที่รักษาพรอมกันหลายโรคมีความรุนแรงใกลเคียงกัน ใหเลือกโรคที่ใชทรัพยากรใน
การรักษาสูงสุดเปนการวินิจฉัยหลัก
5. ในผูปวยบางรายที่แพทยวินิจฉัยโรคใหแนชัดไมไดจนสิ้นสุดการรักษาแลว (ผูปวยหายจากอาการ
เจ็บปวยเองโดยไมทราบสาเหตุ หรือผูปวยเสียชีวิตโดยยังวินิจฉัยโรคไมได หรือสงตอผูปวยไปรักษายัง
โรงพยาบาลอื่น) ใหแพทยบันทึกอาการ (symptom) หรือ อาการแสดง (sign) หรือกลุมอาการที่สําคัญที่สุด
เปนการวินิจฉัยหลัก
B. การใหรหัสการวินิจฉัยหลัก ใหใชคําวินิจฉัยที่แพทยบันทึกไวในชองการวินิจฉัยหลักเปนคําตั้งตนใน
การคนหารหัสโรคจากดรรชนีคนหาของ ICD-10 แตหากพบวาแพทยบันทึกผิดหลักการดังกลาวขางตน เชน
บันทึกการวินิจฉัยหลักไวเกินหนึ่งโรค หรือบันทึกโรคแทรกในชองการวินิจฉัยหลัก ฯลฯ ผูใหรหัสควร
ปรึกษาแพทยผูบันทึกโดยตรง เพื่อทําการบันทึกใหมใหถูกตองกอนทําการใหรหัสตอไป
C. ในบางกรณีอาจพบวามีรหัส ICD-10 สองรหัสสําหรับการวินิจฉัยหลักนั้น โดยเฉพาะในระบบรหัสคู
(dual classification หรือ dagger-asterisk system) เชน ถาโรคที่เปนการวินิจฉัยหลักคือ cryptococcal
meningitis จะพบวามีรหัสสองรหัสที่ใชสําหรับโรคนี้คือ B45.1† และ G02.1*
5
COMORBIDITY (PRE-ADMISSION COMORBIDITY) (การวินิจฉัยรวม)
A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความของโรคที่เปนการวินิจฉัยรวม ไดแก
1. เปนโรคที่ปรากฏรวมกับการวินิจฉัยหลัก หมายความวา เกิดขึ้นกอน หรือ พรอมกับโรคที่เปน
การวินิจฉัยหลัก คือ เปนโรคที่เกิดขึ้นในตัวผูปวยตั้งแตกอนรับเขาไวรักษาในโรงพยาบาล มิใชโรคแทรกที่
เกิดขึ้นมาภายหลัง
2. เปนโรคที่มีความรุนแรงมากพอที่ทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคแทรก เสี่ยงตอการ
เสียชีวิต หรือพิการระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล ทําใหตองเพิ่มการตรวจพิเศษ เพิ่มยาหรือเวชภัณฑ
ตองไดรับการดูแลเพิ่มเติมจากแพทยผูเชี่ยวชาญแผนกอื่นๆ และตองทําการรักษาเพิ่มเติม
3. แพทยสามารถบันทึกการวินิจฉัยรวมไดมากกวา 1 โรค โดยไมจํากัดจํานวนสูงสุดที่จะบันทึกได
B. โรคที่มักเปนการวินิจฉัยรวม ไดแก โรคเรื้อรังตางๆ เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวาย
เรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด หรือโรคประจําตัวผูปวย เชน systemic lupus erythematosus, old
cerebrovascular accident ฯลฯ ในกรณีที่ผูปวยบาดเจ็บหลายตําแหนง มักมีบาดแผลตางๆ ที่มีความรุนแรง
นอยกวาบาดแผลหลักเปนการวินิจฉัยรวมอยูเสมอ
C. การใหรหัสโรคที่เปนการวินิจฉัยรวมทุกรหัส ตองมีการวินิจฉัยโรคอยางเปนลายลักษณอักษรของ
แพทยผูดูแล หรือรวมกันรักษาเปนหลักฐานรับรองการบันทึกรหัสเสมอ ผูใหรหัสไมสามารถนําผลการ
ตรวจเลือด การตรวจปสสาวะ หรือการตรวจพิเศษอื่นใด ที่มิใชคําวินิจฉัยโรคของแพทยมาตีความเปนการ
วินิจฉัยรวมเองโดยพลการ หากมีขอสงสัยวาผูปวยจะมีโรคที่เปนการวินิจฉัยรวมอื่นใดที่แพทยลืมบันทึก
ผูใหรหัสควรสงเวชระเบียนใหแพทยพิจารณาทบทวนวินิจฉัยโรคเพิ่มเติมกอนใหรหัส
COMPLICATION (POST-ADMISSION COMORBIDITY) (โรคแทรก)
โรคแทรก (complication หรือ post-admission comorbidity) คือ โรคที่ไมปรากฏรวมกับโรคที่เปนการ
วินิจฉัยหลักตั้งแตแรก แตเกิดขึ้นหลังจากผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลแลว และเปนโรคที่มีความ
รุนแรงมากพอที่จะทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอชีวิตสูงมากขึ้น หรือใชทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหวาง
การรักษาตัวในโรงพยาบาลครั้งนี้
A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความของโรคแทรก ไดแก
1. เปนโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง ไมเกิดขึ้นกอน หรือ ไมเกิดพรอมกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก คือ
เปนโรคที่เกิดขึ้นหลังจากผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลแลว
2. เปนโรคที่มีความรุนแรงมากพอที่ทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคแทรก เสี่ยงตอการ
เสียชีวิต หรือพิการระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล หรือทําใหตองเพิ่มการตรวจพิเศษ เพิ่มยาหรือ
เวชภัณฑ ตองไดรับการดูแลเพิ่มเติมจากแพทยผูเชี่ยวชาญแผนกอื่นๆ และตองทําการรักษาเพิ่มเติม
6
3. โรคแทรกอาจเปนโรคตางระบบกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก และอาจไมเกี่ยวเนื่องกับการ
วินิจฉัยหลัก
4. แพทยสามารถบันทึกโรคแทรกไดมากกวา 1 โรค โดยไมจํากัดจํานวนโรคสูงสุด
B. ตัวอยางโรคที่มักเปนโรคแทรก ไดแก โรคที่มักเกิดขึ้นอยางเฉียบพลันในโรงพยาบาล ทําใหผูปวย
เดือดรอนมากขึ้น เชน โรคติดเชื้อตางๆ หลอดเลือดอุดตันเฉียบพลัน กลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันการแพยา
ผื่นลมพิษ รวมถึงผลขางเคียงที่เกิดจากการรักษาหรือผาตัดดวย
OTHER DIAGNOSES (การวินิจฉัยอื่นๆ)
การวินิจฉัยอื่นๆ (other diagnosis) คือ โรคหรือภาวะของผูปวยที่ไมเขาขายคําจํากัดความของการวินิจฉัยหลัก
การวินิจฉัยรวม หรือโรคแทรก กลาวคือเปนโรคที่ความรุนแรงของโรคไมมากพอที่จะทําใหผูปวยมีความ
เสี่ยงตอชีวิตสูงมากขึ้น หรือเปนโรคที่ไมตองใชทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหวางการรักษาตัวใน
โรงพยาบาลครั้งนี้ อาจเปนโรคที่พบรวมกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก หรือพบหลังจากเขารักษาตัวใน
โรงพยาบาลแลวก็ได
A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความของการวินิจฉัยอื่นๆ ไดแก
1. เปนโรคเล็กนอย หรือเปนโรคที่มีความรุนแรงไมมากพอที่จะทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอการเกิด
โรคแทรก เสี่ยงตอการเสียชีวิต หรือพิการระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล ไมทําใหตองเพิ่มการตรวจ
พิเศษ ไมตองเพิ่มยาหรือเวชภัณฑ ไมตองทําการรักษาเพิ่มเติม
2. เปนโรคที่พบรวมกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก หรือพบหลังจากเขารักษาตัวในโรงพยาบาลแลวก็
ได
3. อาจเปนโรคระบบเดียวกับการวินิจฉัยหลัก หรืออาจไมเกี่ยวเนื่องกับการวินิจฉัยหลักก็ได
4. แพทยสามารถบันทึกการวินิจฉัยอื่นๆ ไดมากกวา 1 อยาง โดยไมจํากัดจํานวนสูงสุด
EXTERNAL CAUSE (สาเหตุภายนอก)
สาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บและการไดรับพิษ (external cause of injury and poisoning) หรือ อาจเรียกวา
กลไกการบาดเจ็บ หรือกลไกการไดรับพิษ คือขอมูลที่ไดจากการซักประวัติผูปวย เพื่อใหทราบวาบาดเจ็บมา
อยางไร เปนอุบัติเหตุ ถูกทําราย ฆาตัวตาย ฯลฯ เพื่อใหไดขอมูลมาใชปองกันการบาดเจ็บ ที่อาจเปนสาเหตุ
ใหสูญเสียประชาชนไทยกอนวัยอันควร แพทยตองระบุกลไกการบาดเจ็บของผูปวยบาดเจ็บทุกราย
A. องคประกอบที่สําคัญของกลไกการบาดเจ็บ ไดแก
1. บอกลักษณะกลไกการบาดเจ็บไดอยางละเอียด เชน บรรยายวานั่งซอนทายรถจักรยานยนตจะไป
ทํางาน แลวรถจักรยานยนตสะดุดกอนหินลื่นลมเอง หรือบรรยายวาถูกฟนดวยมีดอีโตขณะไปเที่ยวงานวัด
2. ระบุไดชัดเจนวาเปนอุบัติเหตุ หรือถูกทําราย หรือเปนการฆาตัวตาย หรือทํารายตนเอง
7
B. ผูใหรหัสมีหนาที่สําคัญยิ่งในการบันทึกรหัสผูปวยบาดเจ็บ ถาหากแพทยไมระบุกลไกการบาดเจ็บ หรือ
ระบุกลไกไมชัดเจน ผูใหรหัสตองสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากเวชระเบียน เพื่อใหรหัสสาเหตุภายนอกได
ครบถวนและถูกตองตรงตามมาตรฐานการใหรหัสผูปวยบาดเจ็บ โดยเฉพาะอยางยิ่งรหัสกิจกรรม, รหัส
สถานที่เกิดเหตุ และรหัสตําแหนงผูปวยในยานพาหนะแตละแบบ
OPERATION / OPERATING ROOM PROCEDURE (การผาตัด)
การผาตัด คือ การใชเครื่องมือกระทําตออวัยวะตางๆ โดยอาศัยทักษะที่ไดรับการฝกฝนจากการศึกษาวิชาชีพ
แพทยหรือทันตแพทย มีวัตถุประสงคหลักในการบําบัดรักษาโรค หรือแกไขความพิการบกพรองใน
โครงสรางทางกายภาพของผูปวย และโดยทั่วไปดําเนินการในหองผาตัดของโรงพยาบาลในการบันทึกขอมูล
เพื่อใหรหัสผาตัดที่ถูกตอง แพทยตองบันทึกสรุปการผาตัดทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในผูปวยแตละรายลงใน
แบบฟอรมสรุป ในชอง operating room procedure โดยเรียงลําดับครั้งที่ทําผาตัด
A. องคประกอบที่สําคัญของการบันทึกการผาตัด ไดแก
1. การผาตัดแตละครั้งอาจมีหลายรายการ
2. การผาตัดเกิดขึ้นโดยผูปวยมักไดรับการวางยาสลบหรือการระงับความรูสึก โดยวิสัญญีแพทย
หรือวิสัญญีพยาบาล และแพทยที่ทําผาตัดมักเปนศัลยแพทย, สูตินรีแพทย, ศัลยแพทยออรโธปดิกส, จักษุ
แพทย หรือโสตศอนาสิกแพทย
3. ในกรณีที่มีการผาตัดแบบเดียวกันซ้ําๆ หลายครั้งในผูปวยคนเดิม เชน ผูปวยที่มีแผลถูกความรอน
อาจตองไดรับการผาตัดเนื้อตายออกมากกวา 10 ครั้ง ใหบันทึกการผาตัดลักษณะนี้เพียงครั้งเดียวและระบุ
จํานวนครั้งที่ทําผาตัดในวงเล็บทายคําบรรยายการผาตัด เชน Debridement of burn necrosis (15 ครั้ง) พรอม
ระบุชวงเวลาที่เกิดการผาตัดลักษณะนั้น
NON-OPERATION /NON-OPERATING ROOM PROCEDURE (หัตถการ)
หัตถการ คือ การใชเครื่องมือกระทําตออวัยวะตางๆ โดยอาศัยทักษะที่ไดรับการฝกฝนจากการศึกษาวิชาชีพ
แพทย ทันตแพทย หรือพยาบาล มีวัตถุประสงคหลักในการบําบัดรักษาโรค หรือแกไขความพิการ
บกพรองในโครงสรางทางกายภาพของผูปวย และโดยทั่วไปดําเนินการนอกหองผาตัดของโรงพยาบาล ใน
การบันทึกขอมูลเพื่อใหรหัสหัตถการที่ถูกตอง แพทยตองบันทึกสรุปหัตถการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในผูปวยแต
ละรายลงในแบบฟอรมสรุป ในชอง non-operating room procedure โดยเรียงลําดับครั้งที่ทําหัตถการ
A. องคประกอบที่สําคัญของการบันทึกหัตถการ ไดแก
1. หัตถการแตละครั้งอาจมีหลายรายการ
2. หัตถการเกิดขึ้นโดยผูปวยมักไดรับการระงับความรูสึกเจ็บโดยผูที่ทําหัตถการเอง หรือในบางครั้ง
อาจไมจําเปนตองใหยาระงับความรูสึกเจ็บ
8
3. หัตถการที่บันทึกควรเปนหัตถการที่ตองอาศัยทักษะขั้นสูงพอสมควร ไมควรบันทึกหัตถการ
งายๆ ทั่วไปที่เกิดขึ้นในการดูแลรักษาผูปวย
9
ความหมายของกลุมวินิจฉัยโรครวม (DRGs)
DRGs เปนระบบแบงกลุมผูปวยอยางหนึ่ง (Patient Classification System) ที่อาศัยขอมูลไมมากนัก
มาจัดกลุมผูปวยเพื่อบอกวา ผูปวยในกลุมเดียวกันจะใชเวลานอนในโรงพยาบาลใกลเคียงกันและสิ้นเปลือง
คารักษาใกลเคียงกัน (resource use)
DRGs ทํางานโดยอาศัยการจัดกลุมรหัส ICD-10 และ ICD-9-CM ที่มีมากกวา 10,000 รายการใหอยู
ในกลุมที่สามารถจัดการไดเหลือ 500+ กลุม
ขอมูลที่ใชในการหา DRG
1. รหัสการวินิจฉัยโรคหลัก (Principle Diagnosis, PDx)
คือ รหัส ICD-10 สําหรับโรคหลักที่ผูปวยไดรับการดูแลรักษาในการเขารักษาในโรงพยาบาลครั้ง
นั้น PDx จะตองมีเสมอและมีได 1 รหัสเทานั้น ปกติแลวแพทยผูดูแลรักษาคือผูสรุปวาโรคหรือภาวะที่ให
การตรวจรักษาเปนหลักในการอยูรพ.ครั้งนั้น คือโรคหรือภาวะใด แมวาบางครั้งอาจก้ํากึ่งซึ่งทําใหตัดสินใจ
ไดยาก แตมีความจําเปนที่จะตองสรุปใหไดกอนที่จะนํามาหา DRG
รหัส ICD-10 ที่ใชเปน PDx ใชตาม ICD-10 ของ WHO (2007) และที่เพิ่มจาก ICD-10-TM (2007)
ยกเวนรหัสในกรณีตอไปนี้ ซึ่งถือวาใชไมได (invalid) ไดแก
รหัสที่เปนหัวขอ เมื่อหัวขอนั้นมีการแบงเปนขอยอยในรหัส WHO เชน A00 (Cholera) ใช
ไมได เพราะมีการแบงเปนขอยอย A00.1,A00.2 และ A00.3 (กรณีที่รหัส WHO ไมมีการ
แบงเปนขอยอย แมจะมีการแบงขอยอยใน ICD-10-TM รหัสที่เปนหัวขอยังใชได เชน
A91,B86 เปนตน)
รหัส External causes (ขึ้นตนดวย V, W, X, Y)
นอกจากนี้ในรหัส WHO มีการเพิ่มเติมในบางสวนของรหัสที่ขึ้นตนดวย F (แบงละเอียดขึ้น), M
(เพิ่ม site code) และS, T (แสดง closed และ open สําหรับ fracture และ บาดแผลของ body cavity 0) ใน
สวนที่เพิ่มนี้ รหัสที่เปนหัวขอยังใชได เชน T08 (Fracture of spine, level unspecified) ยังใชไดแมจะมีรหัส
T08.0 (สําหรับ closed) และT08.1 (open) เนื่องจากการแบงเปน T08.0 และ T08.1 ไมไดเปนการบังคับ
2. รหัสการวินิจฉัยโรคอื่น (Secondary Diagnosis, SDx)
คือ รหัส ICD-10 สําหรับโรคอื่นนอกเหนือจากโรคหลัก SDx อาจเปนโรครวม (comorbidities) หรือ
ภาวะแทรกซอน (complications) ก็ได แตตองมีการดําเนินการรักษาในครั้งนั้น โรคในอดีตที่หายแลว หรือ
โรคที่ไมมีการดําเนินการตรวจหาจะนํามาเปน SDx ไมได SDx อาจไมมีเลย หรือมีหลายรหัสก็ได
10
3. รหัสการผาตัดและหัตถการ (Procedure, Proc)
คือ รหัส ICD-9-CM (ฉบับป 2007) สําหรับการผาตัด และการทําหัตถการตางๆ ซึ่งในที่นี้จะเรียก
รวมกันวาหัตถการ ใน Thai DRG version 4.0 มี Proc 2 ประเภท คือ
3.1 OR Procedure (Operating Room Procedure, OR-Proc) หมายถึง หัตถการที่มีการกําหนดไววา
เปนหัตถการที่ตองใชหองผาตัด (ซึ่งทําใหตองใชทรัพยากรมาก)
3.2 Non-OR Procedure (Non-operating room procedure) หมายถึง หัตถการที่มีการกําหนดไววาเปน
ประเภทไมตองใชหองผาตัด (แมวาในการทําจริงๆ อาจทําในหองผาตัดก็ตาม) Procedure อาจไมมีหรือมี
หลายรหัสได
ICD-9-CM Procedure with Extension code คือ การเพิ่มรหัส 2 ตําแหนงตอทายรหัส ICD-9-CM
เดิมเพื่อบอกจํานวนตําแหนงและจํานวนครั้งของการผาตัด เนื่องจากรหัสหัตถการโดยลําพังไมสามารถแสดง
ความแตกตางของการรักษาผูปวยในกรณีที่มีการผาตัดหลายตําแหนงหรือหลายครั้ง จําเปนตองมีการเพิ่ม
ขอมูลบางสวนเพื่อใหสามารถจัดกลุมวินิจฉัยโรครวมที่แยกความแตกตางได
4. วันเกิด (Date of birth, DOB)
5. อายุ
ประกอบดวยตัวเลข 2 ตัว ไดแก
Age คือ อายุเปนป มีคาไดตั้งแต 0 ถึง 124
Age Day คือเศษที่เหลือของป นับเปนวัน มีคาตั้งแต 0 ถึง 364 หรือ 365 วัน
กรณีที่ Age มีคาเปน 0 จําเปนตองมี Age Day ถา Age มากกวา 0 จะไมมี Age Day ก็ได
สูตรในการคํานวณอายุคือ วันที่รับไวในโรงพยาบาล – วันเกิด (DateAdm – DOB) กรณีที่ขอมูล
วันเกิดและวันที่รับไวในโรงพยาบาลไมครบ ใหใชอายุที่ใสโดยตรง ถามีทั้งที่ไดจากการคํานวณและที่ใส
โดยตรง ใหใชที่ไดจากการคํานวณ
6. น้ําหนักตัวแรกรับ (Admission weight, AdmWt)
คือน้ําหนักตัวเปนกิโลกรัมในขณะที่รับไวรักษาในโรงพยาบาล สําหรับทารกที่คลอดในโรงพยาบาล
จะเปนBirth weight ขอมูลน้ําหนักตัวแรกรับมีความจําเปนสําหรับผูปวยที่เปนทารกแรกเกิด (อายุ 0-27 วัน)
AdmWt ที่มีคานอยกวา 0.3 กก. ถือวาไมมีหรือใชไมได (invalid)
7. เพศ (Sex)
มีคาเปน 1 หรือ 2 โดย 1 แทน เพศชาย, 2 แทน เพศหญิง
11
8. ประเภทการจําหนายออกจากโรงพยาบาล (Discharge Type, Discht)
คาที่ใชไดและความหมาย มีดังนี้
1 = With approval
2 = Against advise
3 = Escape
4 = Transfer
5 = Other
8 = Dead autopsy
9 = Dead no autopsy
9. วันที่รับไวในโรงพยาบาล (Admission date, DateAdm)
10. วันที่จําหนายออกจากโรงพยาบาล (Discharge date, DateDsc)
11. ระยะเวลาที่นอนรักษาในโรงพยาบาล (Length of stay, CALLOS)
คํานวณจากสูตร
CALLOS = DateDsc – DateAdm
กรณีที่รับไวและจําหนายเปนวันเดียวกัน CALLOS = 0
CALLOS ที่ใชใน diagram และ DC / DRG definition คือ CALLOS
12. วันที่ลากลับบาน (Leave day) คือ จํานวนวันที่ลากลับบานทุกครั้งรวมกัน
12
คํายอและความหมาย
AX Auxilliary cluster หมายถึงกลุมรหัสพิเศษที่ใชชวยในการกําหนด DC สําหรับ DC ที่มี
เงื่อนไขซับซอนสวนใหญจะใช AX เปนตัวประกอบ และ PDC เปนตัวหลักในการกําหนด
DC
ACTLOS Actual Length of Stay หมายถึง จํานวนวันนอนในโรงพยาบาล คํานวณจาก
ACTLOS= DateDsc – DateAdm – LeaveDay = CALLOS – LeaveDay
CALLOS หมายถึงจํานวนวันนอนในรพ. ที่คํานวณจากสูตร CALLOS = DateDsc – DateAdm
CC Complication and comorbidity หมายถึง การมีภาวะแทรกซอน หรือโรคอื่นที่เปนรวมดวย ทํา
ใหมีความยุงยากในการรักษามากขึ้น มีการใชทรัพยากรในการรักษามากขึ้น
CCL Complication and comorbidity level หมายถึง น้ําหนักความรุนแรง CC แตละรหัส
DC Disease Cluster หมายถึง กลุมโรคที่ถูกแบงยอยไปจากกลุมวินิจฉัยโรคใหญ (MDC) กอนที่
จะแบงเปนDRG ตางๆ ตามระดับ CC
DRG Diagnosis Related Group หรือกลุมวินิจฉัยโรครวม คือ การจัดกลุมผูปวยที่มีลักษณะทาง
คลินิกและการใชทรัพยากรในการรักษาพยาบาลใกลเคียงกันไวในกลุมเดียวกัน
Dx PDx or SDx คํารวมสําหรับรหัสการวินิจฉัยซึ่งรวมความถึงโรคหลักและโรคอื่น
ICD-9-CM International Classification of Disease, 9th
edition, Clinical Modification) คือ บัญชีจําแนก
โรคระหวางประเทศ ฉบับที่ 9 ปรับปรุงเพิ่มเติมใหสอดคลองกับกับการดูแลผูปวยทางคลินิก
การปรับปรุงเพิ่มเติมอยูในความรับผิดชอบของ HCFA
ICD-10 International Classification of Disease, 10th
edition คือ บัญชีจําแนกโรคระหวางประเทศ
ฉบับที่ 10การปรับปรุงเพิ่มเติมอยูในความรับผิดชอบขององคการอนามัยโลก
ICD-10-TM ICD-10 Thai Modification คือ ICD-10 ที่มีการเพิ่มเติมเพื่อใหเหมาะสมกับการใชของ
ประเทศไทย
MDC Major Diagnostic Category คือ กลุมวินิจฉัยโรคใหญ ซึ่งแบงตามระบบตางๆ ของรางกาย
เชน ระบบประสาท (MDC 1), ระบบทางเดินอาหาร (MDC 6) เปนตน
Non-OR procedure หมายถึง รหัสหัตถการ ที่ไมจัดวาทําในหองผาตัด (Non-operating room)
OR procedure หมายถึง รหัสหัตถการที่จัดวาทําในหองผาตัด (Operating room)
OT Outlier trim point คือ คามาตรฐานจุดตัดวันนอนนานเกินเกณฑ โดยคูมือฉบับนี้ใชคา
เปอรเซ็นตไท ที่ 97 ของผูปวยในแตละกลุมเปนจุดตัดวันนอนนานเกินเกณฑ
PCCL Patient Clinical Complexity Level หมายถึง ดัชนีที่ใชบอกระดับของ CC ในผูปวยแตละราย
PDC Procedure or Diagnosis Cluster คือ กลุมของรหัสการวินิจฉัยหรือหัตถการที่มีความสัมพันธ
ใกลชิดกัน
13
PDx Principle Diagnosis หมายถึง การวินิจฉัยโรคหลักที่ผูปวยไดรับการดูแลรักษา ในการนอน
รักษาในโรงพยาบาลครั้งนั้น PDx จะตองเปนโรคหรือภาวะที่มีอยู ขณะที่รับไวรักษาตัวใน
โรงพยาบาล
Proc Procedure หมายถึง การทําหัตถการรวมทั้งการผาตัดดวย
RW Relative Weight หรือ คาน้ําหนักสัมพัทธ เปนตัวเลขเปรียบเทียบการใชตนทุนเฉลี่ยในการ
ดูแลรักษาผูปวยของ DRG นั้น วาเปนกี่เทาของตนทุนเฉลี่ยของผูปวยทุกกลุม DRG
SDx Secondary Diagnosis หมายถึง การวินิจฉัยโรคอื่น ที่นอกเหนือจากการวินิจฉัยโรคหลัก
SDx อาจเปนโรคอื่น หรือภาวะแทรกซอนก็ได แตตองเปนปญหาที่ใหการรักษาพยาบาลใน
ครั้งนั้น
WTLOS หมายถึง คามาตรฐานวันนอนเฉลี่ย โดยในคูมือฉบับนี้คํานวณจากคาเฉลี่ยเลขคณิตของวัน
นอนในแตละ DRG ที่ไดตัดผูปวยนอนนานเกินเกณฑออก
อางอิงจาก : คูมือการจัดกลุมวินิจฉัยโรครวมและน้ําหนักสัมพัทธ ฉบับที่ 4.0
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
14
Comorbidity Complication ที่งาย ๆ สําคัญไมควรพลาดสําหรับ DRG Version 4.0
A07.1 Giardiasis [lambliasis]
A08.0 Rota viral enteritis
A09 Diarrhea and gastroenteritis of presumed infectious origin
A16.9 Respiratory tuberculosis unspecified
B18.1 Chronic viral hepatitis B without delta-agent
B18.2 Chronic viral hepatitis C
B78.0 Intestinal strongyloidiasis
B79 Trichuriasis
D50.0 Iron deficiency anemia secondary to blood loss (chronic)
D50.8 Other iron deficiency anemias
D50.9 Iron deficiency anemia, unspecified
D56.3 Thalassemia trait
D62 Acute post hemorrhagic anemia
D63.0* Anemia in neoplastic disease ( C00-D48† )
D63.8* Anemia in other chronic diseases classified elsewhere
D69.3 Idiopathic thrombocytopenic purpura
D69.9 Hemorrhagic condition, unspecified
D70 Agranulocytosis & Neutropenia
E11.1 Non-insulin-dependent diabetes mellitus With ketoacidosis
E11.4 Non-insulin-dependent diabetes mellitus With neurological complications
E44.0 Moderate protein-energy malnutrition
E44.1 Mild protein-energy malnutrition
E87.0 Hyperosmolality and hypernatremia
E87.1 Hypo-osmolality and hyponatremia
E87.2 Acidosis
E87.3 Alkalosis
E87.4 Mixed disorder of acid-base balance
E87.5 Hyperkalemia
E87.6 Hypokalemia
15
E87.7 Fluid overload
E87.8 Other disorders of electrolyte and fluid balance
F10.0 Mental and behavioural disorders due to use of alcohol (Acute intoxication)
F10.1 Mental and behavioural disorders due to use of alcohol (Harmful use)
F17.2 Mental and behavioural disorders due to use of tobacco (Dependence syndrome)
F18.0 Mental and behavioural disorders due to use of volatile solvents (Acute intoxication)
F18.1 Mental and behavioural disorders due to use of volatile solvents (Harmful use)
F18.2 Mental and behavioural disorders due to use of volatile solvents (Dependence syndrome)
J18.9 Pneumonia, unspecified
K25.0 Gastric ulcer Acute with hemorrhage
K25.4 Gastric ulcer Chronic or unspecified with hemorrhage
K26.0 Duodenal ulcer Acute with hemorrhage
K26.4 Duodenal ulcer Chronic or unspecified with hemorrhage
K27.0 Peptic ulcer Acute with hemorrhage
K27.4 Peptic ulcer Chronic or unspecified with hemorrhage
K29.0 Acute hemorrhagic gastritis
K73.2 Chronic active hepatitis
K73.8 Other chronic hepatitis
K80.2 Calculus of gallbladder without cholecystitis
K92.0 Hematemesis
K92.1 Melaena
K92.2 Gastrointestinal hemorrhage
L01.0 Impetigo [any organism] [any site]
L01.1 Impetiginization of other dermatoses
L03.1 Cellulitis of other parts of limb
L03.2 Cellulitis of face
L03.3 Cellulitis of trunk
L03.8 Cellulitis of other sites
L97 Ulcer of lower limb
L98.4 Chronic ulcer of skin
N20.1 Calculus of ureter
16
N30.0 Acute cystitis
N30.4 Irradiation cystitis
N30.9 Cystitis, unspecified
N39.3 Stress incontinence
N63 Unspecified lump in breast (Mass breast)
O47.9 False labour, unspecified
O86.0 Infection of obstetric surgical wound
O86.1 Other infection of genital tract following delivery
O86.3 Other genitourinary tract infections following delivery
O86.8 Other specified puerperal infections
P74.1 Dehydration of newborn
P92.0 Vomiting in newborn
P92.2 Slow feeding of newborn
P92.3 Underfeeding of newborn
P92.4 Overfeeding of newborn
P92.5 Neonatal difficulty in feeding at breast
P92.8 Other feeding problems of newborn
P92.9 Feeding problem of newborn, unspecified
R04.2 Hemoptysis
R04.8 Hemorrhage from other sites in respiratory passages
R04.9 Hemorrhage from respiratory passages, unspecified
R09.2 Respiratory arrest
R18 Ascites
R29.0 Tetany
R31 hematuria
R32 Unspecified urinary incontinence
R33 Retention of urine
R40.2 Coma, unspecified
R56.0 Febrile convulsions
R56.8 Other and unspecified convulsions
R57.0 Cardiogenic shock
17
R57.1 Hypovolemic shock
R57.8 Other shock
R57.9 Shock, unspecified
R58 Hemorrhage
R63.3 Feeding difficulties and mismanagement
S06.00 cerebral Concussion without open intracranial wound
S06.10 Traumatic cerebral oedema without open intracranial wound
T79.3 Post-traumatic wound infection
T81.3 Disruption of operation wound
T81.4 Infection following a procedure
Z43.0 Attention to tracheostomy
Z93.0 Tracheostomy status
18
DIARRHOEA
สําหรับประเทศในเขตรอน เชน ประเทศไทย ถาแพทยวินิจฉัยวา acute diarrhoea หรือ diarrhoea
แตเพียงลําพัง ใหตีความวาเปน infectious diarrhoea และใชรหัส A09 Diarrhoea and gastroenteritis
ofpresumed infectious origin ถาแพทยบันทึกละเอียดขึ้นวาเปน bacterial diarrhoea เนื่องจากมีการตรวจ
อุจจาระพบเม็ดเลือดขาว แตไมไดเพาะเชื้อ หรือยังไมไดผลการเพาะเชื้อ ใหใชรหัส A04.9
Bacterialintestinal infection, unspecified
ถาหากตรวจพบเชื้อตนเหตุที่ทําใหเกิดทองรวง ใหแพทยระบุชื่อเชื้อตนเหตุในคําวินิจฉัย เพื่อผูให
รหัสจะไดใชรหัสของโรคติดเชื้อนั้นแทน เชน
ตรวจอุจจาระพบลักษณะ shooting star แพทยควรระบุวาเปนอหิวาตกโรค เพื่อใหรหัส
A00.9 Cholera, unspecified
ถาเพาะเชื้อขึ้น แพทยบันทึกรับรองผลการเพาะเชื้อนั้น สามารถใหรหัสตามเชื้อที่พบ เชน
A00.0 Cholera due to Vibrio cholerae 01, biovar cholerae
A00.1 Cholera due to Vibrio cholerae 01, biovar eltor
กรณีที่มี diarrhoea ในผูปวยที่ไดรับยาปฏิชีวนะเปนเวลานาน มีภาวะติดเชื้อ Clostridium difficile ทํา
ใหเกิดpseudomembranous enterocolitis หรือ antibiotic associated colitis ซึ่งแพทยไดบันทึกไวใน
เวชระเบียน ใหใชรหัส A04.7 Enterocolitis due to Clostridium difficile
ผูปวย diarrhoea หรือ food poisoning ที่มีอาการแสดงของภาวะ dehydration เชน มีประวัติการ
สูญเสียน้ํา, ปากแหง, poor หรือ fair skin turgor, ชีพจรเร็วกวา 90 ครั้ง, jugular venous pressure ต่ํา หรือ
postural hypotension หนามืด,delayed capillary filling time หรือไมรูสึกปวดปสสาวะมาเลยใน 6 ชั่วโมงที่
ผานมา สามารถใหรหัส E86 Volume depletion เปนการวินิจฉัยรวม
FOOD POISONING
ในกรณีที่แพทยสรุปวาอาหารเปนพิษ (food poisoning) เนื่องจากผูปวยรับประทานอาหารที่มี toxin
จากเชื้อแบคทีเรีย เปนผลใหมีอาการอาเจียน หรืออาเจียนรวมกับทองเดิน แตมีอาการอาเจียนเดนกวา แพทย
สามารถวินิจฉัยสาเหตุของอาหารเปนพิษจากประวัติชนิดหรือแหลงของอาหารที่ทําใหเกิดอาการได
เนื่องจากไมมีการตรวจ toxin หรือเพาะเชื้อในเวชปฏิบัติทั่วไป ยกเวนสามารถเพาะเชื้อจากอุจจาระในกรณีที่
เกิดจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus
ถาผูปวยมีประวัติรับประทานอาหารที่ทิ้งไวคางคืน แพทยสามารถวินิจฉัยเปน foodborne
staphylococcal intoxication ใหรหัส A05.0
19
ถาผูปวยมีประวัติรับประทานอาหารทะเลสุกๆดิบๆ แพทยสามารถวินิจฉัยเปน foodborne
Vibrio parahaemolyticus intoxication ใหรหัส A05.3
ถาผูปวยมีประวัติรับประทานอาหารประเภทขาวผัด แพทยสามารถวินิจฉัยเปน foodborne
Bacillus cereus intoxication ใหรหัส A05.4
ถาประวัติการรับประทานอาหารไมชัดเจน แตแพทยสรุปวาเกิดจาก bacterial foodborne
intoxication ใหรหัส A05.9 Bacterial foodborne intoxication, unspecified
แตถา food poisoning หมายถึง ผลของการรับประทานอาหารที่เปนพิษ เชน อาหารทะเลบาง
ประเภท รวมทั้งเห็ดและพืชบางประเภท ใหเลือกใชรหัสในกลุม T61.- Toxic effect of noxious substances
eaten as seafood หรือ T62.- Toxic effect of other noxious substances eaten as food และเลือกใหรหัส
สาเหตุภายนอกในกลุม X49.- Accidental poisoning by and exposure to other and unspecified
chemicalsand noxious substances
ถาไมมีขอมูลวาเปนจากไดรับ bacterial toxin ในอาหาร หรือเปนจากการรับประทานอาหารที่เปน
พิษ และไมสามารถปรึกษาแพทยได ใหใชรหัส T62.9 Noxious substance eaten as food, unspecified
ตัวอยาง ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน food poisoning จากปลาปกเปาทะเล รหัสการวินิจฉัยหลักจะ
เปลี่ยนเปน T61.2 Other fish and shellfish poisoning และถาแพทยวินิจฉัยวาเปน food poisoning จากปลา
ปกเปาไมทราบชนิด รหัสการวินิจฉัยหลักจะเปลี่ยนเปน T62.9 Noxious substance eaten as food,
Unspecified
HYPERTENSION
โรคความดันโลหิตสูงที่ไมทราบสาเหตุรวมทั้งภาวะ malignant hypertension ใชรหัส I10 Essential
(primary) hypertension
โรคความดันโลหิตสูงทําใหเกิดโรคหัวใจได ถามีประวัติความดันโลหิตสูงมานาน ควบคุมความดัน
โลหิตไมไดหรือรักษาไมสม่ําเสมอ และไดวินิจฉัยแยกภาวะโรคหัวใจอื่นไปแลว แตผลตรวจ
echocardiogram ยืนยันวาเปน diastolic heart failure แพทยวินิจฉัยวาเปน “hypertensive heart disease” ใช
รหัสในกลุม I11.-
เมื่อมีอาการทางคลินิกที่แพทยระบุวามี heart failure ใหใชรหัส I11.0 Hypertensive heart
disease with (congestive) heart failure
เมื่อมีอาการทางคลินิกที่แพทยไมระบุวามี heart failure ใหใชรหัส I11.9 Hypertensive heart
disease without (congestive) heart failure
20
โรคความดันโลหิตสูงอาจไมเกี่ยวกับโรคหัวใจแมจะเกิดพรอมกันในผูปวยคนเดียวกัน เชน เปน
โรคหัวใจ ischaemic cardiomyopathy รวมกับมีความดันโลหิตสูง ในกรณีนี้ใหทั้งรหัสของโรคหัวใจคือ
I25.5 Ischaemic cardiomyopathy รวมกับรหัสโรคความดันโลหิตสูงคือ I10 Essential (primary)
hypertension
โรคความดันโลหิตสูงทําใหเกิดโรคไตได ถาผูปวยมีประวัติความดันโลหิตสูงมานาน ควบคุมความ
ดันโลหิตไมไดหรือรักษาไมสม่ําเสมอ และมีระดับ creatinine สูงขึ้นตามลําดับ แพทยวินิจฉัยไดวาเปนโรค
ไตที่เกิดจากความดันโลหิตสูง ใชรหัสในกลุม I12.- Hypertensive renal disease
ในกรณีที่แพทยวินิจฉัยวาโรคความดันโลหิตสูงเกิดจากโรคไต เชน โรคไตเรื้อรัง โรคไตจาก lupus
nephritis ใชรหัส I15.1 Hypertension secondary to other renal disorders
CARDIAC ARREST
ถาผูปวยมี cardiac arrest ที่แพทยระบุสาเหตุแนนอน เชน heart block, arrhythmia, myocardial
infarction ใหใชรหัสของสาเหตุที่ทราบ เชน I44 - I45, I21 - I22, I47 - I49
ถาแพทยไมระบุสาเหตุแนนอน และทํา resuscitation สําเร็จ ใชรหัส I46.0 Cardiac arrest with
successful resuscitation ถาทํา resuscitation ไมสําเร็จ ใชรหัส I46.9 Cardiac arrest, unspecified อยางไร
ก็ตามไมใหรหัส I46.9 ในกรณีที่ผูปวยมีโรคที่เปนสาเหตุทําใหเสียชีวิตอยูแลว เชน โรคมะเร็ง โรคเอดส
การติดเชื้อในกระแสเลือด เปนตน
ในกรณีที่แพทยไมไดวินิจฉัยในขณะเกิดเหตุการณแนนอน แตคาดวาเกิด cardiac arrest ใหใชรหัส
I46.1 Sudden cardiac death, so described
CONGESTIVE HEART FAILURE
กรณีที่ผูปวยเปนโรคหัวใจที่ทราบการวินิจฉัยมากอน เชน mitral stenosis, tetralogy of fallot
เปนตน มาดวย congestive heart failure ใหใชรหัส I50.0 Congestive heart failure เปนรหัสการวินิจฉัย
หลัก และใชรหัสของโรคหัวใจที่ทราบวาเปนมากอนเปนรหัสการวินิจฉัยรวม แตถาผูปวยมาดวย congestive
heart failure และไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคหัวใจเปนครั้งแรก ก็ใหใชรหัสโรคหัวใจนั้นเปนรหัสการ
วินิจฉัยหลัก และใชรหัส I50.0 Congestive heart failure เปนรหัสการวินิจฉัยรวม
ถาแพทยระบุวาเปน left ventricular failure ใหรหัส I50.1 Left ventricular failure ถาระบุวาเปน
biventricular failure ใชรหัส I50.0 Congestive heart failure และถาไมระบุวาเปนจากหัวใจชองใด ใชรหัส
I50.9 Heart failure, unspecified
21
CEREBROVASCULAR ACCIDENT [CVA]
Cerebrovascular accident (stroke) เปนกลุมอาการทางคลินิกที่เกิดจากความผิดปกติของการ
ไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือมีเลือดออกในโพรงกะโหลกศีรษะ อาการมักเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว
และทําใหเกิดความผิดปกติทางระบบประสาท เชน อาการออนแรงครึ่งซีก, ชาครึ่งซีก, aphasia เปนตน
CVA หรือ stroke เปนคําที่มีความหมายไมจําเพาะเจาะจง ผูใชรหัสควรหลีกเลี่ยงการใชรหัส I64
Stroke, not specified as hemorrhage or infarction โดยพยายามสืบหาคําวินิจฉัยที่จําเพาะกวา เพื่อใช
รหัสที่จําเพาะกวา เชน
I60.- Subarachnoid haemorrhage
I61.- Intracerebral haemorrhage
I62.- Other nontraumatic intracranial haemorrhage
I63.- Cerebral infarction
ภาวะ intracerebral hemorrhage และ cerebral infarction แยกจากกันโดยการตรวจภาพรังสี, CT
scan หรือ MRI สมอง ถาแพทยวินิจฉัยวามีเลือดออกในสมองใชรหัสกลุม I61.- Intracerebral hemorrhage
ถาพบลักษณะเขาไดกับ infarction หรือปกติใชรหัสกลุม I63.- Cerebral infarction
Cerebral infarction แบงออกเปน cerebral thrombosis (รหัส I63.0 Cerebral infarction due
tothrombosis of precerebral arteries และ I63.3 Cerebral infarction due to thrombosis of cerebral
arteries) กับ cerebral embolism (รหัส I63.1 Cerebral infarction due to embolism of precerebral
arteries และ I63.4 Cerebral infarction due to embolism of cerebral arteries) วินิจฉัยแยกจากกันโดยใน
กรณี cerebral embolism จะพบหลักฐานการเกิด embolism เชน มีโรคหัวใจเตนผิดจังหวะ ไดแก atrial
fibrillation หรือโรคหัวใจที่เกิด intracardiac thrombus ได เชน ภาวะ myocardial infarction, valvular heart
disease, ผูที่ไดรับการผาตัดลิ้นหัวใจ, cardiomyopathy สวนในกรณี cerebral thrombosis มักพบปจจัยเสี่ยง
ของ atherosclerosis เชน ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง, เบาหวาน เปนตน
อาการของ cerebral embolism มักเกิดขึ้นทันทีทันใดขณะกําลังทํากิจกรรม สวนอาการของ
thrombosis อาจใชเวลาเปนชั่วโมงหรือเปนวัน อาจเกิดขณะหลับ หรืออาจมีอาการ TIA นํามากอน
นอกจากนั้น cerebral infarction อาจเกิดจาก cerebral venous thrombosis ใชรหัส I63.6 Cerebral
infarction due to cerebral venous thrombosis, nonpyogenic
Precerebral arteries ประกอบดวย vertebral, basilar และ carotid arteries
Cerebral arteries ประกอบดวย middle, anterior และ posterior cerebral arteries, cerebellar
arteries
22
ถาแพทยบันทึกรายละเอียดวาเกิดจากหลอดเลือดใด ใหใชรหัสในกลุม G46* Vascular syndromes
of brain in cerebrovascular diseases เปนรหัสการวินิจฉัยรวม โดยมีรหัส I60 – I67 เปนรหัสการวินิจฉัย
หลัก (รหัส กลุม G46.- เปนรหัสดอกจัน ไมสามารถใชเปนการวินิจฉัยหลักได) เชน
G46.0* Middle cerebral artery syndrome (I66.0†) ผูปวยมีอาการ hemiparesis,
hemisensory loss ดานตรงขาม, ถาเปนขางซายมี aphasia รวมดวย แขนออนแรงมากกวาขา
G46.1* Anterior cerebral artery syndrome (I66.1†) ขามักจะออนแรงมากโดยที่แขนปกติ
หรือออนแรงเฉพาะตนแขน
G46.2* Posterior cerebral artery syndrome (I66.2†) ผูปวยมี homonymous hemianopia
with macular sparing ดานตรงขาม
G46.4* Cerebellar stroke syndrome (I60-I67†) ผูปวยมี cerebellar ataxia
Lacunar syndrome เกิดจากโรคของหลอดเลือดขนาดเล็ก มักจะมีอาการไมรุนแรง และอาจมี
อาการจําเพาะ เชน
Pure motor hemiparesis ใชรหัส G46.5* Pure motor lacunar syndrome (I60-I67†)
Pure sensory ใชรหัส G46.6* Pure sensory lacunar syndrome (I60-I67†)
Ataxic hemiparesis ใชรหัส G46.7* Other lacunar syndromes (I60-I67†)
Brain stem stroke syndrome เกิดจากความผิดปกติของ precerebral arteries (vertebral, basilar
artery) มีอาการ cranial nerve palsies, dysconjugate eye, nystagmus, ซึมลง, alternating hemiplegia (มีแขน
ขาออนแรงดานหนึ่ง แตกลามเนื้อบริเวณหนาออนแรงอีกดานหนึ่ง) และ alternating hemisensory loss ถา
แพทยวินิจฉัยวาเปนกลุมอาการนี้ ใชรหัส G46.3* Brain stem stroke syndrome (I60-I67†)
รหัส I65.- Occlusion and stenosis of precerebral arteries, not resulting in cerebral infarction
และ I66.- Occlusion and stenosis of cerebral arteries, not resulting in cerebral infarction ใชในกรณีที่
ยังไมมี cerebral infarction เทานั้น
กรณีที่แพทยวินิจฉัยเปน cavernous sinus thrombosis โดยที่ไมมี cerebral infarction ใหใชรหัส
I67.6 Nonpyogenic thrombosis of intracranial venous system
สําหรับโรคของหลอดเลือด cerebrovascular ที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ ใชรหัสสําหรับ cerebrovascular
disease อื่นเปนรหัสการวินิจฉัยรวม เชน
I67.7 Cerebral arteritis, not elsewhere classified
I68.2* Cerebral arteritis in other diseases classified elsewhere
โดยใชรหัสสาเหตุ เชน M32.1 Systemic lupus erythematosus with organ or system involvement เปน
รหัสการวินิจฉัยหลัก
23
คําวา “old CVA” หมายถึง ผูปวยเคยเปน CVA มากอนอยางนอย 1 ป ถาในปจจุบันไมมี
neurological deficits แลว รหัสที่เหมาะสมคือ Z86.7 Personal history of diseases of the circulatory
system แตถาในปจจุบันยังมี neurological deficits อยู เชน hemiparesis, aphasia ใหใชรหัสในกลุม I69.-
Sequelae of cerebrovascular disease เปนรหัสการวินิจฉัยรวม โดยใหรหัสของ neurological deficits ที่
หลงเหลืออยูเปนการวินิจฉัยหลัก
รหัสในกลุม I69.- Sequelae of cerebrovascular disease ใชสําหรับบงบอกวาโรคใดในกลุม I60-
I67 เปนสาเหตุของ sequelae ใชเฉพาะเมื่อการรักษาสิ้นสุดสมบูรณแลว แตยังมีความผิดปกติเหลืออยู ไมควร
ใหรหัสในกลุม I69 แตเพียงลําพัง
ACUTE ISCHAEMIC HEART DISEASE
ผูปวยที่มาดวยอาการแนนหนาอกขณะพักหรืออาการแนนหนาอกไมหายไป มีการเปลี่ยนแปลงของ
คลื่นหัวใจโดยมี ST depression, T-wave inversion, อาจมีหรือไมมี troponin สูงขึ้น แพทยวินิจฉัยวา
“unstable angina” ใหรหัส I20.0 Unstable angina
ผูปวยที่รับไวในโรงพยาบาลดวยอาการแนนหนาอกขณะพักเปนเวลานาน Troponin สูง CPK สูง
ตรวจคลื่นหัวใจพบ ST-elevation และ Q wave แพทยวินิจฉัยวาเปน “acute myocardial infarction” รหัสที่
ใชไดแก
I21.0 Acute transmural myocardial infarction of anterior wall หรือ
I21.1 Acute transmural myocardial infarction of inferior wall หรือ
I21.2 Acute transmural myocardial infarction of other sites
ทั้งนี้ ระยะเวลาที่เกิดอาการตองไมเกิน 4 สัปดาห
ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน acute myocardial infarction แตคลื่นหัวใจไมมีการเปลี่ยนแปลงชัดเจน
เรียกวา acute subendocardial (non ST-elevated) myocardial infarction ใหรหัส I21.4 Acute
subendocardial myocardial infarction
ในกรณีที่ผูปวยมีอาการแนนหนาอกแบบ angina ตรวจคลื่นหัวใจผิดปกติ หรือ troponin สูง แตทํา
coronary angiogram ไดผลปกติ และพบ coronary spasm ขณะทํา coronary angiogram หรือในกรณีผูปวยมี
อาการเจ็บหนาอก และพบการเปลี่ยนแปลงของ EKG แบบ ST elevation และกลับเปนปกติในเวลาสั้นๆ ได
เอง หรือหลังจากบริหารยา nitroglycerine/nitrate หรือพน/ อมยาใตลิ้น แพทยวินิจฉัยวา angina pectoris with
documented spasm ใชรหัส I20.1 Angina pectoris with documented spasm
24
ในกรณีที่มี chest pain สงสัย acute myocardial infarction รับไวสังเกตอาการ แตหลังจากติดตาม
แลวไมพบหลักฐานวาเปน acute myocardial infarction ใหใชรหัส Z03.4 Observation for suspected
myocardial infarction
แตถามี chest pain ที่ไม typical และทํา coronary angiogram ไดผลปกติ ใหใชรหัส Z03.5
Observation for other suspected cardiovascular diseases
ผูปวยที่เปน acute myocardial infarction ในการรับไวครั้งกอน แตตองรับใหมเพราะเกิด recurrent
หรือโรคแทรกซอน ในระยะเวลาไมเกิน 4 สัปดาหหลังจากที่เปน acute myocardial infarction ใหใชรหัสใน
กลุม I22.-Subsequent myocardial infarction
Acute coronary syndrome หมายถึง ภาวะ unstable angina ชนิด high risk ไดแก angina ที่พบ
รวมกับภาวะcongestive heart failure, ตรวจพบ troponin สูง, รวมทั้งภาวะ acute myocardial infarction จึง
ควรใหรหัสใหชัดเจนวาเปน unstable angina หรือ acute myocardial infarction
หลังจากเกิด acute myocardial infarction อาจมีโรคแทรกซอนเกิดขึ้นได เชน rupture of chordae
tendineae, haemopericardium ในกรณีนี้ใหใชรหัสในกลุม I21.- Acute myocardial infarction เปนรหัส
การวินิจฉัยหลัก และรหัสในกลุม I23.- Certain current complications following acute myocardial
infarction เปนรหัสโรคแทรก
PNEUMONIA
ในการใหรหัสสําหรับโรคปอดบวม (pneumonia) ถาแพทยระบุชนิดของ organism ที่เปนตนเหตุ
ไมวาจะทราบจากผลการเพาะเชื้อเสมหะ หรือ hemoculture หรือการตรวจทาง serology ใหเลือกใชรหัสใน
กลุม J13 – J17
ในกรณีที่ตรวจพบเชื้อแบคทีเรียจากการยอมกรัมในเสมหะที่พอเพียงคือมีเม็ดเลือดขาว
(polymorphonuclear cells) และพบแบคทีเรียในเซลล แพทยวินิจฉัยไดวาเปน bacterial pneumonia ใหใช
รหัส J15.9 Bacterial pneumonia, unspecified
อยางไรก็ตามการวินิจฉัยอาจอาศัยอาการทางคลินิก เชน อาการของไขหวัดใหญ (influenza) รวมกับ
มีอาการของ pneumonia เชน รหัส J11.0 Influenza with pneumonia, virus not identified
ถาหากแพทยไมระบุชนิดของ organism แตระบุชนิดของโรคปอดบวมตามผลภาพรังสีทรวงอกเชน
lobar pneumonia, bronchopneumonia หรือไมไดระบุ ใหใชรหัสในกลุม J18.- Pneumonia, organism
unspecified ซึ่งประกอบดวย
J18.0 Bronchopneumonia, unspecified
J18.1 Lobar pneumonia, unspecified
25
J18.8 Other pneumonia, organism unspecified
J18.9 Pneumonia, unspecified
ในกรณีที่แพทยระบุวาเปน aspiration pneumonia ใหใชรหัส J69.- ขึ้นกับวามีประวัติสําลักสิ่งใด
ไดแก
J69.0 Pneumonia due to food and vomit เกิดจากการสําลักอาหารหรือสารที่อาเจียนหรือ
สํารอกออกมา
J69.1 Pneumonia due to oil and essence เกิดจากสําลักน้ํามันชนิดตางๆ
J69.8 Pneumonia due to other solids and liquids เชน เกิดจากการสําลักเลือด เปนตน
ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน community acquired pneumonia หรือ hospital acquired pneumonia ใหใช
หลักการเดียวกับขางตน และในกรณี “hospital acquired pneumonia” ใหเพิ่มรหัสสาเหตุภายนอก Y95
Nosocomial Condition
ERYTHEMA MULTIFORME
รหัสในกลุม L51.- Erythema multiforme มีหลักการเลือกใชดังนี้
Minor erythema multiforme ผูปวยมักเปนผื่นชนิด target lesion จํานวนไมมากบริเวณ
แขนขา ใชรหัส L51.0 Nonbullous erythema multiforme
Major erythema multiforme (Stevens-Johnson Syndrome หรือ SJS) ผูปวยเปนผื่นจํานวน
มากทั่วทั้งตัว มักพบผื่นเปนตุมน้ําขนาดใหญ (bullous lesions) หรือผิวหนังตายลอกหลุด
(necrotic keratinocyte) จํานวนผิวหนังตายลอกหลุดนอยกวารอยละ 10 ของพื้นที่รางกาย ผื่น
ที่เยื่อเมือกเปนรุนแรงและหลายตําแหนง มีอาการทั่วไปรุนแรงและมีไขรวมดวย ใชรหัส
L51.1 Bullous erythema multiforme
Toxic epidermal necrolysis (TEN) ผูปวยมีอาการรุนแรงกวา major erythema multiforme
จํานวนผิวหนังตายลอกหลุดมากกวารอยละ 30 ของพื้นที่รางกาย ใชรหัส L51.2 Toxic
epidermal necrolysis
Overlapping SJS and TEN ผูปวยมีจํานวนผิวหนังตายลอกหลุดรอยละ 10 ถึง 30 ของพื้นที่
รางกาย ใชรหัส L51.8 Other erythema multiforme
26
SKIN INFECTIONS
การติดเชื้อที่ผิวหนังแบงออกไดหลายลักษณะดังนี้
Cellulitis หมายถึง ผิวหนังอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย จําแนกเปนรหัสยอยตามตําแหนง เชน
L03.0 Cellulitis of finger and toe มีการอักเสบของผิวหนังบริเวณนิ้วมือ และ/หรือ นิ้วเทา
L03.1 Cellulitis of other parts of limb มีการอักเสบของผิวหนังบริเวณอื่นของแขนขา
นอกเหนือจากนิ้วมือและนิ้วเทา รวมทั้งรักแร, ไหล และสะโพก
Erysipelas (ไฟลามทุง) เปนการติดเชื้อ Streptococcus pyogenes ที่ผิวหนังบริเวณแขนขา หรือหนา
มีลักษณะพิเศษตางจาก cellulites คือมีขอบเขตชัดเจน สีแดงเขม ลุกลามเร็ว และปวด ใหรหัส A46
Erysipelas
Abscess, furuncle และ carbuncle
Furuncle หมายถึง ฝที่เกิดบริเวณที่มีขนมากและอับชื้น เชน รักแร มีขนาดใหญกวา
folliculitis การติดเชื้อลุกลามจาก hair follicle และลงลึกกวา folliculitis เปนฝที่มีหนองตรงกลาง
Carbuncle หมายถึง ฝที่มีขนาดใหญ เกิดจากการติดเชื้อหลายรูขุมขนเขาดวยกัน และลาม
ลงไปลึกถึงชั้นใตผิวหนัง พบบอยบริเวณคอดานลาง อาจเรียกวา “ฝฝกบัว”
ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน furuncle, carbuncle หรือ abscess ของผิวหนัง ใหรหัสในกลุม L02.-
Cutaneous abscess, furuncle and carbuncle โดยมีรหัสหลักที่สี่แสดงตําแหนงที่เกิด เชน เกิดที่คอ
ใหรหัส L02.1 Cutaneous abscess, furuncle and carbuncle of neck
Staphylococcal scalded skin syndrome พบรวมกับการติดเชื้อ staphylococcus (phage group II)
ผูปวยมาดวยผื่นแดงและเจ็บบริเวณหนา, คอ, ลําตัว และขอพับ ตามดวยถุงน้ําขนาดใหญ แลวแตก
หรือลอก แพทยวินิจฉัยวา “Staphylococcal scalded skin syndrome (SSSS)” ใหรหัส L00
Impetigo เปนการติดเชื้อบริเวณผิวหนังจากเชื้อ β-hemolytic streptococcus หรือ Staphylococcus
aureus มีลักษณะเปนตุมหนองขนาดเล็ก (pustule) ที่แตกออกและมีลักษณะเปนสะเก็ด (crust) สี
เหลืองน้ําตาล ถาแพทยวินิจฉัยวา impetigo ใหใชรหัส L01.0 Impetigo [any organism] [any site]
ถาพบลักษณะของ impetigo ในผิวหนังที่เปนโรคอื่นอยูเดิม ใหรหัส L01.1 Impetiginization of
other dermatoses
27
RENAL FAILURE
Acute renal failure หรือ ภาวะไตวายแบบเฉียบพลัน หมายถึง ภาวะที่มีการทํางานของไตลดลง
อยางรวดเร็ว โดยพบวามีการเพิ่มขึ้นของ BUN มากกวา 10 มิลลิกรัม/เดซิลิตร, creatinine เพิ่มมากกวา 1
มิลลิกรัม/เดซิลิตร และสวนใหญพบรวมกับมีปสสาวะลดนอยลงต่ํากวา 30 มิลลิลิตรตอชั่วโมง หรือ 400
มิลลิลิตรตอวัน สาเหตุ สวนใหญเกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยงไต ไดแก ภาวะช็อก, ภาวะ hypovolaemia
ภาวะไตวายแบบเฉียบพลันใชรหัสในกลุม N17.- Acute renal failure ไดแก
N17.0 Acute renal failure with tubular necrosis หมายถึง ภาวะ acute renal failure ที่มี
การทํางาน ของไตลดลงติดตอกันเปนเวลาอยางนอย 1 สัปดาห และไมพบสาเหตุอื่น เชน
ภาวะอุดตันทางเดินปสสาวะ ผูปวยสวนใหญมีอาการทาง volume overload อาการ uraemia
และความผิดปกติของสมดุลเกลือแร เชน hyponatraemia, hyperkalaemia, metabolic acidosis
สวนใหญการทํางานของไตจะกลับดีขึ้นไดหลังจากนั้น 1 - 2 สัปดาห
N17.1 Acute renal failure with acute cortical necrosis เปนภาวะ acute renal failure ที่มี
อาการรุนแรง การทํางานของไตเสียไปเปนระยะเวลานานเกิน 2 สัปดาห หรือกลายเปนไตวาย
เรื้อรัง
N17.2 Acute renal failure with medullary necrosis (papillary necrosis) เปนภาวะ acute
renal failure ที่มีการตรวจปสสาวะพบเม็ดเลือดแดง อาจพบเนื้อเยื่อออกมาในปสสาวะ และ
พบลักษณะเฉพาะจากการทํา IVP (intravenous pyelogram) หรือ retrograde pyelogram
Chronic kidney disease (CKD) หมายถึง โรคไตที่มีปจจัยเสี่ยงตอการดําเนินโรคไปสูโรคไตระยะ
สุดทายนับตั้งแตระยะที่ 1 ที่มี glomerular filtration rate (GFR) ปกติหรือสูงขึ้น ที่มีปจจัยเสี่ยง ไดแก ความ
ดันโลหิตสูง, เบาหวาน, สูงอายุ, โรค autoimmune, หรือประวัติครอบครัวโรคไตที่ถายทอดทางพันธุกรรม
รวมกับหลักฐานวามีความผิดปกติของไต เชน microalbuminuria, proteinuria, ความผิดปกติของ sediment
โดยทั่วไปใหใชรหัสสาเหตุของโรคไตเพียงอยางเดียว แตถาแพทยระบุสาเหตุ เชน ระบุวาเปน chronic
kidney disease
ในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1 ใชรหัส E10.2† Diabetes mellitus type 1 with nephropathy
รวมกับ N08.3* Glomerular disorders in diabetes mellitus โดยไมตองใหรหัสของ
chronic kidney disorder
ใน systemic lupus erythematosus ที่มี urinary sediment และ proteinuria โดยมี serum
creatinine และ GFR ปกติ ใหรหัส M32.1 Systemic lupus erythematosus with organ or
system involvement ตามดวยรหัส N08.5 Glomerular disorders in systemic connective
tissue disorders โดยไมตองใหรหัสของ chronic kidney disorder
28
ถาแพทยไมสามารถระบุสาเหตุที่ชัดเจนได จึงใหรหัส N18.9 Chronic renal failure, unspecified
ใชรหัส N18.0 End stage renal disease ในกรณีที่มีคา creatinine clearance นอยกวา 15 มิลลิลิตร/
นาที หรือ serum creatinine มากกวาหรือเทากับ 5 มก./ดล. นานกวา 3 เดือน
กรณีที่แพทยวินิจฉัยวาเปน acute on top chronic renal failure ซึ่งการวินิจฉัยและการรักษาทํา
เหมือนในภาวะ acute renal failure หมายถึง กรณีที่มีการเพิ่มขึ้นของระดับ BUN และ creatinine มากกวา
เดิมซึ่งสูงอยูแลว โดย BUN เพิ่มอยางนอย 10 มิลลิกรัม/เดซิลิตร และ creatinine เพิ่มอยางนอย 1 มิลลิกรัม/
เดซิลิตร ถาพบสาเหตุและแกไขสาเหตุแลวมีการลดลงมาสูระดับปกติของคา BUN และ creatinine ใหใช
รหัส R39.2 Extrarenal uraemia แตถาพบสาเหตุและแกไขแลวไมกลับสูระดับเดิม หรือลดลงแตใชระยะ
เวลานาน ใหใช รหัสเฉพาะ เชน N14.- Drug- and heavy-metal-induced tubulo-interstitial and tubular
conditions หรือ N17.0 Acute renal failure with tubular necrosis เปนตน อยางไรก็ตามระดับ BUN
และ creatinine อาจสูงขึ้นตามการดําเนินโรคของ chronic renal failure ดังนั้นถาไมพบสาเหตุควรใชเพียง
รหัส N18.0 End stage renal disease เทานั้น
URINARY TRACT INFECTION
ผูปวยติดเชื้อในทางเดินปสสาวะชนิดเฉียบพลัน ที่มีไขหนาวสั่น ปวดและกดเจ็บบริเวณ
costovertebral angle แพทยวินิจฉัยวาเปน acute pyelonephritis ใหรหัส N10 Acute tubulo–interstitial
nephritis
ถาผูปวยมีอาการปสสาวะแสบขัด ปวดบริเวณ suprapubic แพทยวินิจฉัยวาเปน acute cystitis ให
รหัส N30.0 Acute cystitis
ควรหลีกเลี่ยงการใชรหัส N39.0 Urinary tract infection, site not specified เพราะแพทยควรแยก
ไดวาเปน N10 หรือ N30.0
FEBRILE CONVULSION
ตัวอยาง ผูปวยเด็กอายุ 1 ป รับไวในโรงพยาบาลดวยเรื่องไขและชัก วินิจฉัยวาเปน febrile
convulsions และ acute tonsillitis
การวินิจฉัยหลัก R56.0 Febrile convulsions
การวินิจฉัยรวม J03.9 Acute tonsillitis, unspecified
29
ตัวอยาง ผูปวยเด็กอายุ 1 ป รับไวในโรงพยาบาลดวยเรื่องไข เจ็บคอ รับประทานอาหารไมได
วินิจฉัยวาเปน acute tonsillitis ตอมาผูปวยชักขณะที่นอนโรงพยาบาล แพทยวินิจฉัย
วา febrile convulsions
การวินิจฉัยหลัก J03.9 Acute tonsillitis, unspecified
การวินิจฉัยรวม -
โรคแทรก R56.0 Febrile convulsions
OT101
POISONING
ผูปวยอาจไดรับพิษโดยความเขาใจผิด, โดยการใชผิดขนาดหรือผิดวิธี, โดยถูกทําราย, โดยเจตนาทํา
รายตนเองหรือฆาตัวตาย หรืออาจเปนผลขางเคียงของยาที่ใชในขนาดปกติ รหัสที่ใชไดแกรหัส T36 – T50
รหัสเหลานี้เปนรหัสชนิดของยาหรือสารชีวภาพที่ทําใหผูปวยไดรับพิษ
ถาเปนอุบัติเหตุ, การถูกทําราย หรือการฆาตัวตาย ใหใชรหัสในกลุมอักษร X แสดงสาเหตุ
ภายนอกของการไดรับพิษ
ถาเปนผลขางเคียงของยาที่ใชในขนาดปกติ หรือไดรับยาโดยไมตั้งใจ ใหใชรหัสในกลุม
อักษร Y แสดงสาเหตุภายนอกของการไดรับพิษ (เปดตารางยาในดรรชนี)
ตัวอยาง ผูปวยรับประทานยา paracetamol เพื่อฆาตัวตายที่บาน และเกิด hepatitis ระหวาง
รับการรักษาใน ร.พ.
การวินิจฉัยหลัก T39.1 Poisoning by 4-aminophenol derivatives
การวินิจฉัยรวม -
โรคแทรก K71.2 Toxic liver disease with acute hepatitis
สาเหตุภายนอก X60.1- Intentional self-poisoning by and exposure to nonopioid analgesics,
antipyretics and antirheumatics, at home
ตัวอยาง ผูปวยรับประทานยา paracetamol เพื่อฆาตัวตายที่บาน ไมไดมาหาแพทยทันที มารับ
การตรวจในวันที่ 2 หลังรับประทานยา แพทยตรวจพบวาตัวเหลืองและตาเหลือง
จาก hepatitis
การวินิจฉัยหลัก K71.2 Toxic liver disease with acute hepatitis
การวินิจฉัยรวม T39.1 Poisoning by 4-aminophenol derivatives
สาเหตุภายนอก X60.1- Intentional self-poisoning by and exposure to nonopioid analgesics,
antipyretics and antirheumatics, at home
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code

More Related Content

What's hot

คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ Thorsang Chayovan
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsUtai Sukviwatsirikul
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 

What's hot (20)

คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
คอตีบ+1
คอตีบ+1คอตีบ+1
คอตีบ+1
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
A003
A003A003
A003
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code

  • 1. 1 สารบัญ หนา PART I GENERAL GUIDELINES PRINCIPAL DIAGNOSIS (การวินิจฉัยหลัก) 4 COMORBIDITY (PRE-ADMISSION COMORBIDITY) (การวินิจฉัยรวม) 5 COMPLICATION (POST-ADMISSION COMORBIDITY) (โรคแทรก) 5 OTHER DIAGNOSES (การวินิจฉัยอื่นๆ) 6 EXTERNAL CAUSE (สาเหตุภายนอก) 6 OPERATION / OPERATING ROOM PROCEDURE (การผาตัด) 7 NON-OPERATION /NON-OPERATING ROOM PROCEDURE (หัตถการ) 7 PART II DRG ความหมายของกลุมวินิจฉัยโรครวม (DRGs) 9 Comorbidity Complication ที่งาย ๆ สําคัญไมควรพลาดสําหรับ DRG Version 4.0 14 PART III Diagnosis ที่พบขอผิดพลาดบอยๆ DIARRHOEA 18 FOOD POISONING 18 HYPERTENSION 19 CARDIAC ARREST 20 CONGESTIVE HEART FAILURE 20 CEREBROVASCULAR ACCIDENT [CVA] 21 ACUTE ISCHAEMIC HEART DISEASE 23 PNEUMONIA 24 ERYTHEMA MULTIFORME 25 SKIN INFECTIONS 26 RENAL FAILURE 27 URINARY TRACT INFECTION 28 FEBRILE CONVULSION 28 POISONING 29
  • 2. 2 สารบัญ หนา WOUND INFECTION (แผลติดเชื้อ) 30 OUTCOME OF DELIVERY 31 HIV / AIDS 32 DIABETES MELLITUS [DM] 33 DYSLIPIDAEMIA 37 FLUID OVERLOAD (VOLUME OVERLOAD) 38 ACIDOSIS 38 CONVULSION, SEIZURE AND EPILEPSY 38 HEADACHE 39 ACUTE PULMONARY OEDEMA 40 VIRAL HEPATITIS 41 TUBERCULOSIS 41 HAEMOPTYSIS 43 MASS / TUMOUR / CYST 44 BREAST CANCER 44 PANCYTOPENIA / BICYTOPENIA 45 ACQUIRED COAGULATION DEFECT 45 THROMBOCYTOPENIA 46 GASTRIC ULCER WITH GASTRITIS 47 ALCOHOLIC LIVER DISEASE 47 GASTROINTESTINAL HAEMORRHAGE 47 GASTRITIS AND DUODENITIS 48 TOXIC LIVER DISEASES 49 SEPTICAEMIA / SEPSIS 49 THALASSEMIA 50 ACUTE POST HEMORRHAGIC ANEMIA 51 ANEMIA IN NEOPLASTIC DISEASE 51 ANEMIA IN OTHER CHRONIC DISEASE 52 IRON DEFICIENCY ANEMIA 53
  • 3. 3 สารบัญ หนา NUTRITIONAL ANEMIA 53 HYPONATREMIA 53 HYPOKALEMIA 54 HYPERKALEMIA 54 HYPOALBUMINEMIA 54 MALNUTRITION 55 HEPATIC ENCEPHALOPATHY 57 CIRRHOSIS 57 ACUTE RESPIRATORY FAILURE 59 PART IV CAUSE OF DEATH สาเหตุการตายและการรับรองสาเหตุการตาย 60 PART V แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผูปวยนอก/ฉุกเฉิน สวนที่ 1 แนวทางการบันทึกเวชระเบียนผูปวยนอก/ฉุกเฉิน 85 สวนที่ 2 เกณฑการตรวจประเมินและการใหคะแนนคุณภาพการบันทึก เวชระเบียนผูปวยนอก/ฉุกเฉิน 94 สวนที่ 3 การใชแบบตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผูปวยนอก/ฉุกเฉิน 101 PART VI แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผูปวยใน สวนที่ 1 แนวทางการบันทึกเวชระเบียนผูปวยใน 103 สวนที่ 2 เกณฑการตรวจประเมินและการใหคะแนนคุณภาพการบันทึก เวชระเบียนผูปวยใน 115 สวนที่ 3 การใชแบบตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผูปวยใน 123 เอกสารอางอิง 126
  • 4. 4 PRINCIPAL DIAGNOSIS (การวินิจฉัยหลัก) การวินิจฉัยหลัก (principal diagnosis หรือ main condition) มีคําจํากัดความตามหนังสือ ICD-10 วา “The condition, diagnosed at the end of the episode of health care, primarily responsible for the patient’s needs for treatment or investigation. If there is more than one such condition, the one held most responsible for the greatest use of resources should be selected. If no diagnosis was made, the main symptom, abnormal finding or problem should be selected as the main condition.” A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความ ไดแก 1. การวินิจฉัยหลักมีไดเพียงการวินิจฉัยเดียวเทานั้น แพทยตองบันทึกคําวินิจฉัยหลักเพียงคําวินิจฉัย เดียว 2. การวินิจฉัยวาโรคใดเปนการวินิจฉัยหลักใหกระทําเมื่อสิ้นสุดการรักษาแลวเทานั้น เพื่อใหไดคํา วินิจฉัยโรคขั้นสุดทาย (final diagnosis) ซึ่งจะเปนคําวินิจฉัยโรคที่ละเอียดชัดเจนมากที่สุด ดังนั้น การ วินิจฉัยหลักอาจแตกตางไปจากการวินิจฉัยเมื่อแรกรับ (admitting หรือ provisional diagnosis) 3. ในกรณีของผูปวยใน โรคที่บันทึกเปนการวินิจฉัยหลักตองเปนโรคที่เกิดขึ้นในตัวผูปวยตั้งแต กอนรับเขาไวรักษาในโรงพยาบาล มิใชโรคแทรกที่เกิดขึ้นมาภายหลัง ถึงแมโรคแทรกที่เกิดมาภายหลังจะทํา ใหสูญเสียทรัพยากรหรือคาใชจายในการรักษามากกวา แพทยก็มิอาจเลือกโรคแทรกมาบันทึกเปนการ วินิจฉัยหลักได 4. ในผูปวยที่มีโรคหลายโรคปรากฏขึ้นพรอมกันตั้งแตกอนรับเขาไวรักษาในโรงพยาบาล ใหเลือก โรคที่ไดทําการรักษาเปนการวินิจฉัยหลัก หากรักษาหลายโรคพรอมกัน ใหเลือกโรคที่รุนแรงที่สุดเปนการ วินิจฉัยหลัก หากโรคที่รักษาพรอมกันหลายโรคมีความรุนแรงใกลเคียงกัน ใหเลือกโรคที่ใชทรัพยากรใน การรักษาสูงสุดเปนการวินิจฉัยหลัก 5. ในผูปวยบางรายที่แพทยวินิจฉัยโรคใหแนชัดไมไดจนสิ้นสุดการรักษาแลว (ผูปวยหายจากอาการ เจ็บปวยเองโดยไมทราบสาเหตุ หรือผูปวยเสียชีวิตโดยยังวินิจฉัยโรคไมได หรือสงตอผูปวยไปรักษายัง โรงพยาบาลอื่น) ใหแพทยบันทึกอาการ (symptom) หรือ อาการแสดง (sign) หรือกลุมอาการที่สําคัญที่สุด เปนการวินิจฉัยหลัก B. การใหรหัสการวินิจฉัยหลัก ใหใชคําวินิจฉัยที่แพทยบันทึกไวในชองการวินิจฉัยหลักเปนคําตั้งตนใน การคนหารหัสโรคจากดรรชนีคนหาของ ICD-10 แตหากพบวาแพทยบันทึกผิดหลักการดังกลาวขางตน เชน บันทึกการวินิจฉัยหลักไวเกินหนึ่งโรค หรือบันทึกโรคแทรกในชองการวินิจฉัยหลัก ฯลฯ ผูใหรหัสควร ปรึกษาแพทยผูบันทึกโดยตรง เพื่อทําการบันทึกใหมใหถูกตองกอนทําการใหรหัสตอไป C. ในบางกรณีอาจพบวามีรหัส ICD-10 สองรหัสสําหรับการวินิจฉัยหลักนั้น โดยเฉพาะในระบบรหัสคู (dual classification หรือ dagger-asterisk system) เชน ถาโรคที่เปนการวินิจฉัยหลักคือ cryptococcal meningitis จะพบวามีรหัสสองรหัสที่ใชสําหรับโรคนี้คือ B45.1† และ G02.1*
  • 5. 5 COMORBIDITY (PRE-ADMISSION COMORBIDITY) (การวินิจฉัยรวม) A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความของโรคที่เปนการวินิจฉัยรวม ไดแก 1. เปนโรคที่ปรากฏรวมกับการวินิจฉัยหลัก หมายความวา เกิดขึ้นกอน หรือ พรอมกับโรคที่เปน การวินิจฉัยหลัก คือ เปนโรคที่เกิดขึ้นในตัวผูปวยตั้งแตกอนรับเขาไวรักษาในโรงพยาบาล มิใชโรคแทรกที่ เกิดขึ้นมาภายหลัง 2. เปนโรคที่มีความรุนแรงมากพอที่ทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคแทรก เสี่ยงตอการ เสียชีวิต หรือพิการระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล ทําใหตองเพิ่มการตรวจพิเศษ เพิ่มยาหรือเวชภัณฑ ตองไดรับการดูแลเพิ่มเติมจากแพทยผูเชี่ยวชาญแผนกอื่นๆ และตองทําการรักษาเพิ่มเติม 3. แพทยสามารถบันทึกการวินิจฉัยรวมไดมากกวา 1 โรค โดยไมจํากัดจํานวนสูงสุดที่จะบันทึกได B. โรคที่มักเปนการวินิจฉัยรวม ไดแก โรคเรื้อรังตางๆ เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวาย เรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด หรือโรคประจําตัวผูปวย เชน systemic lupus erythematosus, old cerebrovascular accident ฯลฯ ในกรณีที่ผูปวยบาดเจ็บหลายตําแหนง มักมีบาดแผลตางๆ ที่มีความรุนแรง นอยกวาบาดแผลหลักเปนการวินิจฉัยรวมอยูเสมอ C. การใหรหัสโรคที่เปนการวินิจฉัยรวมทุกรหัส ตองมีการวินิจฉัยโรคอยางเปนลายลักษณอักษรของ แพทยผูดูแล หรือรวมกันรักษาเปนหลักฐานรับรองการบันทึกรหัสเสมอ ผูใหรหัสไมสามารถนําผลการ ตรวจเลือด การตรวจปสสาวะ หรือการตรวจพิเศษอื่นใด ที่มิใชคําวินิจฉัยโรคของแพทยมาตีความเปนการ วินิจฉัยรวมเองโดยพลการ หากมีขอสงสัยวาผูปวยจะมีโรคที่เปนการวินิจฉัยรวมอื่นใดที่แพทยลืมบันทึก ผูใหรหัสควรสงเวชระเบียนใหแพทยพิจารณาทบทวนวินิจฉัยโรคเพิ่มเติมกอนใหรหัส COMPLICATION (POST-ADMISSION COMORBIDITY) (โรคแทรก) โรคแทรก (complication หรือ post-admission comorbidity) คือ โรคที่ไมปรากฏรวมกับโรคที่เปนการ วินิจฉัยหลักตั้งแตแรก แตเกิดขึ้นหลังจากผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลแลว และเปนโรคที่มีความ รุนแรงมากพอที่จะทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอชีวิตสูงมากขึ้น หรือใชทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหวาง การรักษาตัวในโรงพยาบาลครั้งนี้ A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความของโรคแทรก ไดแก 1. เปนโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง ไมเกิดขึ้นกอน หรือ ไมเกิดพรอมกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก คือ เปนโรคที่เกิดขึ้นหลังจากผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลแลว 2. เปนโรคที่มีความรุนแรงมากพอที่ทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคแทรก เสี่ยงตอการ เสียชีวิต หรือพิการระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล หรือทําใหตองเพิ่มการตรวจพิเศษ เพิ่มยาหรือ เวชภัณฑ ตองไดรับการดูแลเพิ่มเติมจากแพทยผูเชี่ยวชาญแผนกอื่นๆ และตองทําการรักษาเพิ่มเติม
  • 6. 6 3. โรคแทรกอาจเปนโรคตางระบบกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก และอาจไมเกี่ยวเนื่องกับการ วินิจฉัยหลัก 4. แพทยสามารถบันทึกโรคแทรกไดมากกวา 1 โรค โดยไมจํากัดจํานวนโรคสูงสุด B. ตัวอยางโรคที่มักเปนโรคแทรก ไดแก โรคที่มักเกิดขึ้นอยางเฉียบพลันในโรงพยาบาล ทําใหผูปวย เดือดรอนมากขึ้น เชน โรคติดเชื้อตางๆ หลอดเลือดอุดตันเฉียบพลัน กลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันการแพยา ผื่นลมพิษ รวมถึงผลขางเคียงที่เกิดจากการรักษาหรือผาตัดดวย OTHER DIAGNOSES (การวินิจฉัยอื่นๆ) การวินิจฉัยอื่นๆ (other diagnosis) คือ โรคหรือภาวะของผูปวยที่ไมเขาขายคําจํากัดความของการวินิจฉัยหลัก การวินิจฉัยรวม หรือโรคแทรก กลาวคือเปนโรคที่ความรุนแรงของโรคไมมากพอที่จะทําใหผูปวยมีความ เสี่ยงตอชีวิตสูงมากขึ้น หรือเปนโรคที่ไมตองใชทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหวางการรักษาตัวใน โรงพยาบาลครั้งนี้ อาจเปนโรคที่พบรวมกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก หรือพบหลังจากเขารักษาตัวใน โรงพยาบาลแลวก็ได A. องคประกอบที่สําคัญตามคําจํากัดความของการวินิจฉัยอื่นๆ ไดแก 1. เปนโรคเล็กนอย หรือเปนโรคที่มีความรุนแรงไมมากพอที่จะทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอการเกิด โรคแทรก เสี่ยงตอการเสียชีวิต หรือพิการระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล ไมทําใหตองเพิ่มการตรวจ พิเศษ ไมตองเพิ่มยาหรือเวชภัณฑ ไมตองทําการรักษาเพิ่มเติม 2. เปนโรคที่พบรวมกับโรคที่เปนการวินิจฉัยหลัก หรือพบหลังจากเขารักษาตัวในโรงพยาบาลแลวก็ ได 3. อาจเปนโรคระบบเดียวกับการวินิจฉัยหลัก หรืออาจไมเกี่ยวเนื่องกับการวินิจฉัยหลักก็ได 4. แพทยสามารถบันทึกการวินิจฉัยอื่นๆ ไดมากกวา 1 อยาง โดยไมจํากัดจํานวนสูงสุด EXTERNAL CAUSE (สาเหตุภายนอก) สาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บและการไดรับพิษ (external cause of injury and poisoning) หรือ อาจเรียกวา กลไกการบาดเจ็บ หรือกลไกการไดรับพิษ คือขอมูลที่ไดจากการซักประวัติผูปวย เพื่อใหทราบวาบาดเจ็บมา อยางไร เปนอุบัติเหตุ ถูกทําราย ฆาตัวตาย ฯลฯ เพื่อใหไดขอมูลมาใชปองกันการบาดเจ็บ ที่อาจเปนสาเหตุ ใหสูญเสียประชาชนไทยกอนวัยอันควร แพทยตองระบุกลไกการบาดเจ็บของผูปวยบาดเจ็บทุกราย A. องคประกอบที่สําคัญของกลไกการบาดเจ็บ ไดแก 1. บอกลักษณะกลไกการบาดเจ็บไดอยางละเอียด เชน บรรยายวานั่งซอนทายรถจักรยานยนตจะไป ทํางาน แลวรถจักรยานยนตสะดุดกอนหินลื่นลมเอง หรือบรรยายวาถูกฟนดวยมีดอีโตขณะไปเที่ยวงานวัด 2. ระบุไดชัดเจนวาเปนอุบัติเหตุ หรือถูกทําราย หรือเปนการฆาตัวตาย หรือทํารายตนเอง
  • 7. 7 B. ผูใหรหัสมีหนาที่สําคัญยิ่งในการบันทึกรหัสผูปวยบาดเจ็บ ถาหากแพทยไมระบุกลไกการบาดเจ็บ หรือ ระบุกลไกไมชัดเจน ผูใหรหัสตองสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากเวชระเบียน เพื่อใหรหัสสาเหตุภายนอกได ครบถวนและถูกตองตรงตามมาตรฐานการใหรหัสผูปวยบาดเจ็บ โดยเฉพาะอยางยิ่งรหัสกิจกรรม, รหัส สถานที่เกิดเหตุ และรหัสตําแหนงผูปวยในยานพาหนะแตละแบบ OPERATION / OPERATING ROOM PROCEDURE (การผาตัด) การผาตัด คือ การใชเครื่องมือกระทําตออวัยวะตางๆ โดยอาศัยทักษะที่ไดรับการฝกฝนจากการศึกษาวิชาชีพ แพทยหรือทันตแพทย มีวัตถุประสงคหลักในการบําบัดรักษาโรค หรือแกไขความพิการบกพรองใน โครงสรางทางกายภาพของผูปวย และโดยทั่วไปดําเนินการในหองผาตัดของโรงพยาบาลในการบันทึกขอมูล เพื่อใหรหัสผาตัดที่ถูกตอง แพทยตองบันทึกสรุปการผาตัดทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในผูปวยแตละรายลงใน แบบฟอรมสรุป ในชอง operating room procedure โดยเรียงลําดับครั้งที่ทําผาตัด A. องคประกอบที่สําคัญของการบันทึกการผาตัด ไดแก 1. การผาตัดแตละครั้งอาจมีหลายรายการ 2. การผาตัดเกิดขึ้นโดยผูปวยมักไดรับการวางยาสลบหรือการระงับความรูสึก โดยวิสัญญีแพทย หรือวิสัญญีพยาบาล และแพทยที่ทําผาตัดมักเปนศัลยแพทย, สูตินรีแพทย, ศัลยแพทยออรโธปดิกส, จักษุ แพทย หรือโสตศอนาสิกแพทย 3. ในกรณีที่มีการผาตัดแบบเดียวกันซ้ําๆ หลายครั้งในผูปวยคนเดิม เชน ผูปวยที่มีแผลถูกความรอน อาจตองไดรับการผาตัดเนื้อตายออกมากกวา 10 ครั้ง ใหบันทึกการผาตัดลักษณะนี้เพียงครั้งเดียวและระบุ จํานวนครั้งที่ทําผาตัดในวงเล็บทายคําบรรยายการผาตัด เชน Debridement of burn necrosis (15 ครั้ง) พรอม ระบุชวงเวลาที่เกิดการผาตัดลักษณะนั้น NON-OPERATION /NON-OPERATING ROOM PROCEDURE (หัตถการ) หัตถการ คือ การใชเครื่องมือกระทําตออวัยวะตางๆ โดยอาศัยทักษะที่ไดรับการฝกฝนจากการศึกษาวิชาชีพ แพทย ทันตแพทย หรือพยาบาล มีวัตถุประสงคหลักในการบําบัดรักษาโรค หรือแกไขความพิการ บกพรองในโครงสรางทางกายภาพของผูปวย และโดยทั่วไปดําเนินการนอกหองผาตัดของโรงพยาบาล ใน การบันทึกขอมูลเพื่อใหรหัสหัตถการที่ถูกตอง แพทยตองบันทึกสรุปหัตถการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในผูปวยแต ละรายลงในแบบฟอรมสรุป ในชอง non-operating room procedure โดยเรียงลําดับครั้งที่ทําหัตถการ A. องคประกอบที่สําคัญของการบันทึกหัตถการ ไดแก 1. หัตถการแตละครั้งอาจมีหลายรายการ 2. หัตถการเกิดขึ้นโดยผูปวยมักไดรับการระงับความรูสึกเจ็บโดยผูที่ทําหัตถการเอง หรือในบางครั้ง อาจไมจําเปนตองใหยาระงับความรูสึกเจ็บ
  • 9. 9 ความหมายของกลุมวินิจฉัยโรครวม (DRGs) DRGs เปนระบบแบงกลุมผูปวยอยางหนึ่ง (Patient Classification System) ที่อาศัยขอมูลไมมากนัก มาจัดกลุมผูปวยเพื่อบอกวา ผูปวยในกลุมเดียวกันจะใชเวลานอนในโรงพยาบาลใกลเคียงกันและสิ้นเปลือง คารักษาใกลเคียงกัน (resource use) DRGs ทํางานโดยอาศัยการจัดกลุมรหัส ICD-10 และ ICD-9-CM ที่มีมากกวา 10,000 รายการใหอยู ในกลุมที่สามารถจัดการไดเหลือ 500+ กลุม ขอมูลที่ใชในการหา DRG 1. รหัสการวินิจฉัยโรคหลัก (Principle Diagnosis, PDx) คือ รหัส ICD-10 สําหรับโรคหลักที่ผูปวยไดรับการดูแลรักษาในการเขารักษาในโรงพยาบาลครั้ง นั้น PDx จะตองมีเสมอและมีได 1 รหัสเทานั้น ปกติแลวแพทยผูดูแลรักษาคือผูสรุปวาโรคหรือภาวะที่ให การตรวจรักษาเปนหลักในการอยูรพ.ครั้งนั้น คือโรคหรือภาวะใด แมวาบางครั้งอาจก้ํากึ่งซึ่งทําใหตัดสินใจ ไดยาก แตมีความจําเปนที่จะตองสรุปใหไดกอนที่จะนํามาหา DRG รหัส ICD-10 ที่ใชเปน PDx ใชตาม ICD-10 ของ WHO (2007) และที่เพิ่มจาก ICD-10-TM (2007) ยกเวนรหัสในกรณีตอไปนี้ ซึ่งถือวาใชไมได (invalid) ไดแก รหัสที่เปนหัวขอ เมื่อหัวขอนั้นมีการแบงเปนขอยอยในรหัส WHO เชน A00 (Cholera) ใช ไมได เพราะมีการแบงเปนขอยอย A00.1,A00.2 และ A00.3 (กรณีที่รหัส WHO ไมมีการ แบงเปนขอยอย แมจะมีการแบงขอยอยใน ICD-10-TM รหัสที่เปนหัวขอยังใชได เชน A91,B86 เปนตน) รหัส External causes (ขึ้นตนดวย V, W, X, Y) นอกจากนี้ในรหัส WHO มีการเพิ่มเติมในบางสวนของรหัสที่ขึ้นตนดวย F (แบงละเอียดขึ้น), M (เพิ่ม site code) และS, T (แสดง closed และ open สําหรับ fracture และ บาดแผลของ body cavity 0) ใน สวนที่เพิ่มนี้ รหัสที่เปนหัวขอยังใชได เชน T08 (Fracture of spine, level unspecified) ยังใชไดแมจะมีรหัส T08.0 (สําหรับ closed) และT08.1 (open) เนื่องจากการแบงเปน T08.0 และ T08.1 ไมไดเปนการบังคับ 2. รหัสการวินิจฉัยโรคอื่น (Secondary Diagnosis, SDx) คือ รหัส ICD-10 สําหรับโรคอื่นนอกเหนือจากโรคหลัก SDx อาจเปนโรครวม (comorbidities) หรือ ภาวะแทรกซอน (complications) ก็ได แตตองมีการดําเนินการรักษาในครั้งนั้น โรคในอดีตที่หายแลว หรือ โรคที่ไมมีการดําเนินการตรวจหาจะนํามาเปน SDx ไมได SDx อาจไมมีเลย หรือมีหลายรหัสก็ได
  • 10. 10 3. รหัสการผาตัดและหัตถการ (Procedure, Proc) คือ รหัส ICD-9-CM (ฉบับป 2007) สําหรับการผาตัด และการทําหัตถการตางๆ ซึ่งในที่นี้จะเรียก รวมกันวาหัตถการ ใน Thai DRG version 4.0 มี Proc 2 ประเภท คือ 3.1 OR Procedure (Operating Room Procedure, OR-Proc) หมายถึง หัตถการที่มีการกําหนดไววา เปนหัตถการที่ตองใชหองผาตัด (ซึ่งทําใหตองใชทรัพยากรมาก) 3.2 Non-OR Procedure (Non-operating room procedure) หมายถึง หัตถการที่มีการกําหนดไววาเปน ประเภทไมตองใชหองผาตัด (แมวาในการทําจริงๆ อาจทําในหองผาตัดก็ตาม) Procedure อาจไมมีหรือมี หลายรหัสได ICD-9-CM Procedure with Extension code คือ การเพิ่มรหัส 2 ตําแหนงตอทายรหัส ICD-9-CM เดิมเพื่อบอกจํานวนตําแหนงและจํานวนครั้งของการผาตัด เนื่องจากรหัสหัตถการโดยลําพังไมสามารถแสดง ความแตกตางของการรักษาผูปวยในกรณีที่มีการผาตัดหลายตําแหนงหรือหลายครั้ง จําเปนตองมีการเพิ่ม ขอมูลบางสวนเพื่อใหสามารถจัดกลุมวินิจฉัยโรครวมที่แยกความแตกตางได 4. วันเกิด (Date of birth, DOB) 5. อายุ ประกอบดวยตัวเลข 2 ตัว ไดแก Age คือ อายุเปนป มีคาไดตั้งแต 0 ถึง 124 Age Day คือเศษที่เหลือของป นับเปนวัน มีคาตั้งแต 0 ถึง 364 หรือ 365 วัน กรณีที่ Age มีคาเปน 0 จําเปนตองมี Age Day ถา Age มากกวา 0 จะไมมี Age Day ก็ได สูตรในการคํานวณอายุคือ วันที่รับไวในโรงพยาบาล – วันเกิด (DateAdm – DOB) กรณีที่ขอมูล วันเกิดและวันที่รับไวในโรงพยาบาลไมครบ ใหใชอายุที่ใสโดยตรง ถามีทั้งที่ไดจากการคํานวณและที่ใส โดยตรง ใหใชที่ไดจากการคํานวณ 6. น้ําหนักตัวแรกรับ (Admission weight, AdmWt) คือน้ําหนักตัวเปนกิโลกรัมในขณะที่รับไวรักษาในโรงพยาบาล สําหรับทารกที่คลอดในโรงพยาบาล จะเปนBirth weight ขอมูลน้ําหนักตัวแรกรับมีความจําเปนสําหรับผูปวยที่เปนทารกแรกเกิด (อายุ 0-27 วัน) AdmWt ที่มีคานอยกวา 0.3 กก. ถือวาไมมีหรือใชไมได (invalid) 7. เพศ (Sex) มีคาเปน 1 หรือ 2 โดย 1 แทน เพศชาย, 2 แทน เพศหญิง
  • 11. 11 8. ประเภทการจําหนายออกจากโรงพยาบาล (Discharge Type, Discht) คาที่ใชไดและความหมาย มีดังนี้ 1 = With approval 2 = Against advise 3 = Escape 4 = Transfer 5 = Other 8 = Dead autopsy 9 = Dead no autopsy 9. วันที่รับไวในโรงพยาบาล (Admission date, DateAdm) 10. วันที่จําหนายออกจากโรงพยาบาล (Discharge date, DateDsc) 11. ระยะเวลาที่นอนรักษาในโรงพยาบาล (Length of stay, CALLOS) คํานวณจากสูตร CALLOS = DateDsc – DateAdm กรณีที่รับไวและจําหนายเปนวันเดียวกัน CALLOS = 0 CALLOS ที่ใชใน diagram และ DC / DRG definition คือ CALLOS 12. วันที่ลากลับบาน (Leave day) คือ จํานวนวันที่ลากลับบานทุกครั้งรวมกัน
  • 12. 12 คํายอและความหมาย AX Auxilliary cluster หมายถึงกลุมรหัสพิเศษที่ใชชวยในการกําหนด DC สําหรับ DC ที่มี เงื่อนไขซับซอนสวนใหญจะใช AX เปนตัวประกอบ และ PDC เปนตัวหลักในการกําหนด DC ACTLOS Actual Length of Stay หมายถึง จํานวนวันนอนในโรงพยาบาล คํานวณจาก ACTLOS= DateDsc – DateAdm – LeaveDay = CALLOS – LeaveDay CALLOS หมายถึงจํานวนวันนอนในรพ. ที่คํานวณจากสูตร CALLOS = DateDsc – DateAdm CC Complication and comorbidity หมายถึง การมีภาวะแทรกซอน หรือโรคอื่นที่เปนรวมดวย ทํา ใหมีความยุงยากในการรักษามากขึ้น มีการใชทรัพยากรในการรักษามากขึ้น CCL Complication and comorbidity level หมายถึง น้ําหนักความรุนแรง CC แตละรหัส DC Disease Cluster หมายถึง กลุมโรคที่ถูกแบงยอยไปจากกลุมวินิจฉัยโรคใหญ (MDC) กอนที่ จะแบงเปนDRG ตางๆ ตามระดับ CC DRG Diagnosis Related Group หรือกลุมวินิจฉัยโรครวม คือ การจัดกลุมผูปวยที่มีลักษณะทาง คลินิกและการใชทรัพยากรในการรักษาพยาบาลใกลเคียงกันไวในกลุมเดียวกัน Dx PDx or SDx คํารวมสําหรับรหัสการวินิจฉัยซึ่งรวมความถึงโรคหลักและโรคอื่น ICD-9-CM International Classification of Disease, 9th edition, Clinical Modification) คือ บัญชีจําแนก โรคระหวางประเทศ ฉบับที่ 9 ปรับปรุงเพิ่มเติมใหสอดคลองกับกับการดูแลผูปวยทางคลินิก การปรับปรุงเพิ่มเติมอยูในความรับผิดชอบของ HCFA ICD-10 International Classification of Disease, 10th edition คือ บัญชีจําแนกโรคระหวางประเทศ ฉบับที่ 10การปรับปรุงเพิ่มเติมอยูในความรับผิดชอบขององคการอนามัยโลก ICD-10-TM ICD-10 Thai Modification คือ ICD-10 ที่มีการเพิ่มเติมเพื่อใหเหมาะสมกับการใชของ ประเทศไทย MDC Major Diagnostic Category คือ กลุมวินิจฉัยโรคใหญ ซึ่งแบงตามระบบตางๆ ของรางกาย เชน ระบบประสาท (MDC 1), ระบบทางเดินอาหาร (MDC 6) เปนตน Non-OR procedure หมายถึง รหัสหัตถการ ที่ไมจัดวาทําในหองผาตัด (Non-operating room) OR procedure หมายถึง รหัสหัตถการที่จัดวาทําในหองผาตัด (Operating room) OT Outlier trim point คือ คามาตรฐานจุดตัดวันนอนนานเกินเกณฑ โดยคูมือฉบับนี้ใชคา เปอรเซ็นตไท ที่ 97 ของผูปวยในแตละกลุมเปนจุดตัดวันนอนนานเกินเกณฑ PCCL Patient Clinical Complexity Level หมายถึง ดัชนีที่ใชบอกระดับของ CC ในผูปวยแตละราย PDC Procedure or Diagnosis Cluster คือ กลุมของรหัสการวินิจฉัยหรือหัตถการที่มีความสัมพันธ ใกลชิดกัน
  • 13. 13 PDx Principle Diagnosis หมายถึง การวินิจฉัยโรคหลักที่ผูปวยไดรับการดูแลรักษา ในการนอน รักษาในโรงพยาบาลครั้งนั้น PDx จะตองเปนโรคหรือภาวะที่มีอยู ขณะที่รับไวรักษาตัวใน โรงพยาบาล Proc Procedure หมายถึง การทําหัตถการรวมทั้งการผาตัดดวย RW Relative Weight หรือ คาน้ําหนักสัมพัทธ เปนตัวเลขเปรียบเทียบการใชตนทุนเฉลี่ยในการ ดูแลรักษาผูปวยของ DRG นั้น วาเปนกี่เทาของตนทุนเฉลี่ยของผูปวยทุกกลุม DRG SDx Secondary Diagnosis หมายถึง การวินิจฉัยโรคอื่น ที่นอกเหนือจากการวินิจฉัยโรคหลัก SDx อาจเปนโรคอื่น หรือภาวะแทรกซอนก็ได แตตองเปนปญหาที่ใหการรักษาพยาบาลใน ครั้งนั้น WTLOS หมายถึง คามาตรฐานวันนอนเฉลี่ย โดยในคูมือฉบับนี้คํานวณจากคาเฉลี่ยเลขคณิตของวัน นอนในแตละ DRG ที่ไดตัดผูปวยนอนนานเกินเกณฑออก อางอิงจาก : คูมือการจัดกลุมวินิจฉัยโรครวมและน้ําหนักสัมพัทธ ฉบับที่ 4.0 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
  • 14. 14 Comorbidity Complication ที่งาย ๆ สําคัญไมควรพลาดสําหรับ DRG Version 4.0 A07.1 Giardiasis [lambliasis] A08.0 Rota viral enteritis A09 Diarrhea and gastroenteritis of presumed infectious origin A16.9 Respiratory tuberculosis unspecified B18.1 Chronic viral hepatitis B without delta-agent B18.2 Chronic viral hepatitis C B78.0 Intestinal strongyloidiasis B79 Trichuriasis D50.0 Iron deficiency anemia secondary to blood loss (chronic) D50.8 Other iron deficiency anemias D50.9 Iron deficiency anemia, unspecified D56.3 Thalassemia trait D62 Acute post hemorrhagic anemia D63.0* Anemia in neoplastic disease ( C00-D48† ) D63.8* Anemia in other chronic diseases classified elsewhere D69.3 Idiopathic thrombocytopenic purpura D69.9 Hemorrhagic condition, unspecified D70 Agranulocytosis & Neutropenia E11.1 Non-insulin-dependent diabetes mellitus With ketoacidosis E11.4 Non-insulin-dependent diabetes mellitus With neurological complications E44.0 Moderate protein-energy malnutrition E44.1 Mild protein-energy malnutrition E87.0 Hyperosmolality and hypernatremia E87.1 Hypo-osmolality and hyponatremia E87.2 Acidosis E87.3 Alkalosis E87.4 Mixed disorder of acid-base balance E87.5 Hyperkalemia E87.6 Hypokalemia
  • 15. 15 E87.7 Fluid overload E87.8 Other disorders of electrolyte and fluid balance F10.0 Mental and behavioural disorders due to use of alcohol (Acute intoxication) F10.1 Mental and behavioural disorders due to use of alcohol (Harmful use) F17.2 Mental and behavioural disorders due to use of tobacco (Dependence syndrome) F18.0 Mental and behavioural disorders due to use of volatile solvents (Acute intoxication) F18.1 Mental and behavioural disorders due to use of volatile solvents (Harmful use) F18.2 Mental and behavioural disorders due to use of volatile solvents (Dependence syndrome) J18.9 Pneumonia, unspecified K25.0 Gastric ulcer Acute with hemorrhage K25.4 Gastric ulcer Chronic or unspecified with hemorrhage K26.0 Duodenal ulcer Acute with hemorrhage K26.4 Duodenal ulcer Chronic or unspecified with hemorrhage K27.0 Peptic ulcer Acute with hemorrhage K27.4 Peptic ulcer Chronic or unspecified with hemorrhage K29.0 Acute hemorrhagic gastritis K73.2 Chronic active hepatitis K73.8 Other chronic hepatitis K80.2 Calculus of gallbladder without cholecystitis K92.0 Hematemesis K92.1 Melaena K92.2 Gastrointestinal hemorrhage L01.0 Impetigo [any organism] [any site] L01.1 Impetiginization of other dermatoses L03.1 Cellulitis of other parts of limb L03.2 Cellulitis of face L03.3 Cellulitis of trunk L03.8 Cellulitis of other sites L97 Ulcer of lower limb L98.4 Chronic ulcer of skin N20.1 Calculus of ureter
  • 16. 16 N30.0 Acute cystitis N30.4 Irradiation cystitis N30.9 Cystitis, unspecified N39.3 Stress incontinence N63 Unspecified lump in breast (Mass breast) O47.9 False labour, unspecified O86.0 Infection of obstetric surgical wound O86.1 Other infection of genital tract following delivery O86.3 Other genitourinary tract infections following delivery O86.8 Other specified puerperal infections P74.1 Dehydration of newborn P92.0 Vomiting in newborn P92.2 Slow feeding of newborn P92.3 Underfeeding of newborn P92.4 Overfeeding of newborn P92.5 Neonatal difficulty in feeding at breast P92.8 Other feeding problems of newborn P92.9 Feeding problem of newborn, unspecified R04.2 Hemoptysis R04.8 Hemorrhage from other sites in respiratory passages R04.9 Hemorrhage from respiratory passages, unspecified R09.2 Respiratory arrest R18 Ascites R29.0 Tetany R31 hematuria R32 Unspecified urinary incontinence R33 Retention of urine R40.2 Coma, unspecified R56.0 Febrile convulsions R56.8 Other and unspecified convulsions R57.0 Cardiogenic shock
  • 17. 17 R57.1 Hypovolemic shock R57.8 Other shock R57.9 Shock, unspecified R58 Hemorrhage R63.3 Feeding difficulties and mismanagement S06.00 cerebral Concussion without open intracranial wound S06.10 Traumatic cerebral oedema without open intracranial wound T79.3 Post-traumatic wound infection T81.3 Disruption of operation wound T81.4 Infection following a procedure Z43.0 Attention to tracheostomy Z93.0 Tracheostomy status
  • 18. 18 DIARRHOEA สําหรับประเทศในเขตรอน เชน ประเทศไทย ถาแพทยวินิจฉัยวา acute diarrhoea หรือ diarrhoea แตเพียงลําพัง ใหตีความวาเปน infectious diarrhoea และใชรหัส A09 Diarrhoea and gastroenteritis ofpresumed infectious origin ถาแพทยบันทึกละเอียดขึ้นวาเปน bacterial diarrhoea เนื่องจากมีการตรวจ อุจจาระพบเม็ดเลือดขาว แตไมไดเพาะเชื้อ หรือยังไมไดผลการเพาะเชื้อ ใหใชรหัส A04.9 Bacterialintestinal infection, unspecified ถาหากตรวจพบเชื้อตนเหตุที่ทําใหเกิดทองรวง ใหแพทยระบุชื่อเชื้อตนเหตุในคําวินิจฉัย เพื่อผูให รหัสจะไดใชรหัสของโรคติดเชื้อนั้นแทน เชน ตรวจอุจจาระพบลักษณะ shooting star แพทยควรระบุวาเปนอหิวาตกโรค เพื่อใหรหัส A00.9 Cholera, unspecified ถาเพาะเชื้อขึ้น แพทยบันทึกรับรองผลการเพาะเชื้อนั้น สามารถใหรหัสตามเชื้อที่พบ เชน A00.0 Cholera due to Vibrio cholerae 01, biovar cholerae A00.1 Cholera due to Vibrio cholerae 01, biovar eltor กรณีที่มี diarrhoea ในผูปวยที่ไดรับยาปฏิชีวนะเปนเวลานาน มีภาวะติดเชื้อ Clostridium difficile ทํา ใหเกิดpseudomembranous enterocolitis หรือ antibiotic associated colitis ซึ่งแพทยไดบันทึกไวใน เวชระเบียน ใหใชรหัส A04.7 Enterocolitis due to Clostridium difficile ผูปวย diarrhoea หรือ food poisoning ที่มีอาการแสดงของภาวะ dehydration เชน มีประวัติการ สูญเสียน้ํา, ปากแหง, poor หรือ fair skin turgor, ชีพจรเร็วกวา 90 ครั้ง, jugular venous pressure ต่ํา หรือ postural hypotension หนามืด,delayed capillary filling time หรือไมรูสึกปวดปสสาวะมาเลยใน 6 ชั่วโมงที่ ผานมา สามารถใหรหัส E86 Volume depletion เปนการวินิจฉัยรวม FOOD POISONING ในกรณีที่แพทยสรุปวาอาหารเปนพิษ (food poisoning) เนื่องจากผูปวยรับประทานอาหารที่มี toxin จากเชื้อแบคทีเรีย เปนผลใหมีอาการอาเจียน หรืออาเจียนรวมกับทองเดิน แตมีอาการอาเจียนเดนกวา แพทย สามารถวินิจฉัยสาเหตุของอาหารเปนพิษจากประวัติชนิดหรือแหลงของอาหารที่ทําใหเกิดอาการได เนื่องจากไมมีการตรวจ toxin หรือเพาะเชื้อในเวชปฏิบัติทั่วไป ยกเวนสามารถเพาะเชื้อจากอุจจาระในกรณีที่ เกิดจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ถาผูปวยมีประวัติรับประทานอาหารที่ทิ้งไวคางคืน แพทยสามารถวินิจฉัยเปน foodborne staphylococcal intoxication ใหรหัส A05.0
  • 19. 19 ถาผูปวยมีประวัติรับประทานอาหารทะเลสุกๆดิบๆ แพทยสามารถวินิจฉัยเปน foodborne Vibrio parahaemolyticus intoxication ใหรหัส A05.3 ถาผูปวยมีประวัติรับประทานอาหารประเภทขาวผัด แพทยสามารถวินิจฉัยเปน foodborne Bacillus cereus intoxication ใหรหัส A05.4 ถาประวัติการรับประทานอาหารไมชัดเจน แตแพทยสรุปวาเกิดจาก bacterial foodborne intoxication ใหรหัส A05.9 Bacterial foodborne intoxication, unspecified แตถา food poisoning หมายถึง ผลของการรับประทานอาหารที่เปนพิษ เชน อาหารทะเลบาง ประเภท รวมทั้งเห็ดและพืชบางประเภท ใหเลือกใชรหัสในกลุม T61.- Toxic effect of noxious substances eaten as seafood หรือ T62.- Toxic effect of other noxious substances eaten as food และเลือกใหรหัส สาเหตุภายนอกในกลุม X49.- Accidental poisoning by and exposure to other and unspecified chemicalsand noxious substances ถาไมมีขอมูลวาเปนจากไดรับ bacterial toxin ในอาหาร หรือเปนจากการรับประทานอาหารที่เปน พิษ และไมสามารถปรึกษาแพทยได ใหใชรหัส T62.9 Noxious substance eaten as food, unspecified ตัวอยาง ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน food poisoning จากปลาปกเปาทะเล รหัสการวินิจฉัยหลักจะ เปลี่ยนเปน T61.2 Other fish and shellfish poisoning และถาแพทยวินิจฉัยวาเปน food poisoning จากปลา ปกเปาไมทราบชนิด รหัสการวินิจฉัยหลักจะเปลี่ยนเปน T62.9 Noxious substance eaten as food, Unspecified HYPERTENSION โรคความดันโลหิตสูงที่ไมทราบสาเหตุรวมทั้งภาวะ malignant hypertension ใชรหัส I10 Essential (primary) hypertension โรคความดันโลหิตสูงทําใหเกิดโรคหัวใจได ถามีประวัติความดันโลหิตสูงมานาน ควบคุมความดัน โลหิตไมไดหรือรักษาไมสม่ําเสมอ และไดวินิจฉัยแยกภาวะโรคหัวใจอื่นไปแลว แตผลตรวจ echocardiogram ยืนยันวาเปน diastolic heart failure แพทยวินิจฉัยวาเปน “hypertensive heart disease” ใช รหัสในกลุม I11.- เมื่อมีอาการทางคลินิกที่แพทยระบุวามี heart failure ใหใชรหัส I11.0 Hypertensive heart disease with (congestive) heart failure เมื่อมีอาการทางคลินิกที่แพทยไมระบุวามี heart failure ใหใชรหัส I11.9 Hypertensive heart disease without (congestive) heart failure
  • 20. 20 โรคความดันโลหิตสูงอาจไมเกี่ยวกับโรคหัวใจแมจะเกิดพรอมกันในผูปวยคนเดียวกัน เชน เปน โรคหัวใจ ischaemic cardiomyopathy รวมกับมีความดันโลหิตสูง ในกรณีนี้ใหทั้งรหัสของโรคหัวใจคือ I25.5 Ischaemic cardiomyopathy รวมกับรหัสโรคความดันโลหิตสูงคือ I10 Essential (primary) hypertension โรคความดันโลหิตสูงทําใหเกิดโรคไตได ถาผูปวยมีประวัติความดันโลหิตสูงมานาน ควบคุมความ ดันโลหิตไมไดหรือรักษาไมสม่ําเสมอ และมีระดับ creatinine สูงขึ้นตามลําดับ แพทยวินิจฉัยไดวาเปนโรค ไตที่เกิดจากความดันโลหิตสูง ใชรหัสในกลุม I12.- Hypertensive renal disease ในกรณีที่แพทยวินิจฉัยวาโรคความดันโลหิตสูงเกิดจากโรคไต เชน โรคไตเรื้อรัง โรคไตจาก lupus nephritis ใชรหัส I15.1 Hypertension secondary to other renal disorders CARDIAC ARREST ถาผูปวยมี cardiac arrest ที่แพทยระบุสาเหตุแนนอน เชน heart block, arrhythmia, myocardial infarction ใหใชรหัสของสาเหตุที่ทราบ เชน I44 - I45, I21 - I22, I47 - I49 ถาแพทยไมระบุสาเหตุแนนอน และทํา resuscitation สําเร็จ ใชรหัส I46.0 Cardiac arrest with successful resuscitation ถาทํา resuscitation ไมสําเร็จ ใชรหัส I46.9 Cardiac arrest, unspecified อยางไร ก็ตามไมใหรหัส I46.9 ในกรณีที่ผูปวยมีโรคที่เปนสาเหตุทําใหเสียชีวิตอยูแลว เชน โรคมะเร็ง โรคเอดส การติดเชื้อในกระแสเลือด เปนตน ในกรณีที่แพทยไมไดวินิจฉัยในขณะเกิดเหตุการณแนนอน แตคาดวาเกิด cardiac arrest ใหใชรหัส I46.1 Sudden cardiac death, so described CONGESTIVE HEART FAILURE กรณีที่ผูปวยเปนโรคหัวใจที่ทราบการวินิจฉัยมากอน เชน mitral stenosis, tetralogy of fallot เปนตน มาดวย congestive heart failure ใหใชรหัส I50.0 Congestive heart failure เปนรหัสการวินิจฉัย หลัก และใชรหัสของโรคหัวใจที่ทราบวาเปนมากอนเปนรหัสการวินิจฉัยรวม แตถาผูปวยมาดวย congestive heart failure และไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคหัวใจเปนครั้งแรก ก็ใหใชรหัสโรคหัวใจนั้นเปนรหัสการ วินิจฉัยหลัก และใชรหัส I50.0 Congestive heart failure เปนรหัสการวินิจฉัยรวม ถาแพทยระบุวาเปน left ventricular failure ใหรหัส I50.1 Left ventricular failure ถาระบุวาเปน biventricular failure ใชรหัส I50.0 Congestive heart failure และถาไมระบุวาเปนจากหัวใจชองใด ใชรหัส I50.9 Heart failure, unspecified
  • 21. 21 CEREBROVASCULAR ACCIDENT [CVA] Cerebrovascular accident (stroke) เปนกลุมอาการทางคลินิกที่เกิดจากความผิดปกติของการ ไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือมีเลือดออกในโพรงกะโหลกศีรษะ อาการมักเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และทําใหเกิดความผิดปกติทางระบบประสาท เชน อาการออนแรงครึ่งซีก, ชาครึ่งซีก, aphasia เปนตน CVA หรือ stroke เปนคําที่มีความหมายไมจําเพาะเจาะจง ผูใชรหัสควรหลีกเลี่ยงการใชรหัส I64 Stroke, not specified as hemorrhage or infarction โดยพยายามสืบหาคําวินิจฉัยที่จําเพาะกวา เพื่อใช รหัสที่จําเพาะกวา เชน I60.- Subarachnoid haemorrhage I61.- Intracerebral haemorrhage I62.- Other nontraumatic intracranial haemorrhage I63.- Cerebral infarction ภาวะ intracerebral hemorrhage และ cerebral infarction แยกจากกันโดยการตรวจภาพรังสี, CT scan หรือ MRI สมอง ถาแพทยวินิจฉัยวามีเลือดออกในสมองใชรหัสกลุม I61.- Intracerebral hemorrhage ถาพบลักษณะเขาไดกับ infarction หรือปกติใชรหัสกลุม I63.- Cerebral infarction Cerebral infarction แบงออกเปน cerebral thrombosis (รหัส I63.0 Cerebral infarction due tothrombosis of precerebral arteries และ I63.3 Cerebral infarction due to thrombosis of cerebral arteries) กับ cerebral embolism (รหัส I63.1 Cerebral infarction due to embolism of precerebral arteries และ I63.4 Cerebral infarction due to embolism of cerebral arteries) วินิจฉัยแยกจากกันโดยใน กรณี cerebral embolism จะพบหลักฐานการเกิด embolism เชน มีโรคหัวใจเตนผิดจังหวะ ไดแก atrial fibrillation หรือโรคหัวใจที่เกิด intracardiac thrombus ได เชน ภาวะ myocardial infarction, valvular heart disease, ผูที่ไดรับการผาตัดลิ้นหัวใจ, cardiomyopathy สวนในกรณี cerebral thrombosis มักพบปจจัยเสี่ยง ของ atherosclerosis เชน ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง, เบาหวาน เปนตน อาการของ cerebral embolism มักเกิดขึ้นทันทีทันใดขณะกําลังทํากิจกรรม สวนอาการของ thrombosis อาจใชเวลาเปนชั่วโมงหรือเปนวัน อาจเกิดขณะหลับ หรืออาจมีอาการ TIA นํามากอน นอกจากนั้น cerebral infarction อาจเกิดจาก cerebral venous thrombosis ใชรหัส I63.6 Cerebral infarction due to cerebral venous thrombosis, nonpyogenic Precerebral arteries ประกอบดวย vertebral, basilar และ carotid arteries Cerebral arteries ประกอบดวย middle, anterior และ posterior cerebral arteries, cerebellar arteries
  • 22. 22 ถาแพทยบันทึกรายละเอียดวาเกิดจากหลอดเลือดใด ใหใชรหัสในกลุม G46* Vascular syndromes of brain in cerebrovascular diseases เปนรหัสการวินิจฉัยรวม โดยมีรหัส I60 – I67 เปนรหัสการวินิจฉัย หลัก (รหัส กลุม G46.- เปนรหัสดอกจัน ไมสามารถใชเปนการวินิจฉัยหลักได) เชน G46.0* Middle cerebral artery syndrome (I66.0†) ผูปวยมีอาการ hemiparesis, hemisensory loss ดานตรงขาม, ถาเปนขางซายมี aphasia รวมดวย แขนออนแรงมากกวาขา G46.1* Anterior cerebral artery syndrome (I66.1†) ขามักจะออนแรงมากโดยที่แขนปกติ หรือออนแรงเฉพาะตนแขน G46.2* Posterior cerebral artery syndrome (I66.2†) ผูปวยมี homonymous hemianopia with macular sparing ดานตรงขาม G46.4* Cerebellar stroke syndrome (I60-I67†) ผูปวยมี cerebellar ataxia Lacunar syndrome เกิดจากโรคของหลอดเลือดขนาดเล็ก มักจะมีอาการไมรุนแรง และอาจมี อาการจําเพาะ เชน Pure motor hemiparesis ใชรหัส G46.5* Pure motor lacunar syndrome (I60-I67†) Pure sensory ใชรหัส G46.6* Pure sensory lacunar syndrome (I60-I67†) Ataxic hemiparesis ใชรหัส G46.7* Other lacunar syndromes (I60-I67†) Brain stem stroke syndrome เกิดจากความผิดปกติของ precerebral arteries (vertebral, basilar artery) มีอาการ cranial nerve palsies, dysconjugate eye, nystagmus, ซึมลง, alternating hemiplegia (มีแขน ขาออนแรงดานหนึ่ง แตกลามเนื้อบริเวณหนาออนแรงอีกดานหนึ่ง) และ alternating hemisensory loss ถา แพทยวินิจฉัยวาเปนกลุมอาการนี้ ใชรหัส G46.3* Brain stem stroke syndrome (I60-I67†) รหัส I65.- Occlusion and stenosis of precerebral arteries, not resulting in cerebral infarction และ I66.- Occlusion and stenosis of cerebral arteries, not resulting in cerebral infarction ใชในกรณีที่ ยังไมมี cerebral infarction เทานั้น กรณีที่แพทยวินิจฉัยเปน cavernous sinus thrombosis โดยที่ไมมี cerebral infarction ใหใชรหัส I67.6 Nonpyogenic thrombosis of intracranial venous system สําหรับโรคของหลอดเลือด cerebrovascular ที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ ใชรหัสสําหรับ cerebrovascular disease อื่นเปนรหัสการวินิจฉัยรวม เชน I67.7 Cerebral arteritis, not elsewhere classified I68.2* Cerebral arteritis in other diseases classified elsewhere โดยใชรหัสสาเหตุ เชน M32.1 Systemic lupus erythematosus with organ or system involvement เปน รหัสการวินิจฉัยหลัก
  • 23. 23 คําวา “old CVA” หมายถึง ผูปวยเคยเปน CVA มากอนอยางนอย 1 ป ถาในปจจุบันไมมี neurological deficits แลว รหัสที่เหมาะสมคือ Z86.7 Personal history of diseases of the circulatory system แตถาในปจจุบันยังมี neurological deficits อยู เชน hemiparesis, aphasia ใหใชรหัสในกลุม I69.- Sequelae of cerebrovascular disease เปนรหัสการวินิจฉัยรวม โดยใหรหัสของ neurological deficits ที่ หลงเหลืออยูเปนการวินิจฉัยหลัก รหัสในกลุม I69.- Sequelae of cerebrovascular disease ใชสําหรับบงบอกวาโรคใดในกลุม I60- I67 เปนสาเหตุของ sequelae ใชเฉพาะเมื่อการรักษาสิ้นสุดสมบูรณแลว แตยังมีความผิดปกติเหลืออยู ไมควร ใหรหัสในกลุม I69 แตเพียงลําพัง ACUTE ISCHAEMIC HEART DISEASE ผูปวยที่มาดวยอาการแนนหนาอกขณะพักหรืออาการแนนหนาอกไมหายไป มีการเปลี่ยนแปลงของ คลื่นหัวใจโดยมี ST depression, T-wave inversion, อาจมีหรือไมมี troponin สูงขึ้น แพทยวินิจฉัยวา “unstable angina” ใหรหัส I20.0 Unstable angina ผูปวยที่รับไวในโรงพยาบาลดวยอาการแนนหนาอกขณะพักเปนเวลานาน Troponin สูง CPK สูง ตรวจคลื่นหัวใจพบ ST-elevation และ Q wave แพทยวินิจฉัยวาเปน “acute myocardial infarction” รหัสที่ ใชไดแก I21.0 Acute transmural myocardial infarction of anterior wall หรือ I21.1 Acute transmural myocardial infarction of inferior wall หรือ I21.2 Acute transmural myocardial infarction of other sites ทั้งนี้ ระยะเวลาที่เกิดอาการตองไมเกิน 4 สัปดาห ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน acute myocardial infarction แตคลื่นหัวใจไมมีการเปลี่ยนแปลงชัดเจน เรียกวา acute subendocardial (non ST-elevated) myocardial infarction ใหรหัส I21.4 Acute subendocardial myocardial infarction ในกรณีที่ผูปวยมีอาการแนนหนาอกแบบ angina ตรวจคลื่นหัวใจผิดปกติ หรือ troponin สูง แตทํา coronary angiogram ไดผลปกติ และพบ coronary spasm ขณะทํา coronary angiogram หรือในกรณีผูปวยมี อาการเจ็บหนาอก และพบการเปลี่ยนแปลงของ EKG แบบ ST elevation และกลับเปนปกติในเวลาสั้นๆ ได เอง หรือหลังจากบริหารยา nitroglycerine/nitrate หรือพน/ อมยาใตลิ้น แพทยวินิจฉัยวา angina pectoris with documented spasm ใชรหัส I20.1 Angina pectoris with documented spasm
  • 24. 24 ในกรณีที่มี chest pain สงสัย acute myocardial infarction รับไวสังเกตอาการ แตหลังจากติดตาม แลวไมพบหลักฐานวาเปน acute myocardial infarction ใหใชรหัส Z03.4 Observation for suspected myocardial infarction แตถามี chest pain ที่ไม typical และทํา coronary angiogram ไดผลปกติ ใหใชรหัส Z03.5 Observation for other suspected cardiovascular diseases ผูปวยที่เปน acute myocardial infarction ในการรับไวครั้งกอน แตตองรับใหมเพราะเกิด recurrent หรือโรคแทรกซอน ในระยะเวลาไมเกิน 4 สัปดาหหลังจากที่เปน acute myocardial infarction ใหใชรหัสใน กลุม I22.-Subsequent myocardial infarction Acute coronary syndrome หมายถึง ภาวะ unstable angina ชนิด high risk ไดแก angina ที่พบ รวมกับภาวะcongestive heart failure, ตรวจพบ troponin สูง, รวมทั้งภาวะ acute myocardial infarction จึง ควรใหรหัสใหชัดเจนวาเปน unstable angina หรือ acute myocardial infarction หลังจากเกิด acute myocardial infarction อาจมีโรคแทรกซอนเกิดขึ้นได เชน rupture of chordae tendineae, haemopericardium ในกรณีนี้ใหใชรหัสในกลุม I21.- Acute myocardial infarction เปนรหัส การวินิจฉัยหลัก และรหัสในกลุม I23.- Certain current complications following acute myocardial infarction เปนรหัสโรคแทรก PNEUMONIA ในการใหรหัสสําหรับโรคปอดบวม (pneumonia) ถาแพทยระบุชนิดของ organism ที่เปนตนเหตุ ไมวาจะทราบจากผลการเพาะเชื้อเสมหะ หรือ hemoculture หรือการตรวจทาง serology ใหเลือกใชรหัสใน กลุม J13 – J17 ในกรณีที่ตรวจพบเชื้อแบคทีเรียจากการยอมกรัมในเสมหะที่พอเพียงคือมีเม็ดเลือดขาว (polymorphonuclear cells) และพบแบคทีเรียในเซลล แพทยวินิจฉัยไดวาเปน bacterial pneumonia ใหใช รหัส J15.9 Bacterial pneumonia, unspecified อยางไรก็ตามการวินิจฉัยอาจอาศัยอาการทางคลินิก เชน อาการของไขหวัดใหญ (influenza) รวมกับ มีอาการของ pneumonia เชน รหัส J11.0 Influenza with pneumonia, virus not identified ถาหากแพทยไมระบุชนิดของ organism แตระบุชนิดของโรคปอดบวมตามผลภาพรังสีทรวงอกเชน lobar pneumonia, bronchopneumonia หรือไมไดระบุ ใหใชรหัสในกลุม J18.- Pneumonia, organism unspecified ซึ่งประกอบดวย J18.0 Bronchopneumonia, unspecified J18.1 Lobar pneumonia, unspecified
  • 25. 25 J18.8 Other pneumonia, organism unspecified J18.9 Pneumonia, unspecified ในกรณีที่แพทยระบุวาเปน aspiration pneumonia ใหใชรหัส J69.- ขึ้นกับวามีประวัติสําลักสิ่งใด ไดแก J69.0 Pneumonia due to food and vomit เกิดจากการสําลักอาหารหรือสารที่อาเจียนหรือ สํารอกออกมา J69.1 Pneumonia due to oil and essence เกิดจากสําลักน้ํามันชนิดตางๆ J69.8 Pneumonia due to other solids and liquids เชน เกิดจากการสําลักเลือด เปนตน ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน community acquired pneumonia หรือ hospital acquired pneumonia ใหใช หลักการเดียวกับขางตน และในกรณี “hospital acquired pneumonia” ใหเพิ่มรหัสสาเหตุภายนอก Y95 Nosocomial Condition ERYTHEMA MULTIFORME รหัสในกลุม L51.- Erythema multiforme มีหลักการเลือกใชดังนี้ Minor erythema multiforme ผูปวยมักเปนผื่นชนิด target lesion จํานวนไมมากบริเวณ แขนขา ใชรหัส L51.0 Nonbullous erythema multiforme Major erythema multiforme (Stevens-Johnson Syndrome หรือ SJS) ผูปวยเปนผื่นจํานวน มากทั่วทั้งตัว มักพบผื่นเปนตุมน้ําขนาดใหญ (bullous lesions) หรือผิวหนังตายลอกหลุด (necrotic keratinocyte) จํานวนผิวหนังตายลอกหลุดนอยกวารอยละ 10 ของพื้นที่รางกาย ผื่น ที่เยื่อเมือกเปนรุนแรงและหลายตําแหนง มีอาการทั่วไปรุนแรงและมีไขรวมดวย ใชรหัส L51.1 Bullous erythema multiforme Toxic epidermal necrolysis (TEN) ผูปวยมีอาการรุนแรงกวา major erythema multiforme จํานวนผิวหนังตายลอกหลุดมากกวารอยละ 30 ของพื้นที่รางกาย ใชรหัส L51.2 Toxic epidermal necrolysis Overlapping SJS and TEN ผูปวยมีจํานวนผิวหนังตายลอกหลุดรอยละ 10 ถึง 30 ของพื้นที่ รางกาย ใชรหัส L51.8 Other erythema multiforme
  • 26. 26 SKIN INFECTIONS การติดเชื้อที่ผิวหนังแบงออกไดหลายลักษณะดังนี้ Cellulitis หมายถึง ผิวหนังอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย จําแนกเปนรหัสยอยตามตําแหนง เชน L03.0 Cellulitis of finger and toe มีการอักเสบของผิวหนังบริเวณนิ้วมือ และ/หรือ นิ้วเทา L03.1 Cellulitis of other parts of limb มีการอักเสบของผิวหนังบริเวณอื่นของแขนขา นอกเหนือจากนิ้วมือและนิ้วเทา รวมทั้งรักแร, ไหล และสะโพก Erysipelas (ไฟลามทุง) เปนการติดเชื้อ Streptococcus pyogenes ที่ผิวหนังบริเวณแขนขา หรือหนา มีลักษณะพิเศษตางจาก cellulites คือมีขอบเขตชัดเจน สีแดงเขม ลุกลามเร็ว และปวด ใหรหัส A46 Erysipelas Abscess, furuncle และ carbuncle Furuncle หมายถึง ฝที่เกิดบริเวณที่มีขนมากและอับชื้น เชน รักแร มีขนาดใหญกวา folliculitis การติดเชื้อลุกลามจาก hair follicle และลงลึกกวา folliculitis เปนฝที่มีหนองตรงกลาง Carbuncle หมายถึง ฝที่มีขนาดใหญ เกิดจากการติดเชื้อหลายรูขุมขนเขาดวยกัน และลาม ลงไปลึกถึงชั้นใตผิวหนัง พบบอยบริเวณคอดานลาง อาจเรียกวา “ฝฝกบัว” ถาแพทยวินิจฉัยวาเปน furuncle, carbuncle หรือ abscess ของผิวหนัง ใหรหัสในกลุม L02.- Cutaneous abscess, furuncle and carbuncle โดยมีรหัสหลักที่สี่แสดงตําแหนงที่เกิด เชน เกิดที่คอ ใหรหัส L02.1 Cutaneous abscess, furuncle and carbuncle of neck Staphylococcal scalded skin syndrome พบรวมกับการติดเชื้อ staphylococcus (phage group II) ผูปวยมาดวยผื่นแดงและเจ็บบริเวณหนา, คอ, ลําตัว และขอพับ ตามดวยถุงน้ําขนาดใหญ แลวแตก หรือลอก แพทยวินิจฉัยวา “Staphylococcal scalded skin syndrome (SSSS)” ใหรหัส L00 Impetigo เปนการติดเชื้อบริเวณผิวหนังจากเชื้อ β-hemolytic streptococcus หรือ Staphylococcus aureus มีลักษณะเปนตุมหนองขนาดเล็ก (pustule) ที่แตกออกและมีลักษณะเปนสะเก็ด (crust) สี เหลืองน้ําตาล ถาแพทยวินิจฉัยวา impetigo ใหใชรหัส L01.0 Impetigo [any organism] [any site] ถาพบลักษณะของ impetigo ในผิวหนังที่เปนโรคอื่นอยูเดิม ใหรหัส L01.1 Impetiginization of other dermatoses
  • 27. 27 RENAL FAILURE Acute renal failure หรือ ภาวะไตวายแบบเฉียบพลัน หมายถึง ภาวะที่มีการทํางานของไตลดลง อยางรวดเร็ว โดยพบวามีการเพิ่มขึ้นของ BUN มากกวา 10 มิลลิกรัม/เดซิลิตร, creatinine เพิ่มมากกวา 1 มิลลิกรัม/เดซิลิตร และสวนใหญพบรวมกับมีปสสาวะลดนอยลงต่ํากวา 30 มิลลิลิตรตอชั่วโมง หรือ 400 มิลลิลิตรตอวัน สาเหตุ สวนใหญเกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยงไต ไดแก ภาวะช็อก, ภาวะ hypovolaemia ภาวะไตวายแบบเฉียบพลันใชรหัสในกลุม N17.- Acute renal failure ไดแก N17.0 Acute renal failure with tubular necrosis หมายถึง ภาวะ acute renal failure ที่มี การทํางาน ของไตลดลงติดตอกันเปนเวลาอยางนอย 1 สัปดาห และไมพบสาเหตุอื่น เชน ภาวะอุดตันทางเดินปสสาวะ ผูปวยสวนใหญมีอาการทาง volume overload อาการ uraemia และความผิดปกติของสมดุลเกลือแร เชน hyponatraemia, hyperkalaemia, metabolic acidosis สวนใหญการทํางานของไตจะกลับดีขึ้นไดหลังจากนั้น 1 - 2 สัปดาห N17.1 Acute renal failure with acute cortical necrosis เปนภาวะ acute renal failure ที่มี อาการรุนแรง การทํางานของไตเสียไปเปนระยะเวลานานเกิน 2 สัปดาห หรือกลายเปนไตวาย เรื้อรัง N17.2 Acute renal failure with medullary necrosis (papillary necrosis) เปนภาวะ acute renal failure ที่มีการตรวจปสสาวะพบเม็ดเลือดแดง อาจพบเนื้อเยื่อออกมาในปสสาวะ และ พบลักษณะเฉพาะจากการทํา IVP (intravenous pyelogram) หรือ retrograde pyelogram Chronic kidney disease (CKD) หมายถึง โรคไตที่มีปจจัยเสี่ยงตอการดําเนินโรคไปสูโรคไตระยะ สุดทายนับตั้งแตระยะที่ 1 ที่มี glomerular filtration rate (GFR) ปกติหรือสูงขึ้น ที่มีปจจัยเสี่ยง ไดแก ความ ดันโลหิตสูง, เบาหวาน, สูงอายุ, โรค autoimmune, หรือประวัติครอบครัวโรคไตที่ถายทอดทางพันธุกรรม รวมกับหลักฐานวามีความผิดปกติของไต เชน microalbuminuria, proteinuria, ความผิดปกติของ sediment โดยทั่วไปใหใชรหัสสาเหตุของโรคไตเพียงอยางเดียว แตถาแพทยระบุสาเหตุ เชน ระบุวาเปน chronic kidney disease ในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1 ใชรหัส E10.2† Diabetes mellitus type 1 with nephropathy รวมกับ N08.3* Glomerular disorders in diabetes mellitus โดยไมตองใหรหัสของ chronic kidney disorder ใน systemic lupus erythematosus ที่มี urinary sediment และ proteinuria โดยมี serum creatinine และ GFR ปกติ ใหรหัส M32.1 Systemic lupus erythematosus with organ or system involvement ตามดวยรหัส N08.5 Glomerular disorders in systemic connective tissue disorders โดยไมตองใหรหัสของ chronic kidney disorder
  • 28. 28 ถาแพทยไมสามารถระบุสาเหตุที่ชัดเจนได จึงใหรหัส N18.9 Chronic renal failure, unspecified ใชรหัส N18.0 End stage renal disease ในกรณีที่มีคา creatinine clearance นอยกวา 15 มิลลิลิตร/ นาที หรือ serum creatinine มากกวาหรือเทากับ 5 มก./ดล. นานกวา 3 เดือน กรณีที่แพทยวินิจฉัยวาเปน acute on top chronic renal failure ซึ่งการวินิจฉัยและการรักษาทํา เหมือนในภาวะ acute renal failure หมายถึง กรณีที่มีการเพิ่มขึ้นของระดับ BUN และ creatinine มากกวา เดิมซึ่งสูงอยูแลว โดย BUN เพิ่มอยางนอย 10 มิลลิกรัม/เดซิลิตร และ creatinine เพิ่มอยางนอย 1 มิลลิกรัม/ เดซิลิตร ถาพบสาเหตุและแกไขสาเหตุแลวมีการลดลงมาสูระดับปกติของคา BUN และ creatinine ใหใช รหัส R39.2 Extrarenal uraemia แตถาพบสาเหตุและแกไขแลวไมกลับสูระดับเดิม หรือลดลงแตใชระยะ เวลานาน ใหใช รหัสเฉพาะ เชน N14.- Drug- and heavy-metal-induced tubulo-interstitial and tubular conditions หรือ N17.0 Acute renal failure with tubular necrosis เปนตน อยางไรก็ตามระดับ BUN และ creatinine อาจสูงขึ้นตามการดําเนินโรคของ chronic renal failure ดังนั้นถาไมพบสาเหตุควรใชเพียง รหัส N18.0 End stage renal disease เทานั้น URINARY TRACT INFECTION ผูปวยติดเชื้อในทางเดินปสสาวะชนิดเฉียบพลัน ที่มีไขหนาวสั่น ปวดและกดเจ็บบริเวณ costovertebral angle แพทยวินิจฉัยวาเปน acute pyelonephritis ใหรหัส N10 Acute tubulo–interstitial nephritis ถาผูปวยมีอาการปสสาวะแสบขัด ปวดบริเวณ suprapubic แพทยวินิจฉัยวาเปน acute cystitis ให รหัส N30.0 Acute cystitis ควรหลีกเลี่ยงการใชรหัส N39.0 Urinary tract infection, site not specified เพราะแพทยควรแยก ไดวาเปน N10 หรือ N30.0 FEBRILE CONVULSION ตัวอยาง ผูปวยเด็กอายุ 1 ป รับไวในโรงพยาบาลดวยเรื่องไขและชัก วินิจฉัยวาเปน febrile convulsions และ acute tonsillitis การวินิจฉัยหลัก R56.0 Febrile convulsions การวินิจฉัยรวม J03.9 Acute tonsillitis, unspecified
  • 29. 29 ตัวอยาง ผูปวยเด็กอายุ 1 ป รับไวในโรงพยาบาลดวยเรื่องไข เจ็บคอ รับประทานอาหารไมได วินิจฉัยวาเปน acute tonsillitis ตอมาผูปวยชักขณะที่นอนโรงพยาบาล แพทยวินิจฉัย วา febrile convulsions การวินิจฉัยหลัก J03.9 Acute tonsillitis, unspecified การวินิจฉัยรวม - โรคแทรก R56.0 Febrile convulsions OT101 POISONING ผูปวยอาจไดรับพิษโดยความเขาใจผิด, โดยการใชผิดขนาดหรือผิดวิธี, โดยถูกทําราย, โดยเจตนาทํา รายตนเองหรือฆาตัวตาย หรืออาจเปนผลขางเคียงของยาที่ใชในขนาดปกติ รหัสที่ใชไดแกรหัส T36 – T50 รหัสเหลานี้เปนรหัสชนิดของยาหรือสารชีวภาพที่ทําใหผูปวยไดรับพิษ ถาเปนอุบัติเหตุ, การถูกทําราย หรือการฆาตัวตาย ใหใชรหัสในกลุมอักษร X แสดงสาเหตุ ภายนอกของการไดรับพิษ ถาเปนผลขางเคียงของยาที่ใชในขนาดปกติ หรือไดรับยาโดยไมตั้งใจ ใหใชรหัสในกลุม อักษร Y แสดงสาเหตุภายนอกของการไดรับพิษ (เปดตารางยาในดรรชนี) ตัวอยาง ผูปวยรับประทานยา paracetamol เพื่อฆาตัวตายที่บาน และเกิด hepatitis ระหวาง รับการรักษาใน ร.พ. การวินิจฉัยหลัก T39.1 Poisoning by 4-aminophenol derivatives การวินิจฉัยรวม - โรคแทรก K71.2 Toxic liver disease with acute hepatitis สาเหตุภายนอก X60.1- Intentional self-poisoning by and exposure to nonopioid analgesics, antipyretics and antirheumatics, at home ตัวอยาง ผูปวยรับประทานยา paracetamol เพื่อฆาตัวตายที่บาน ไมไดมาหาแพทยทันที มารับ การตรวจในวันที่ 2 หลังรับประทานยา แพทยตรวจพบวาตัวเหลืองและตาเหลือง จาก hepatitis การวินิจฉัยหลัก K71.2 Toxic liver disease with acute hepatitis การวินิจฉัยรวม T39.1 Poisoning by 4-aminophenol derivatives สาเหตุภายนอก X60.1- Intentional self-poisoning by and exposure to nonopioid analgesics, antipyretics and antirheumatics, at home