SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ตัวชี้วัด
อธิบายการผลิตปุ๋ ยไนโตรเจน ปุ๋ ย
ฟอสเฟต ปุ๋ ยโพรเทส และปุ๋ ยผสม ตลอดจน
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดการจากใช้ปุ๋ ยได้
ปุ๋ ย คือ สารอินทรีย์หรือสารอนินทรีย์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้น โดยธรรมชาติหรือ
สังเคราะห์ขึ้นก็ตาม ปุ๋ ยมีหน้าที่เพิ่มธาตุอาหารให้กับดินเพื่อที่จะให้พืชเจริญเติบโต
โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
ความหมายของปุ๋ ย
ปุ๋ ยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ยชีวภาพ
ปุ๋ ยเคมี ได้มาจากการผลิตหรือสังเคราะห์ทางอุตสาหกรรมจากแร่ธาตุต่างๆ
ที่ได้ตาม ธรรมชาติ ปุ๋ ย เคมีมีอยู่ 2 • แม่ปุ๋ ยหรือปุ๋ ยเดี่ยว เป็นสารประกอบทางเคมี
มีธาตุอาหารประกอบทาง เคมีคือ ธาตุ N (ไนโตรเจน) P(ฟอสเฟต) หรือ K(โพแทสเซียม)
ประกอบด้วย หนึ่งหรือสองธาตุและมีปริมาณสารที่ประกอบคงที่
ปุ๋ ยผสม คือ ปุ๋ ยที่เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ ยหลายๆ ชนิดมาผสมกัน เพื่อให้ได้
สัดส่วนของธาตุอาหาร N P และ K ตามต้องการ
2.) ปุ๋ ยอินทรีย์ คือ สารประกอบที่ได้จากสิ่งที่มีชีวิตได้แก่ พืช สัตว์และจุลินทรีย์
ผ่าน
กระบวนการผลิตทางธรรมชาติ
แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยพืชสด
ปุ๋ ยคอก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้มาจากสิ่งขับถ่ายของสัตว์เลี้ยง เช่น กระบือ สุกร
เป็ด ไก่และห่าน ฯลฯ
ปุ๋ ยหมัก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ซึ่งได้จากการนาชิ้นส่วนของพืชวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตรหรือวัสดุเหลือใช้
จากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น หญ้าแห้ง ใบไม้ ฟางข้าว ซังข้าวโพด
ปุ๋ ยพืชสด เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้จากการปลูกพืช บารุงดินซึ่งได้แก่พืชตระกูลถั่ว
ต่างๆ แล้วทาการไถกลบ
เมื่อพืชเจริญเติบโตมากที่สุดซึ่งเป็นช่วงที่กาลังออกดอก
ปุ๋ ยไนโตรเจน
ที่ใช้กันส่วนใหญ่มี 2 ประเภทคือ ประเภทอินทรีย์ และประเภทอนินทรีย์
ประเภทอินทรีย์
ได้จากสิ่งมีชีวิต เกิดจากการเน่าเปื่อย ผุพังไปตามกาลเวลา เช่น จากซาก
พืชซาสัตว์ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก
ประเภทอนินทรีย์
แบ่งได้เป็น 3 สถานะคือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ในปุ๋ ยที่เป็นของแข็ง
สามารถแบ่งได้เป็นปุ๋ ยที่มีไนโตรเจนเป็นธาตุหลักเพียงธาตุเดียว เช่น ยูเรีย แอมโมเนียซัลเฟต
และปุ๋ ยไนโตรเจนที่มีธาตุหลักอีกธาตุหนึ่งเป็นองค์ประกอบ เช่น ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต
โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟตและโพแทสเซียมไนเทรตปุ๋ ย ไนโตรเจนเหลวนั้นผลิตจากปุ๋ ยแข็ง
ส่วน
แอมโมเนียปราศจากน้าหรือแอนไฮดรัสแอมโมเนียที่เป็นแก๊สนั้น นอกจากใช้เป็นปุ๋ ยโดยตรง
แล้วยังใช้เป็นวัตถุดิบที่ผลิตปุ๋ ยไนโตรเจนอีกด้วย
เป็นปุ๋ ยเคมีที่ให้ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุหลัก ซึ่งช่วยให้พืชเจริญเติบโตดี ลาต้น ใบ
แข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่างเพียงพอ โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสารประกอบ เช่น
ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ((NH4 ) 2 SO4 ) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ H2
SO4
ปุ๋ ยยูเรีย ( NH2CO NH2 ) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ
แก๊ส CO2
ดังนั้น การผลิตปุ๋ ยทั้งสองชนิดใช้แก๊ส NH3 H2SO4 และ แก๊ส CO2 เป็นวัตถุดิบที่
สาคัญ
วัตถุดิบที่ใช้เตรียมแก๊สแอมโมเนีย คือ ไนโตรเจน และ ไฮโดรเจน
ไนโตรเจน เตรียมได้จากอากาศ โดยนาอากาศมาเพิ่มความดัน ลดอุณหภูมิให้
กลายเป็นของเหลว แล้วเพิ่มอุณหภูมิถึงจุดเดือดของแก๊ส เพื่อแยกแก๊สไนโตรเจนออกจาก
อากาศ
ไฮโดรเจน เตรียมจากแก๊สที่เหลือ(ออกซิเจนส่วนใหญ่) ทาปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน หรือ ใช้
ไอน้าทาปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน
การเตรียมแก๊สแอมโมเนีย นาแก๊ส N2 และ H2 ที่ผลิตได้มาทาปฏิกิริยากัน ได้แก๊ส NH3
ดังนั้น เมื่อนาแก๊ส NH3 ทาปฏิกิริยากับแก๊ส CO2 จะได้ปุ๋ ยยูเรีย ดังสมก
2NH3 + CO2 --------> NH2CO2NH4
NH2CO2NH4 ------> NH2CO NH2 + H2O
การเตรียม H2 SO4 - นากามะถันที่หลอมเหลว ทาปฏิกิริยากับ แก๊ส O2 ได้แก๊ส SO2
- นาแก๊ส SO2 ทาปฏิกิริยากับแก๊ส O2 ได้แก๊ส SO3
- ผ่านแก๊ส SO3 ในสารละลายกรด H2 SO4 เข้มข้น ได้สารละลายโอเลียม
- นาสารละลายโอเลียม ละลายน้า ได้กรด H2 SO4
ดังนั้น เมื่อนาแก๊ส NH3 ทาปกิกิริยากับ กรด H2 SO4 จะได้ปุ๋ ย
แอมโมเนียมซัลเฟต ดังสมการ
2NH3 + H2 SO4 ------------> (NH4 ) 2 SO4
อากาศ
O
2
N
2
N2 +
H2
1:3
N
H3
อากาศ
เหลว
แก๊ส
ธรรมชาติ
H
2
C
O
H2
H2C
O3
H2
C
O2
NH3 + CO2
ยูเรีย
NH2CON
H2
แก๊สมีเทน
กามะถัน
กามะถันเหลว
SO2
SO3
H2S2O7
H2SO4
เข้มข้น
H2SO4 +
NH3
แอมโมเนียซัลเฟต
(NH4)2SO4
H2SO4
น้า
ลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน
แยกลาดับส่วน
กระบวนการฮาเบอร์
เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มความดัน
ไอน้า
ปุ๋ ยฟอสเฟต
ส่วนผสมจากหินฟอสเฟต
เป็นปุ๋ ยที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ใช้หินฟอสเฟต
(CaF2
.3Ca3(PO4)2) เป็นวัตถุดิบการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตทาได้ 3 วิธี
นาหินฟอสเฟตมาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000-1200 องศาเซลเซียส
2(CaF2 3Ca3(PO4)2) + 5SiO2 + 6Na2CO3 ----> 12CaNaPO4 + 4Ca2Si
+ SiF4 + 6CO2
นาสารที่ได้จากการเผาเทลงน้า จะได้สารที่มีรูพรุน เปราะ
นาหินฟอสเฟตมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ได้ปุ๋ ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูง
ขึ้นโดยนาหินฟอสเฟตที่บดแล้วมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก
CaF.3Ca3(PO4)2 + 10H2PO4 ------------
> 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF
ได้กรดฟอสฟอริก (H2PO4) ซึ่ง จะไปทาปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ จะได้
มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H2PO4)2) หรือปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน้าได้ดี
หรือสามารถผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตโดยนาหินฟอสเฟตมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก
CaF.3Ca3(PO4)2 + 7H2PO4 + 3H2O ---> 3Ca(H2PO4)2.H2O +
7CaSO4 + 2HF
จากปฏิกิริยา ทั้งสาม จะพบว่าในส่วนประกอบหินฟอสเฟตจะมี
CaF2 ซึ่งเมื่อทาปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเหยง่ายและเป็นพิษบางส่วนจะทา
ปฏิกิริยากับ SiO2 เกิดเป็นแก๊ส SiF4ซึ่งรวมกับน้าทันทีเกิดเป็น H2SiF6 หรืออาจนา
SiO2 มาทาปฏิกิริยากับ HFโดยตรงเกิดเป็น H2SiF6 และเมื่อนามาทาปฏิกิริยาต่อกับ
MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ (MgSiF6) ใช้เป็นสารกาจัดแมลง HF ส่วน
ใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกาจัดโดยการผ่านแก๊ส ลงในน้าทาให้ได้สารที่เป็นกรด ซึ่ง
ทาให้เป็นกลางโดยทาปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน
2HF + Na2CO3 ------------> 2NaF + H2O + CO2 2HF +
CaCO3 ------------> CaF + H2O + CO2
CaF2 •
3Ca3(PO4)2
CaSO4 HFH3PO4
Ca(H2PO4)2
CaF2 • 3Ca3(PO4)2
4.4 ปุ๋ ยโพแทส
ปุ๋ ยโพแทสคือปุ๋ ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบ ปุ๋ ยชนิดนี้นิยมบอก
ความเข้มข้น เป็นค่าร้อยละโดยมวลของ K 2O ปุ๋ ยโพแทสเซียมชนิดต่างๆนั้นพอจะกล่าว
โดยสังเขปได้ดังนี้คือ โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl)ปุ๋ ยที่บริสุทธิ์ 95% นั้นจะมีโพแทสเซียม
ที่อยู่ในรูป K2O เท่ากับ 60% ผลิตมาจากสินแร่โพแทสเซียม เช่น sylvinite เป็นต้น และมี
ชื่อได้อีกว่า muriate of potash ในสมัยก่อน แหล่งของปุ๋ ยโพแทสได้จากขี้เถ้าจากเตาถ่าน
หรือจากการเผากิ่งไม้ ใบไม้และเศษเหลือของพืช
ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็นจานวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูป
ของแร่คาร์นัลไลต์ ( KCl.MgCl 2.6H 2O ) และแร่ซิลวาไนต์ ( KCl.NaCl) ซึ่งใช้เป็น
วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์ ( KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต
( K 2SO 4) โพแทสเซียมไนเตรต ( KNO 3 ) และโพแทสเซียมแมกนีเซียมซัลเฟต ( K 2SO
4.2MgSO 4 )
1.ปุ๋ ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วทาให้
บริสุทธิ์ โดยละลายแร่ในน้าอุณหภูมิประมาณ 90 ๐ C เติมสารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวลง
ไป กรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยน้าเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนทา
ให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง จะได้ปุ๋ ย KCl ตามต้องการ นอกจากนี้ยัง
สามารถผลิตปุ๋ ยชนิดนี้จากน้าทะเล โดยการระเหยน้าทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์
เพื่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน นาสารละลายที่ได้ไป
ระเหยน้าออกเพื่อทาให้มีความเข้มข้นมากขึ้นทาให้ KCl ตกผลึก ออกมาและใช้เป็นปุ๋ ย
KCl ได้
2.ส่วนปุ๋ ยโพแทสซียมซัลเฟต ผลิตได้จากการนาแร่แลงไบไนต์ ( K 2SO
4.2MgSO 4 ) มาละลายในน้าอุณหภูมิประมาณ 50 ๐ C จนเป็นสารละลายอิ่มตัว
แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นลงไป จะได้ผลึก K 2SO 4 แยกออกมาดังสมการ
K2SO4.2MgSO4 + 4KCl ----------> 3K2SO4 + 2MgCl2
3.นอกจากนี้ถ้านา KCl มาทาปฏิกิริยากับ NaNO 3
จะได้ปุ๋ ยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO 3 ) ดังสมการ
KCl + NaNO3 ------------> KNO3 + NaCl
โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จาเป็นต่อพืชมาก ทาให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้าง
ภูมิต้านทานโรค และเป็นตัวเร่งให้เซลล์ทางานได้ดีขึ้น ถ้าพืชขาดโพแทสเซียมจะทาให้มี
ปริมาณแป้งต่ากว่าปกติ ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสีซีด ลาต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ด
ลีบ
ถังผสม ถังบ่ม
ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
ถังอบแห้ง บรรจุถุง
ถังเก็บ
HF
H2SiF6
กาจัด HF
ด้วยหินปูน
Na2CO
3
ถังเกิด
ปฏิกิริยา
สารละลาย
HF
CaF2 NaF
MgO
MgSiF6
H2SiF6
พ่นน้า อากาศ
หินฟอสเฟตบด
กรด H2SO4 4 – 5 mol/ 𝑑𝑚3
ข้อดีข้อเสียของการทาปุ๋ ยเคมี
ปุ๋ ยเคมีทาให้ดินเสีย ปุ๋ ยเคมีเป็นพิษ ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด ปุ๋ ยเคมีไม่ได้ทาให้ดิน
เสีย เพียงแต่เมื่อใช้ไปนานๆ โดยไม่ใช้ปุ๋ ยอินทรีย์เลย ดินจะแน่นมากจนพืชแทงรากไม่ไหว
พืชจึงไม่โต เข้าใจไปว่าดินเสีย และปุ๋ ยเคมีไม่ใช่สารเคมีจึงไม่เป็นพิษในท้องตลาดมักมีคา
หนึ่งเรียกกันติดปาก คือปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ จริงๆ แล้วมันคือปุ๋ ยอินทรีย์ แต่เพราะคาว่า
ชีวภาพทาให้ดูดี คนนิยมใช้ จึงเอาคาว่าชีวภาพไปต่อท้ายคาว่าปุ๋ ยอินทรีย์ ซึ่งใช้คานี้ไม่ได้
ผิดหลักเกณฑ์ของกรมวิชาการเกษตร ผู้ผลิตและผู้จาหน่ายมีโทษ
ข้อเสียเปรียบของปุ๋ ยเคมี
๑. ปุ๋ ยเคมีไม่มีคุณสมบัติปรับปรุงสภาพทางฟิสิกส์ของดิน กล่าวคือไม่ทาให้ดิน
โปร่งร่วนซุยเหมือนปุ๋ ยอินทรีย์
๒. ปุ๋ ยไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย ถ้าใช้เป็นปริมาณมาก และติดต่อกันเป็นระยะ
เวลานาน ๆ จะทาให้ดินเป็นกรดเพิ่มขึ้นจาเป็นต้องใช้ปูนช่วยแก้ความเป็นกรดของดิน
๓. ผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องปุ๋ ยเคมีพอสมควร มิฉะนั้นอาจมีผลเสียหาย
ต่อพืชและต่อภาวะเศรษฐกิจของผู้ใช้
ข้อดีข้อเสียของการทาปุ๋ ยอินทรีย์
ปุ๋ ยหมักเป็นอินทรียวัตถุที่ดีต่อต้นไม้และดีต่อมนุษย์ด้วย เพราะเป็นสิ่งที่ได้จาก
ธรรมชาติย่อมดีต่อร่างกายมากกว่ามากใช้สารเคมี
ข้อเสีย
๑.มีปริมาณธาตุอาหารพืชต่า
๒. ใช้เวลานานกว่าปุ๋ ยเคมีในการปลดปล่อยธาตุอาหารที่จะเป็นประโยชน์ให้แก่
พืช
๓. ราคาแพงกว่าปุ๋ ยเคมีเมื่อคิดเทียบในแง่ราคาต่อหน่วยน้าหนักของธาตุอาหาร
พืช
ข้อดี
๑. ช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น โดยเฉพาะคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของดิน เช่น ความโปร่ง
ความร่วนซุย ความสามารถในการอุ้มน้าและธาตุอาหารพืชของดินดีขึ้น ข้อดีข้อนี้ปุ๋ ยอินทรีย์
ทาได้แต่ผู้เดียว ปุ๋ ยเคมีไม่สามารถทาได้
๒. อยู่ในดินได้นาน และค่อย ๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชอย่างช้า ๆ
๓. เมื่อใช้ร่วมกับปุ๋ ยเคมี จะส่งเสริมปุ๋ ยเคมีให้เป็นประโยชน์แก่พืชอย่างมี

More Related Content

What's hot

การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
สไลด์ซีสาม สี่ แคม
สไลด์ซีสาม สี่ แคมสไลด์ซีสาม สี่ แคม
สไลด์ซีสาม สี่ แคมKunnika Intum
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 

What's hot (6)

C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
Cm103 9(50)
Cm103 9(50)Cm103 9(50)
Cm103 9(50)
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
สไลด์ซีสาม สี่ แคม
สไลด์ซีสาม สี่ แคมสไลด์ซีสาม สี่ แคม
สไลด์ซีสาม สี่ แคม
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
โพรพิลีน
โพรพิลีนโพรพิลีน
โพรพิลีน
 

Similar to อุตสาหกรรมปุ๋ย

วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2konosor
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Tao Captain
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 

Similar to อุตสาหกรรมปุ๋ย (10)

01
0101
01
 
Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 

More from Piyapong Chaichana (20)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

อุตสาหกรรมปุ๋ย

  • 1. ตัวชี้วัด อธิบายการผลิตปุ๋ ยไนโตรเจน ปุ๋ ย ฟอสเฟต ปุ๋ ยโพรเทส และปุ๋ ยผสม ตลอดจน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดการจากใช้ปุ๋ ยได้
  • 2. ปุ๋ ย คือ สารอินทรีย์หรือสารอนินทรีย์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้น โดยธรรมชาติหรือ สังเคราะห์ขึ้นก็ตาม ปุ๋ ยมีหน้าที่เพิ่มธาตุอาหารให้กับดินเพื่อที่จะให้พืชเจริญเติบโต โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ความหมายของปุ๋ ย ปุ๋ ยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ยชีวภาพ ปุ๋ ยเคมี ได้มาจากการผลิตหรือสังเคราะห์ทางอุตสาหกรรมจากแร่ธาตุต่างๆ ที่ได้ตาม ธรรมชาติ ปุ๋ ย เคมีมีอยู่ 2 • แม่ปุ๋ ยหรือปุ๋ ยเดี่ยว เป็นสารประกอบทางเคมี มีธาตุอาหารประกอบทาง เคมีคือ ธาตุ N (ไนโตรเจน) P(ฟอสเฟต) หรือ K(โพแทสเซียม) ประกอบด้วย หนึ่งหรือสองธาตุและมีปริมาณสารที่ประกอบคงที่ ปุ๋ ยผสม คือ ปุ๋ ยที่เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ ยหลายๆ ชนิดมาผสมกัน เพื่อให้ได้ สัดส่วนของธาตุอาหาร N P และ K ตามต้องการ
  • 3. 2.) ปุ๋ ยอินทรีย์ คือ สารประกอบที่ได้จากสิ่งที่มีชีวิตได้แก่ พืช สัตว์และจุลินทรีย์ ผ่าน กระบวนการผลิตทางธรรมชาติ แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยพืชสด ปุ๋ ยคอก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้มาจากสิ่งขับถ่ายของสัตว์เลี้ยง เช่น กระบือ สุกร เป็ด ไก่และห่าน ฯลฯ ปุ๋ ยหมัก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ซึ่งได้จากการนาชิ้นส่วนของพืชวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตรหรือวัสดุเหลือใช้ จากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น หญ้าแห้ง ใบไม้ ฟางข้าว ซังข้าวโพด ปุ๋ ยพืชสด เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้จากการปลูกพืช บารุงดินซึ่งได้แก่พืชตระกูลถั่ว ต่างๆ แล้วทาการไถกลบ เมื่อพืชเจริญเติบโตมากที่สุดซึ่งเป็นช่วงที่กาลังออกดอก
  • 4. ปุ๋ ยไนโตรเจน ที่ใช้กันส่วนใหญ่มี 2 ประเภทคือ ประเภทอินทรีย์ และประเภทอนินทรีย์ ประเภทอินทรีย์ ได้จากสิ่งมีชีวิต เกิดจากการเน่าเปื่อย ผุพังไปตามกาลเวลา เช่น จากซาก พืชซาสัตว์ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก ประเภทอนินทรีย์ แบ่งได้เป็น 3 สถานะคือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ในปุ๋ ยที่เป็นของแข็ง สามารถแบ่งได้เป็นปุ๋ ยที่มีไนโตรเจนเป็นธาตุหลักเพียงธาตุเดียว เช่น ยูเรีย แอมโมเนียซัลเฟต และปุ๋ ยไนโตรเจนที่มีธาตุหลักอีกธาตุหนึ่งเป็นองค์ประกอบ เช่น ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟตและโพแทสเซียมไนเทรตปุ๋ ย ไนโตรเจนเหลวนั้นผลิตจากปุ๋ ยแข็ง ส่วน แอมโมเนียปราศจากน้าหรือแอนไฮดรัสแอมโมเนียที่เป็นแก๊สนั้น นอกจากใช้เป็นปุ๋ ยโดยตรง แล้วยังใช้เป็นวัตถุดิบที่ผลิตปุ๋ ยไนโตรเจนอีกด้วย
  • 5. เป็นปุ๋ ยเคมีที่ให้ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุหลัก ซึ่งช่วยให้พืชเจริญเติบโตดี ลาต้น ใบ แข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่างเพียงพอ โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสารประกอบ เช่น ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ((NH4 ) 2 SO4 ) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ H2 SO4 ปุ๋ ยยูเรีย ( NH2CO NH2 ) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ แก๊ส CO2 ดังนั้น การผลิตปุ๋ ยทั้งสองชนิดใช้แก๊ส NH3 H2SO4 และ แก๊ส CO2 เป็นวัตถุดิบที่ สาคัญ วัตถุดิบที่ใช้เตรียมแก๊สแอมโมเนีย คือ ไนโตรเจน และ ไฮโดรเจน ไนโตรเจน เตรียมได้จากอากาศ โดยนาอากาศมาเพิ่มความดัน ลดอุณหภูมิให้ กลายเป็นของเหลว แล้วเพิ่มอุณหภูมิถึงจุดเดือดของแก๊ส เพื่อแยกแก๊สไนโตรเจนออกจาก อากาศ
  • 6. ไฮโดรเจน เตรียมจากแก๊สที่เหลือ(ออกซิเจนส่วนใหญ่) ทาปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน หรือ ใช้ ไอน้าทาปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน การเตรียมแก๊สแอมโมเนีย นาแก๊ส N2 และ H2 ที่ผลิตได้มาทาปฏิกิริยากัน ได้แก๊ส NH3 ดังนั้น เมื่อนาแก๊ส NH3 ทาปฏิกิริยากับแก๊ส CO2 จะได้ปุ๋ ยยูเรีย ดังสมก 2NH3 + CO2 --------> NH2CO2NH4 NH2CO2NH4 ------> NH2CO NH2 + H2O การเตรียม H2 SO4 - นากามะถันที่หลอมเหลว ทาปฏิกิริยากับ แก๊ส O2 ได้แก๊ส SO2 - นาแก๊ส SO2 ทาปฏิกิริยากับแก๊ส O2 ได้แก๊ส SO3 - ผ่านแก๊ส SO3 ในสารละลายกรด H2 SO4 เข้มข้น ได้สารละลายโอเลียม - นาสารละลายโอเลียม ละลายน้า ได้กรด H2 SO4 ดังนั้น เมื่อนาแก๊ส NH3 ทาปกิกิริยากับ กรด H2 SO4 จะได้ปุ๋ ย แอมโมเนียมซัลเฟต ดังสมการ 2NH3 + H2 SO4 ------------> (NH4 ) 2 SO4
  • 7. อากาศ O 2 N 2 N2 + H2 1:3 N H3 อากาศ เหลว แก๊ส ธรรมชาติ H 2 C O H2 H2C O3 H2 C O2 NH3 + CO2 ยูเรีย NH2CON H2 แก๊สมีเทน กามะถัน กามะถันเหลว SO2 SO3 H2S2O7 H2SO4 เข้มข้น H2SO4 + NH3 แอมโมเนียซัลเฟต (NH4)2SO4 H2SO4 น้า ลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน แยกลาดับส่วน กระบวนการฮาเบอร์ เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มความดัน ไอน้า
  • 8. ปุ๋ ยฟอสเฟต ส่วนผสมจากหินฟอสเฟต เป็นปุ๋ ยที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ใช้หินฟอสเฟต (CaF2 .3Ca3(PO4)2) เป็นวัตถุดิบการผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตทาได้ 3 วิธี นาหินฟอสเฟตมาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000-1200 องศาเซลเซียส 2(CaF2 3Ca3(PO4)2) + 5SiO2 + 6Na2CO3 ----> 12CaNaPO4 + 4Ca2Si + SiF4 + 6CO2 นาสารที่ได้จากการเผาเทลงน้า จะได้สารที่มีรูพรุน เปราะ นาหินฟอสเฟตมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ได้ปุ๋ ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูง ขึ้นโดยนาหินฟอสเฟตที่บดแล้วมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก CaF.3Ca3(PO4)2 + 10H2PO4 ------------ > 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF ได้กรดฟอสฟอริก (H2PO4) ซึ่ง จะไปทาปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ จะได้ มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H2PO4)2) หรือปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน้าได้ดี
  • 9. หรือสามารถผลิตปุ๋ ยฟอสเฟตโดยนาหินฟอสเฟตมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก CaF.3Ca3(PO4)2 + 7H2PO4 + 3H2O ---> 3Ca(H2PO4)2.H2O + 7CaSO4 + 2HF จากปฏิกิริยา ทั้งสาม จะพบว่าในส่วนประกอบหินฟอสเฟตจะมี CaF2 ซึ่งเมื่อทาปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเหยง่ายและเป็นพิษบางส่วนจะทา ปฏิกิริยากับ SiO2 เกิดเป็นแก๊ส SiF4ซึ่งรวมกับน้าทันทีเกิดเป็น H2SiF6 หรืออาจนา SiO2 มาทาปฏิกิริยากับ HFโดยตรงเกิดเป็น H2SiF6 และเมื่อนามาทาปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ (MgSiF6) ใช้เป็นสารกาจัดแมลง HF ส่วน ใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกาจัดโดยการผ่านแก๊ส ลงในน้าทาให้ได้สารที่เป็นกรด ซึ่ง ทาให้เป็นกลางโดยทาปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน 2HF + Na2CO3 ------------> 2NaF + H2O + CO2 2HF + CaCO3 ------------> CaF + H2O + CO2
  • 11. 4.4 ปุ๋ ยโพแทส ปุ๋ ยโพแทสคือปุ๋ ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบ ปุ๋ ยชนิดนี้นิยมบอก ความเข้มข้น เป็นค่าร้อยละโดยมวลของ K 2O ปุ๋ ยโพแทสเซียมชนิดต่างๆนั้นพอจะกล่าว โดยสังเขปได้ดังนี้คือ โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl)ปุ๋ ยที่บริสุทธิ์ 95% นั้นจะมีโพแทสเซียม ที่อยู่ในรูป K2O เท่ากับ 60% ผลิตมาจากสินแร่โพแทสเซียม เช่น sylvinite เป็นต้น และมี ชื่อได้อีกว่า muriate of potash ในสมัยก่อน แหล่งของปุ๋ ยโพแทสได้จากขี้เถ้าจากเตาถ่าน หรือจากการเผากิ่งไม้ ใบไม้และเศษเหลือของพืช ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็นจานวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูป ของแร่คาร์นัลไลต์ ( KCl.MgCl 2.6H 2O ) และแร่ซิลวาไนต์ ( KCl.NaCl) ซึ่งใช้เป็น วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์ ( KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต ( K 2SO 4) โพแทสเซียมไนเตรต ( KNO 3 ) และโพแทสเซียมแมกนีเซียมซัลเฟต ( K 2SO 4.2MgSO 4 )
  • 12. 1.ปุ๋ ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วทาให้ บริสุทธิ์ โดยละลายแร่ในน้าอุณหภูมิประมาณ 90 ๐ C เติมสารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวลง ไป กรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยน้าเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนทา ให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง จะได้ปุ๋ ย KCl ตามต้องการ นอกจากนี้ยัง สามารถผลิตปุ๋ ยชนิดนี้จากน้าทะเล โดยการระเหยน้าทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์ เพื่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน นาสารละลายที่ได้ไป ระเหยน้าออกเพื่อทาให้มีความเข้มข้นมากขึ้นทาให้ KCl ตกผลึก ออกมาและใช้เป็นปุ๋ ย KCl ได้ 2.ส่วนปุ๋ ยโพแทสซียมซัลเฟต ผลิตได้จากการนาแร่แลงไบไนต์ ( K 2SO 4.2MgSO 4 ) มาละลายในน้าอุณหภูมิประมาณ 50 ๐ C จนเป็นสารละลายอิ่มตัว แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นลงไป จะได้ผลึก K 2SO 4 แยกออกมาดังสมการ K2SO4.2MgSO4 + 4KCl ----------> 3K2SO4 + 2MgCl2
  • 13. 3.นอกจากนี้ถ้านา KCl มาทาปฏิกิริยากับ NaNO 3 จะได้ปุ๋ ยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO 3 ) ดังสมการ KCl + NaNO3 ------------> KNO3 + NaCl โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จาเป็นต่อพืชมาก ทาให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้าง ภูมิต้านทานโรค และเป็นตัวเร่งให้เซลล์ทางานได้ดีขึ้น ถ้าพืชขาดโพแทสเซียมจะทาให้มี ปริมาณแป้งต่ากว่าปกติ ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสีซีด ลาต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ด ลีบ
  • 14. ถังผสม ถังบ่ม ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต ถังอบแห้ง บรรจุถุง ถังเก็บ HF H2SiF6 กาจัด HF ด้วยหินปูน Na2CO 3 ถังเกิด ปฏิกิริยา สารละลาย HF CaF2 NaF MgO MgSiF6 H2SiF6 พ่นน้า อากาศ หินฟอสเฟตบด กรด H2SO4 4 – 5 mol/ 𝑑𝑚3
  • 15. ข้อดีข้อเสียของการทาปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยเคมีทาให้ดินเสีย ปุ๋ ยเคมีเป็นพิษ ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด ปุ๋ ยเคมีไม่ได้ทาให้ดิน เสีย เพียงแต่เมื่อใช้ไปนานๆ โดยไม่ใช้ปุ๋ ยอินทรีย์เลย ดินจะแน่นมากจนพืชแทงรากไม่ไหว พืชจึงไม่โต เข้าใจไปว่าดินเสีย และปุ๋ ยเคมีไม่ใช่สารเคมีจึงไม่เป็นพิษในท้องตลาดมักมีคา หนึ่งเรียกกันติดปาก คือปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ จริงๆ แล้วมันคือปุ๋ ยอินทรีย์ แต่เพราะคาว่า ชีวภาพทาให้ดูดี คนนิยมใช้ จึงเอาคาว่าชีวภาพไปต่อท้ายคาว่าปุ๋ ยอินทรีย์ ซึ่งใช้คานี้ไม่ได้ ผิดหลักเกณฑ์ของกรมวิชาการเกษตร ผู้ผลิตและผู้จาหน่ายมีโทษ ข้อเสียเปรียบของปุ๋ ยเคมี ๑. ปุ๋ ยเคมีไม่มีคุณสมบัติปรับปรุงสภาพทางฟิสิกส์ของดิน กล่าวคือไม่ทาให้ดิน โปร่งร่วนซุยเหมือนปุ๋ ยอินทรีย์ ๒. ปุ๋ ยไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย ถ้าใช้เป็นปริมาณมาก และติดต่อกันเป็นระยะ เวลานาน ๆ จะทาให้ดินเป็นกรดเพิ่มขึ้นจาเป็นต้องใช้ปูนช่วยแก้ความเป็นกรดของดิน ๓. ผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องปุ๋ ยเคมีพอสมควร มิฉะนั้นอาจมีผลเสียหาย ต่อพืชและต่อภาวะเศรษฐกิจของผู้ใช้
  • 16. ข้อดีข้อเสียของการทาปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ยหมักเป็นอินทรียวัตถุที่ดีต่อต้นไม้และดีต่อมนุษย์ด้วย เพราะเป็นสิ่งที่ได้จาก ธรรมชาติย่อมดีต่อร่างกายมากกว่ามากใช้สารเคมี ข้อเสีย ๑.มีปริมาณธาตุอาหารพืชต่า ๒. ใช้เวลานานกว่าปุ๋ ยเคมีในการปลดปล่อยธาตุอาหารที่จะเป็นประโยชน์ให้แก่ พืช ๓. ราคาแพงกว่าปุ๋ ยเคมีเมื่อคิดเทียบในแง่ราคาต่อหน่วยน้าหนักของธาตุอาหาร พืช ข้อดี ๑. ช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น โดยเฉพาะคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของดิน เช่น ความโปร่ง ความร่วนซุย ความสามารถในการอุ้มน้าและธาตุอาหารพืชของดินดีขึ้น ข้อดีข้อนี้ปุ๋ ยอินทรีย์ ทาได้แต่ผู้เดียว ปุ๋ ยเคมีไม่สามารถทาได้ ๒. อยู่ในดินได้นาน และค่อย ๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชอย่างช้า ๆ ๓. เมื่อใช้ร่วมกับปุ๋ ยเคมี จะส่งเสริมปุ๋ ยเคมีให้เป็นประโยชน์แก่พืชอย่างมี