SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การใช้ภาษาไทย
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ศศิธร ฟักแก้ว
การใช้ภาษาไทยอย่างไรให้เหมาะสม
๑. ใช้คาให้ตรงความหมาย
๒. ใช้คาให้เหมาะสมกับบุคคล
๓. ใช้คาราชาศัพท์ให้ถูกต้อง
๔. ใช้สานวนเปรียบเทียบให้เหมาะสม
๕. ใช้คาบุพบทและคาสันธานให้ถูกต้อง
๖. ใช้คาให้ถูกคู่หรือถูกระดับ
๗. เขียนสะกดคาให้ถูกต้อง
๘. ใช้คาให้คงที่
๙. ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย
๑๐. ไม่ใช้คาที่ทาให้ความหมายกากวม
๑๑. ไม่ใช้คาที่มีความหมายขัดแย้งกันมาผูกใน
ประโยคเดียวกัน
๑๒. หลีกเลี่ยงการใช้คาภาษาต่างประเทศ ยกเว้น
คาทับศัพท์
๑๓. ไม่ใช้สานวนภาษาต่างประเทศ
๑๔.ไม่ใช้ภาษาพูดในการเขียน
๑๕. ไม่ใช้อักษรย่อหรือคาย่อ
แบบทดสอบ
ตอนที่๑ ใช้คาที่กาหนดให้แต่งประโยคให้ถูกต้องและตรง
ตามความหมาย
๑. ผลัด..................................................................................
ผัด......................................................................................
๒. แน่นหนา..........................................................................
หนาแน่น...........................................................................
ตอนที่๒ จงแก้ไขข้อความต่อไปนี้ให้เป็นภาษาเขียนที่
สละสลวยและถูกต้องตามหลักภาษาไทยโดยยังคง
ความหมายเดิม
๑. ผอ. จะมาเปิดการสัมนาตามหมายกาหนดการ
...............................................................................................
...............................................................................................
๒. เอกพจฯถูกเลือกให้รับรางวัลพ่อดีเด่นแห่งปี
...............................................................................................
...............................................................................................
ความหมายของภาษา
ภาษาคือเครื่องมือหรือสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้
สื่อความเข้าใจระหว่างกัน ส่วนที่ใช้ถ้อยคา อันได้แก่
ภาษาพูดและภาษาเขียน เรียกว่า วัจนภาษา ส่วนที่ไม่
ใช้ถ้อยคาแต่สามารถสื่อความหมายได้เช่นกริยา
ท่าทาง สีหน้า เรียกว่า อวัจนภาษา
ความสาคัญของภาษาไทย
๑. ภาษาไทยเป็นเครื่องมือสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม
ไทย และเอกลักษณ์ ของชาติ
๒. ภาษาไทยแสดงความเป็นเอกราชของชาติไทย อัน
สะท้อนได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ หลัก
ศิลาจารึก
๓. ภาษาไทยเป็นเครื่องมือบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ตั้งแต่
อดีตนาถึงปัจจุบัน เช่น วรรณคดี เพลงพื้นบ้าน นิทาน
เป็นต้น
วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย
๑. ภาษาไทยมีระดับจึงต้องใช้ให้เหมาะสมกับฐานะของ
บุคคลและกาลเทศะ เช่น การกราบบังคมทูล การพูดคุย
สนทนากับพระสงฆ์ เป็นต้น
๒. ภาษาไทยมักมุ่งเน้นเรื่องการติดต่อสื่อสารด้วยการพูด
ให้ เหมาะสม เช่น การไม่พูดคาหยาบ ไม่พูดจาดูถูกผู้อื่น
เป็นต้น
๓. ภาษาย่อมปรากฏทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษาดังนั้น
เมื่อต้องใช้อวัจนภาษาประกอบคาพูด ก็ควรระมัดระวัง
ให้ดี
ระดับของภาษา
๑. ภาษาปาก
คือภาษาที่ใช้พูดในชีวิตประจาวันโดยไม่ต้อง
พิถีพิถันหรือเคร่งครัดในกฎเกณฑ์ทางภาษามากนักส่ว
น
ใหญ่มักใช้กันในครอบครัวระหว่างเพื่อนสนิทและใช้
ในสถานที่ ที่เป็นส่วนตัว ภาษาปากอาจหมายรวมถึง
ภาษาถิ่น หรือ ภาษาย่อย ตลอดจน คาหยาบ คาแสลง
ก็ได้
๒. ภาษากึ่งแบบแผน
เป็นภาษาระดับกึ่งทางการซึ่งสุภาพรัดกุมกว่า
ภาษา ปากแต่ไม่เคร่งครัดหรือเป็นพิธีการเท่ากับภาษา
แบบแผน ส่วนใหญ่ ใช้ใน การประชุมกลุ่ม
การแนะนาตัว การบรรยาย ในห้องเรียน เป็นต้น
๓. ภาษาแบบแผน
คือภาษาที่ใช้อย่างเป็นพิธีการเรียบเรียงด้วย
ความประณีตและถูกต้องตามแบบแผนมักใช้ในการ
เขียนมากกว่าการพูด ในชีวิตประจาวัน เช่น
การเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนเรียงความ
หรือประกาศทางการ เป็นต้น

More Related Content

What's hot

ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03Chaichan Boonmak
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารSimilun_maya
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 

What's hot (19)

Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
Chi p.1
Chi p.1Chi p.1
Chi p.1
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
คำ
คำคำ
คำ
 

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย (8)

หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารหน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย

  • 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ การใช้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ศศิธร ฟักแก้ว การใช้ภาษาไทยอย่างไรให้เหมาะสม ๑. ใช้คาให้ตรงความหมาย ๒. ใช้คาให้เหมาะสมกับบุคคล ๓. ใช้คาราชาศัพท์ให้ถูกต้อง ๔. ใช้สานวนเปรียบเทียบให้เหมาะสม ๕. ใช้คาบุพบทและคาสันธานให้ถูกต้อง ๖. ใช้คาให้ถูกคู่หรือถูกระดับ ๗. เขียนสะกดคาให้ถูกต้อง ๘. ใช้คาให้คงที่ ๙. ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย ๑๐. ไม่ใช้คาที่ทาให้ความหมายกากวม ๑๑. ไม่ใช้คาที่มีความหมายขัดแย้งกันมาผูกใน ประโยคเดียวกัน ๑๒. หลีกเลี่ยงการใช้คาภาษาต่างประเทศ ยกเว้น คาทับศัพท์ ๑๓. ไม่ใช้สานวนภาษาต่างประเทศ ๑๔.ไม่ใช้ภาษาพูดในการเขียน ๑๕. ไม่ใช้อักษรย่อหรือคาย่อ แบบทดสอบ ตอนที่๑ ใช้คาที่กาหนดให้แต่งประโยคให้ถูกต้องและตรง ตามความหมาย ๑. ผลัด.................................................................................. ผัด...................................................................................... ๒. แน่นหนา.......................................................................... หนาแน่น........................................................................... ตอนที่๒ จงแก้ไขข้อความต่อไปนี้ให้เป็นภาษาเขียนที่ สละสลวยและถูกต้องตามหลักภาษาไทยโดยยังคง ความหมายเดิม ๑. ผอ. จะมาเปิดการสัมนาตามหมายกาหนดการ ............................................................................................... ............................................................................................... ๒. เอกพจฯถูกเลือกให้รับรางวัลพ่อดีเด่นแห่งปี ............................................................................................... ...............................................................................................
  • 2. ความหมายของภาษา ภาษาคือเครื่องมือหรือสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ สื่อความเข้าใจระหว่างกัน ส่วนที่ใช้ถ้อยคา อันได้แก่ ภาษาพูดและภาษาเขียน เรียกว่า วัจนภาษา ส่วนที่ไม่ ใช้ถ้อยคาแต่สามารถสื่อความหมายได้เช่นกริยา ท่าทาง สีหน้า เรียกว่า อวัจนภาษา ความสาคัญของภาษาไทย ๑. ภาษาไทยเป็นเครื่องมือสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม ไทย และเอกลักษณ์ ของชาติ ๒. ภาษาไทยแสดงความเป็นเอกราชของชาติไทย อัน สะท้อนได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ หลัก ศิลาจารึก ๓. ภาษาไทยเป็นเครื่องมือบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ตั้งแต่ อดีตนาถึงปัจจุบัน เช่น วรรณคดี เพลงพื้นบ้าน นิทาน เป็นต้น วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย ๑. ภาษาไทยมีระดับจึงต้องใช้ให้เหมาะสมกับฐานะของ บุคคลและกาลเทศะ เช่น การกราบบังคมทูล การพูดคุย สนทนากับพระสงฆ์ เป็นต้น ๒. ภาษาไทยมักมุ่งเน้นเรื่องการติดต่อสื่อสารด้วยการพูด ให้ เหมาะสม เช่น การไม่พูดคาหยาบ ไม่พูดจาดูถูกผู้อื่น เป็นต้น ๓. ภาษาย่อมปรากฏทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษาดังนั้น เมื่อต้องใช้อวัจนภาษาประกอบคาพูด ก็ควรระมัดระวัง ให้ดี ระดับของภาษา ๑. ภาษาปาก คือภาษาที่ใช้พูดในชีวิตประจาวันโดยไม่ต้อง พิถีพิถันหรือเคร่งครัดในกฎเกณฑ์ทางภาษามากนักส่ว น ใหญ่มักใช้กันในครอบครัวระหว่างเพื่อนสนิทและใช้ ในสถานที่ ที่เป็นส่วนตัว ภาษาปากอาจหมายรวมถึง ภาษาถิ่น หรือ ภาษาย่อย ตลอดจน คาหยาบ คาแสลง ก็ได้ ๒. ภาษากึ่งแบบแผน เป็นภาษาระดับกึ่งทางการซึ่งสุภาพรัดกุมกว่า ภาษา ปากแต่ไม่เคร่งครัดหรือเป็นพิธีการเท่ากับภาษา แบบแผน ส่วนใหญ่ ใช้ใน การประชุมกลุ่ม การแนะนาตัว การบรรยาย ในห้องเรียน เป็นต้น ๓. ภาษาแบบแผน คือภาษาที่ใช้อย่างเป็นพิธีการเรียบเรียงด้วย ความประณีตและถูกต้องตามแบบแผนมักใช้ในการ เขียนมากกว่าการพูด ในชีวิตประจาวัน เช่น การเขียนบทความทางวิชาการ การเขียนเรียงความ หรือประกาศทางการ เป็นต้น