SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็นสารที่ใช้ประโยชน์ใน
- อุตสาหกรรมเคมี
- อุตสาหกรรมอาหาร
- การบริโภคในครัวเรือน
 1.การผลิตโซเดียมคลอไรด์
โซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือแกงมีสูตรเป็น NaCl ลักษณะเป็น
ผลึกสีขาวรสเค็มรูปผลึกเป็นทรงลูกบาศก์ จุดหลอมเหลว
801 0C ละลายน้าได้ดี โดยมากได้จากน้าทะเลและจากดิน
ประเทศที่ผลิตเกลือแกงมาก คือ ประเทศ
ออสเตรีย ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดียและสหรัฐอเมริกา
เกลือแกงแบ่งตามวิธีในการผลิตได้ 2 ประเภทคือ
1.เกลือสมุทร คือโซเดียมคลอไรด์หรือเกลือแกงที่
ผลิตได้จากน้าทะเล
2.เกลือสินเธาว์ คือ โซเดียมคลอไรด์หรือเกลือแกงที่ผลิต
ได้จากเกลือหิน ซึ่งพบใต้เปลือกโลกในชั้นหินทราย หรือใน
ผิวดินหรือน้าใต้ดิน
การผลิตเกลือสมุทร
เกลือสมุทรทากันมากในบริเวณใกล้ทะเล สาหรับประเทศ
ในภูมิภาคเอเชีย โดยมากจะทานาเกลือปีละ 2 ครั้งในประเทศ
ไทยมีอากาศแห้งแล้งติดต่อกันเป็นเวลาประมาณครึ่งปี ดังนั้น
การทานาเกลือจึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม
การทานาเกลือใช้วิธีการแยกโซเดียมคลอไรด์ออกจากน้า
ทะเล ดังนั้นจึงต้องใช้หลัก“การระเหยและการตกผลึก”โดยการให้
น้าทะเลระเหยไปจนเหลือน้าปริมาณน้อยที่สุด ซึ่งเมื่อถึงจุดอิ่มตัว
ของเกลือ จะทาให้เกลือเกิดการตกผลึกออกมา
กรรมวิธีในการผลิตเกลือสมุทร มีขั้นตอนต่าง ๆดังนี้
1. การเตรียมพื้นที่นา โดยทั่วไปใช้พื้นที่ประมาณ40ไร่
จากนั้นก็ปรับพื้นที่ให้เรียบแน่น แบ่งที่นาออกเป็นแปลง ๆ แปลง
ละ 1 ไร่ ยกขอบแปลงให้สูง แล้วทาร่องระบายน้าระหว่างแปลง
2.การทานาเกลือ
1.แบ่งพื้นที่ทำนำเป็น 3 ตอน ได้แก่ นำตำก นำเชื้อ และนำปลง ซึ่ง
ระดับพื้นที่จะลดหลั่นลงตำมลำดับเพื่อควำมสะดวกในกำรระบำยน้ำและ
ขังน้ำ
นำตำก
นำปลง
นำเชื้อ
2. ก่อนถึงฤดูกำรทำนำเกลือ ให้ระบำยน้ำเข้ำเก็บขังไว้เพื่อให้น้ำ
สะอำด ผงโคลนตม แร่ธำตุ จะได้ตกตะกอน พื้นที่ที่ขังน้ำไว้ตอนนี้
เรียกว่ำ นำวัง
3.จากนั้นระบายน้าเข้าสู่นาตาก ให้ระดับน้าสูงกว่าพื้นนาประมาณ
5cm เมื่อน้าระเหยไปจนวัดความถ่วงจาเพาะของน้าทะเล
ได้1.08 จึงถ่ายน้าเข้าสู่นาเชื้อ เพื่อให้แคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) ตก
ผลึกออกมาเป็นผลพลอยได้
ส่วนน้าทะเลที่เหลือปล่อยให้ระเหยไปจนมีความถ่วงจาเพาะ 1.2 แล้วจึง
ระบายน้าทะเลนั้นเข้าสู่นาปลง 2 วัน NaCl เริ่มตกตะกอนในขณะเดียวกัน
น้าทะเลที่เหลือจะมีความเข้มข้นของ Mg2+ Cl- และ SO4
2- ไอออนเพิ่มขึ้น
จึงต้องระบายน้าจากนาเชื้อเพิ่มอีกเพื่อป้องกันมิให้ MgCl2 และ MgSO4 ตก
ผลึกปนกับ NaCl ออกมาด้วยซึ่งจะทาให้เกลือที่ได้มีสิ่งเจือปน คุณภาพไม่ดี
โดยปกติจะปล่อยให้ NaCl ตกผลึกประมำณ 9 - 10 วัน จึงขูด
เกลือออกขณะที่มีน้ำทะเลขังอยู่ เกลือที่ได้นำไปตำกแดด
1-2 วัน แล้วจึงเก็บเข้ำฉำงผลพลอยได้จำกกำรทำนำเกลือ
คือ กุ้ง ปลำ และCaSO4
คุณภาพของเกลือโซเดียมคลอไรด์
คุณภำพของเกลือ NaCl นี้ขึ้นอยู่กับสิ่งเจือปนที่มีอยู่ในเกลือนั้น มี
เกลือแมกนีเซียมปนอยู่มำก เกลือจะชื้นง่ำยรำคำตก ถ้ำต้องกำรเกลือที่มี
คุณภำพดีควรเติมปูนขำวและน้ำ เพื่อทำให้น้ำทะเลมีสมบัติเป็น
เบส Mg2+ ไอออนจะตกตะกอนออกมำในรูปของ Mg(OH)2 ทิ้งไว้จนน้ำ
ทะเลใสแล้วจึงไขน้ำนี้เข้ำสู่นำปลง NaCl จะตกผลึกออกมำ ซึ่งผลึกของ
เกลือโซเดียมคลอไรด์นี้จะค่อนข้ำงบริสุทธิ์มีคุณภำพดี
กำรผลิตเกลือสินเธำว์
เกลือสินเธำว์ผลิตได้จำกแหล่งแร่ เกลือหิน(Rock Salt) พบอยู่ตำม
พื้นดินแถบภำคอีสำน เช่น จังหวัดชัยภูมิ มหำสำรคำม
ยโสธร อุบลรำชธำนีและอุดรธำนี
กำรผลิตเกลือสินเธำว์จำกเกลือหินโดยทั่วไปใช้กระบวนกำรทำง
วิทยำศำสตร์ คือ ใช้กำรละลำย กำรกรอง กำรระเหย และกำรตก
ผลึก หรือกำรละลำยและกำรตกผลึก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภำพของเกลือที่
เกิดขึ้นในแหล่งนั้น ๆ
วิธีการผลิตเกลือสินเธาว์
1. เกลือจากผิวดิน จะใช้วิธีขุดครำบเกลือตำมผิวดินมำละลำยน้ำ กรอง
เศษตะกอนออก แล้วนำน้ำเกลือไปเคี้ยวให้แห้ง จะได้ตะกอนเกลือตกผลึก
ออกมำ นิยมทำเกลือชนิดนี้ทำงภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัด
นครำชสีมำ ชัยภูมิ มหำสำรคำม อุดรธำนี สกลนคร และร้อยเอ็ด
2. เกลือจากน้าเกลือบาดาล เกลือที่ได้จากแหล่งนี้จะทากันมากที่
จังหวัดมหาสารคาม นครราชสีมา อุดรธานี อุบลราชธานี
ร้อยเอ็ด สกลนคร ชัยภูมิ และหนองคาย เกลือบาดาลมีอยู่ในระดับ
ตื้น 5 - 10เมตร หรือระดับลึก 30 เมตร
วิธีการผลิตเกลือ
ใช้วิธีกำรขุดหรือเจำะลงไปใต้ดินและสูบน้ำเกลือขึ้นมำ ต้มน้ำเกลือใน
กระทะเหล็กใบใหญ่ โดยใช้ฟืนหรือลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง จนน้ำเกลือ
แห้ง จะได้เกลือตกผลึกออกมำ นอกจำกจะต้มแล้ว อำจจะใช้วิธีกำร
ตำก ซึ่งทำเป็นลำนดินหรือลำนซีเมนต์ แล้วทำให้น้ำระเหยออกไป จะได้
เกลือตกผลึกออกมำ เรียกวิธีนี้ว่ำ กำรทำนำตำก
เกลือสินเธำว์เป็นเกลือที่เหมำะที่จะใช้ในกำรอุตสำหกรรม เพรำะมี
ควำมชื้นและแมกนีเซียม แคลเซียม ค่อนข้ำงต่ำ ส่วนเกลือสมุทรเหมำะที่
จะใช้ในกำรบริโภค เพรำะมีไอโอดีนสูงกล่ำวคือ เกลือสมุทร 10 กรัมมี
ไอโอดีนประมำณ 38.5 กรัม และเกลือสินเธำว์มีประมำณ
10 ไมโครกรัม
เกลือสินเธำว์เป็นเกลือที่ขำดไอโอดีน มีผลทำให้กำรทำงำนของ
ต่อมไทรอยด์บกพร่อง และเกิดเป็นโรคคอพอก แต่สำมำรถแก้ไข
ได้โดยกำรเติมไอโอดีนลงในเกลือสินเธำว์ ในรูป ไอโอไดด์ไอออน
(I-) หรือ(IO3
- ) เรียกว่ำเกลือไอโอเดตหรือเกลืออนำมัย
การผลิตเกลือกับปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดกำรแพร่ของดินเค็ม ซึ่งมีผลเสียต่อกำรทำเกษตรกรรม
คือ ภำวะดินเค็มจะทำให้พืชไม่เจริญเติบโต เพำะปลูกไม่ได้ผล และถ้ำ
เกลือแพร่กระจำยสู่แม่น้ำลำคลอง ก็จะส่งผลกระทบต่อสัตว์
น้ำ นอกจำกนั้นจำกสูบน้ำเกลือบำดำลขึ้นมำผลิตเกลือสินเธำว์ยังอำจเกิด
ปัญหำกำรยุบตัวของพื้นดิน
2.การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊สคลอรีน
โซเดียมไฮดรอกไซด์ ( หรือโซดาแผดเผาหรือ Cuastic soda) มีสูตร
เป็น NaOH เป็นสารประกอบไอออนิกในรูปผลึกของแข็งสีขาว ดูดน้าจาก
อากาศได้จุดหลอมเหลว 318.4 องศาเซลเซียส ละลายน้าได้ดี ให้สารละลาย
มีสมบัติเป็นเบสโซเดียมไฮดรอกไซด์
ใช้ในอุตสำหกรรมทำสบู่ ผลิตผงชูรส ถนอมอำหำร ส่วนในวงกำรแพทย์ใช้
น้ำเกลือสำหรับคนป่วย และฆ่ำเชื้อโรค ทำกระดำษ กำรย้อมสี และในกำร
กลั่นปิโตรเลียม นอกจำกนั้นยังใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นวัตถุดิบสำคัญ
ในอุตสำหกรรมอื่นได้ เช่น ผสมสำรเคมี ผงซักฟอก สิ่งทอ และในกำรทำ
แร่บอกไซด์ให้บริสุทธิ์สำหรับกำรผลิตโลหะอะลูมิเนียม
การแยกสารละลายโซเดียมคลอไรด์ด้วยกระแสไฟฟ้า
แคโทด ( ขั้วลบ) เกิดปฏิกิริยารีดักชัน โดยมีน้าถูกรีดิวซ์เป็นก๊าซ H 2
2H2O (l) + 2e - ----------> 2OH - (aq) + H2 (g)
แอโนด ( ขั้วบวก) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยมี Cl - ถูกออกซิไดส์เป็นCl 2
2Cl - (aq) -----------> Cl 2 (g) + 2e -
ปฏิกิริยาสุทธิ ; 2H2O (l) + 2Cl - (aq) --------> 2OH - (aq) + H2 (g)
+ Cl2 (g)
เขียนเป็นสมการโมเลกุลดังนี้
2H2O (l) + 2NaCl (aq) -----------> 2NaOH (aq) + H2 (g) + Cl 2 (g)
จากสมการของปฏิกิริยาผลิตภัณฑ์เกิดก๊าซ H 2 และก๊าซ Cl 2 ส่วน
สารละลายประกอบด้วย NaOH เกิดขึ้นปนกับ NaCl ที่เหลือ เมื่อนา
สารละลายนี้ไปแยก NaOH ออกด้วยการตกผลึก
สามารถนาไปใช้ประโยชน์อุตสาหกรรมดังนี้
ก๊าซไฮโดรเจน ใช้เตรียมกรดเกลือ แอมโมเนีย และปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน
น้ามันพืช
ก๊าซคลอรีน ใช้ฆ่าเชื้อโรคในกระบวนการทาน้าประปา ใช้เป็นสารตั้งต้นใน
อุตสาหกรรม เช่น พลาสติก PVC ยาฆ่าแมลง DDT ใช้เป็นตัวทาละลาย
เช่น คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (CCl 4) ก๊าซคลอรีนใช้เป็นสารตั้งต้นในการ
ผลิตสารเคมีหลายชนิด
การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยใช้เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน
เซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนจัดเป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ขั้ว Anode ทาด้วย
ไทเทเนียม ขั้ว Cathode ทาจากเหล็ก โดยมีเยื่อแลกเปลี่ยนไอออนที่ยอมให้
เฉพาะไอออนบวกผ่านได้กั้นเมื่อสารละลาย NaCl ที่บริสุทธิ์และอิ่มตัว เข้า
ทางด้าน Anode และผ่านกระแสไฟฟ้าลงไป
Anode 2 Cl- (aq) ----> Cl2 (g) + 2 e-
Cathode 2 H2O (l) + 2 e- ---> 2 O (aq) + H2 (g)
Na+ ที่เหลือจากด้าน Anode จะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน ไปยัง
ขั้ว Cathode รวมตัวกับ OH- เป็น NaOH
ข้อดี
1. ไม่เกิดผงฟอกขาว
2. เกลือเจือจางลง เพราะถูกดักไปแล้วส่วนหนึ่ง
3. ได้NaOH เข้มข้น
4. Cl- เจือปนน้อยลง เมื่อเทียบกับ การผลิตโดยใช้ไดอะแฟรม
และ cell ปรอท
การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ในอุตสาหกรรมก่อนหน้านี้ผลิตดังนี้
การผลิต NaOH โดยใช้ไดอะแฟรมมีลักษณะคล้าย cell เยื่อ
แลกเปลี่ยน ion แต่ต่างกันที่แผ่นกั้นระหว่าง Anode กับ Cathode ยอมให้
ทั้ง ionบวก และ ionลบ ผ่านได้ซึ่ง Cl- ที่เกิดปฏิกิริยาไม่หมดจะเคลื่อนที่มา
ทาง Cathode รวมกับ Na+ เป็น NaCl สารละลาย NaOH ที่ได้จึงมี NaCl ปน
ในปริมาณมาก
การผลิต NaOH โดยใช้cell ปรอท
Cathode Na+ (aq) + e- + n Hg(l) ----------> NaHgn(aq)
Anode 2 Cl- (aq) ---------->Cl2 (g) + 2 e-
Na/Hg เมื่อผ่านน้าบริสุทธิ์เข้าไป Na จะทาปฏิกิริยากับน้า ดังสมการ
NaHgn (aq) + H2O (l) ----------> NaOH (aq) + H2 (g) + n Hg(l)
แต่วิธีนี้จะมีการปนเปื้อนของสารปรอทซึ่งเป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมาก จึงไม่เป็นที่นิยม
การแยกสารละลาย NaCl ด้วยกระแสไฟฟ้า ได้ผลิตภัณฑ์คือ H2 (g) , Cl2 (g)
, NaOH (aq) โดยนาไปใช้ประโยชน์ ดังนี้
H2 (g)
1. เตรียมกรด HCl
2. เตรียม NH3 (g)
3. ใช้ในปฏิกิริยาการเติม H2 ในน้ามันพืช
Cl2 (g)
1. ฆ่าเชื้อโรคในน้าประปา
2. ฟอกสีในเยื่อกระดาษ เส้นใยพืช
3. เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี เช่น พลาสติก สารกาจัดแมลง สารฟอก
ขาว CCl4
4. รวมกับแก๊สไฮโดรเจน เป็นกรด HCl
NaOH (aq)
1. สบู่ , ผงซักฟอก
2. ผงชูรส
3.การผลิตโซดาแอช
ชื่อทางเคมีโซดาแอช : โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3)
กระบวนการผลิตโซดาแอช : กระบวนการโซลเวย์หรือกระบวนการโซดา
แอมโมเนีย
วัตถุดิบ : 1.โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
2. แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
3. แก๊สแอมโมเนีย (NH3)
ขั้นตอนการผลิต : กระบวนการโซลเวย์ หรือโซดาแอมโมเนีย กระบวนการ
ผลิตโซดาแอชมีดังนี้
หินปูน (CaCO3) มาเผา จะได้CaO และ CO2 เป็นผลิตภัณฑ์
CaCO3(s) ---> CaO(s) + CO2(g)
นา CO2 มาทาปฏิกิริยากับสารละลาย NaCl เข้มข้น
และ NH4OH ได้NaHCO3 และ NH4Cl เป็นผลิตภัณฑ์
CO2(g) + NaCl(aq) + NH4OH(aq) ---> NaHCO3(s) + NH4Cl(aq)
นา NaHCO3 มาเผา จะได้Na2CO3 , H2O และ CO2 เป็นผลิตภัณฑ์
2NaHCO3(s) ---> Na2CO3(s) + H2O(l) + CO2(g)
Na2CO3 ที่ได้สามารถนาไปใช้ในการผลิตกระดาษ แก้ว สิ่งทอ สบู่
ผงซักฟอก กระจก สารกาจัดความกระด้างของน้า อุตสาหกรรมปิโตรเลียม
เพิ่มเติม :บางประเทศที่ผลิต NaOH ได้มากเกินต้องการ อาจผลิตโซดาแอช
โดยผ่าน CO2 (g) ลงใน NaOH (aq) โดยตรง ได้NaHCO3 (s) เมื่อเผาแล้ว
จะได้โซดาแอช
นอกจากการผลิตด้วยกระบวนการโซลเวย์ยังได้จากแร่โซดาแอชใน
ธรรมชาติ พบมากใน สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล อินเดีย รัสเซีย จีน
แหล่งที่พบโซดาแอช
โซเดียมคำร์บอเนต หรือ โซดำ แอช สูตรเคมี คือ Na2CO3 เป็น
สำรประกอบเกลือของกรดคำร์บอนิก มีลักษณะเป็นผงสีขำว ไม่มีกลิ่น
สำมำรถดูดควำมชื้นจำกอำกำศได้ดี ละลำยได้ในน้ำ มีฤทธิ์เป็นด่ำงแก่เมื่อ
ละลำยน้ำ ละลำยได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์
พบในขี้เถ้ำของพืชหลำยชนิดและสำหร่ำยทะเล เป็นสำรเคมีที่ใช้ใน
อุตสำหกรรมเช่น แก้ว เซรำมิคส์ กระดำษ ผงซักฟอก สบู่ กำรแก้ไขน้ำ
กระด้ำง และ โซเดียมคำร์บอเนต พบได้ในธรรมชำติในเขตแห้งแล้ง
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในแหล่งแร่ที่เกิดจำกทะเลสำบที่ระเหยแห้งไป ในสมัย
อียิปต์โบรำณ มีกำรขุดแร่ที่เรียกว่ำ เนทรอน (natron) พบแหล่งแร่
โซเดียมคำร์บอเนตขนำดใหญ่ใกล้แม่น้ำกรีนริเวอร์ มลรัฐไวโอมิง
สหรัฐอเมริกำ ทำให้สหรัฐขุดแร่มำใช้แทนกำรผลิตทำงกรรมวิธีทำงเคมี
4.การผลิตสารฟอกขาว
สำรฟอกขำวเป็นสำรประกอบประเภทไฮโปคลอไรต์ ใช้ในอุตสำหกรรม
กำรฟอกย้อมเส้นด้ำย เยื่อกระดำษ และใช้เป็นสำรฆ่ำเชื้อโรคในน้ำ
มีกำรนำไปใช้ในกำรผลิตอำหำรทั้งในอำหำรที่อนุญำตและไม่อนุญำตให้ใส่
สำรฟอกขำว สำรฟอกขำวที่นิยมใช้ในอำหำรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มของ
สำรประกอบ ซัลไฟต์ซึ่งเป็นชื่อรวมของก๊ำซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
(SO2) และเกลืออนินทรีย์ของกรดซัลฟูรัสซึ่งแตกตัวให้ซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ สำรฟอกขำวบำงตัวไม่ได้รับอนุญำตให้ใช้ในอำหำร เนื่องจำกเป็น
สำรที่ก่อให้เกิดอันตรำยอย่ำงมำกต่อสุขภำพ ได้แก่ สำรไฮโดรซัล
ไฟต์ หรือที่ชำวบ้ำนเรียกว่ำ "ยำซัด" ซึ่งเป็นสำรที่นิยมใช้ในกำรฟอกย้อม
ผ้ำ แต่พบว่ำผู้ผลิตหลำยรำยนำมำใช้ในกำรผลิตอำหำรเพื่อฟอกสีอำหำร
ให้ดูน่ำกิน
การผลิตสารฟอกขาว
1.) เตรียมแก๊สคลอรีน
2KMnO4(s)+16HCl(aq) ----> 2KCl(aq) + 2MnCl2(aq) + 8H2O(l) + 5Cl2(g)
2.) ผลิตสำรฟอกขำว
2NaOH(aq) + Cl2(g) ------> NaOCl(aq) + NaCl(aq) +
H2O(l)
หรือ Na2CO3(aq) + Cl2(g) --------> NaOCl(aq) + NaCl(aq) + CO2(g)
เมื่อหยดสำรละลำยในหลอดทดลองบนกระดำษลิตมัสทั้งสีแดงและสีน้ำ
เงิน พบว่ำกระดำษลิตมัสทั้ง2สีเปลี่ยนเป็นสีขำว แสดงว่ำ สำรละลำย
NaOCl มีสมบัติในกำรฟอกจำงสี สำรนี้มีสมบัติในกำรกัดกร่อนสูง ถ้ำใช้
ปริมำณมำกอำจกัดกร่อนสิ่งที่ต้องกำรฟอกเสียหำยได้
กระบวนสุทธิ 2Ca(OH)2 (aq) + 2Cl2(g) ----> Ca(OCl)2(s) + CaCl2(aq) + 2H2O(l)
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันzhezazzz
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
3เฉลย 31
3เฉลย 313เฉลย 31
3เฉลย 31
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 

Similar to อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์

สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยPiyapong Chaichana
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 

Similar to อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์ (6)

Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Cm103 9(50)
Cm103 9(50)Cm103 9(50)
Cm103 9(50)
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์