SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
1
โครงสร้างและการเกิดผล
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 341 กลุ่มที่ 1
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
2
คานา:
งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งในงาน Formative 1 ของวิชาชีววิทยา (ว30243) ในภาค
เรียนที่ 2 กลุ่มของเราได้จัดทาการศึกษาเรื่องการเกิดผลและโครงสร้างของผล
สาหรับการทางานกลุ่มของเรานี้เราได้รับประสบการณ์มากมายเพิ่มเติมจากภาคเรียนที่
แล้ว ทั้งด้านวิชาการ และด้านทักษะการทางานกลุ่ม พวกเราได้ความรู้เรื่องในบทที่ 3
ของวิชาชีววิทยามากขึ้นทั้งมาจากในหนังสือเรียน และ แหล่งภายนอก โดยทางคณะ
ผู้จัดทาได้เตรียมสิ่งที่ได้มาจากศึกษาในงานนาเสนอฉบับนี้ ด้วยความหวังว่าจะให้ผู้รับ
สารของทางเราได้รับประโยชน์ที่สุด
3
• นายชัยอนันต์ เอื้ออานวยพร เลขที่ 26
• นายฌัฐพล สุชาติสุนทร เลขที่ 29
• นายธีร์วรัตถ์ หาญกุลวัฒนา เลขที่ 32
• นายปัณณธร โชติพฤกษ์ เลขที่ 35
• นายลัทธวิทย์ ทิพาเสถียร เลขที่ 41
สมาชิกในกลุ่ม
4
สารบัญ
5
ครูผู้สอน:
เสนอ:
อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ประจาภาควิชา ชีววิทยา
ว30243
อาจารย์ชานาญการ (คศ.2)
สาขาวิชาชีววิทยา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
1.
การเกิดผล
7
การเกิดของผล:
ภายหลังจาก Fertilization
- ส่วน zygote ที่เกิดจาก sperm และ egg จะเติบโตไปเป็น เมล็ด
- ส่วนของรังไข่ของเกสรเพศเมียจะเจริญไปเป็นผล (Fruit)
- ส่วนของฐานรองดอก จะกลายเป็น ก้านผล
ในพืชแบบ Gymnosperm จะมีแค่ Single Fertilization และ
จะไม่ได้ผลจากการปฏิสนธิ จะได้เมล็ดเปลือยแทน!!
8
การเกิดของผล:
ส่วนของผลที่ได้หลังจากปฏิสนธิจะแบ่งได้เป็น 3 ชั้น
- Exocarp
จะเป็นชั้นนอกสุดของผล อาจจะถูกเรียกว่าเปลือกหรือผิว Exocarp ของผล
แต่ละชนิดจะต่างกัน บางชนิดอาจจะแข็ง บางชนิดอาจจะมีต่อมน้ามัน
(Hesperidium)
- Mesocarp
จะเป็นชั้นกลางของผล อาจจะถูกเรียกว่าเนื้อผล ในผลบางชนิด mesocarp
จะนุ่มและกินได้ (Berry) บางชนิดจะกินไม่ได้และแข็ง
- Endocarp
จะเป็นชั้นในสุดของเนื้อผล บางชนิด endocarp จะสามารถกินได้
เช่นเดียวกับ mesocarp
เรียกรวม exocarp, mesocarp, endocarp ว่า Pericarp!!
2.
การจาแนกประเภทผล
10
จาแนกแบบที่ 1:
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะรังไข่และดอก
- แยกออกได้เป็น ผลเดี่ยว ผลกลุ่ม ผลรวม
11
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะรังไข่และดอก:
แบบที่ 1.) ผลเดี่ยว (simple fruit)
ผลเดี่ยว คือ ผลที่เกิดมาจากรังไข่อันเดียวในดอกเดียวกัน ดอกอาจเป็นดอกเดี่ยวหรือดอกช่อก็ได้
โดยลักษณะของดอกเดี่ยวที่จะกลายเป็นผลเดี่ยวนั้น จะต้องเป็นดอก 1 ดอก และมีรังไข่ 1 อัน
ตัวอย่างผลเดี่ยว เช่น ผลส้ม มะเขือ ฟักทอง แอปเปิ้ ล กล้วย มะพร้าว ตาล เป็นต้น
- ภาพด้านข้างคือลักษณะ
ของดอกที่จะกลายเป็นผล
เดี่ยว จะสังเกตได้ว่ามีแค่ 1
ovary ต่อ 1
penduncle/pedicel ที่
รองรับเท่านั้น
12
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะรังไข่และดอก:
แบบที่ 2.) ผลกลุ่ม (Aggregate fruit)
ผลกลุ่ม คือ ผลที่เกิดจากรังไข่หลายรังไข่หรือกลุ่มของรังไข่ ในดอก
เดียวกันของดอกเดี่ยว รังไข่แต่ละอันก็จะกลายเปนผลย่อยหนึ่งผล
ผลกลุ่มจะเกิดจากดอกที่ดอกเดี่ยวเท่านั้น
ตัวอย่างผลกลุ่มเช่น ผลน้อยหน่า สตรอเบอรี จาปี เบอรี่ เป็นต้น
- ภาพด้านข้างคือราสเบอรี่ ซึ่ง
เป็น 1 ในตัวอย่างของผลกลุ่ม
- ภาพด้านบนคือโครงสร้างที่ 1 ดอก
รองรับหลาย ovary โครงสร้างนี้จะเจริญ
ไปเป็นผลกลุ่มในเวลาต่อไป
13
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะรังไข่และดอก:
แบบที่ 3.) ผลรวม (Multiple fruit)
ผลรวม คือผลที่เกิดจากรังไข่ ของดอกแต่ละดอกของ ดอกช่อซึ่งเชื่อม
รวมกันแน่น รังไข่เหล่านี้จะกลายเป็นผลย่อย ๆ เชื่อมรวมกันแน่นจนคล้าย
เป็นผลเดี่ยว โดยลักษณะของดอกที่จะกลายเป็นผลรวมนั้นจะเป็นดอกช่อที่
มีรังไข่ของดอกย่อย และระยะห่างระหว่างดอกช่อแต่ละดอกน้อย จึงทาให้
แต่ละดอกมาเชื่อมรวมกัน
ตัวอย่างผลรวม ได้แก่ ผลสับปะรด ขนุน สาเก ยอ หม่อน มะเดื่อ เป็นต้น
- ภาพด้านซ้ายคือโครงสร้างที่ ดอกช่อ
มีระยะห่างระหว่างดอกย่อยน้อย ทาให้
เวลาเกิดผล โครงสร้างนี้จะรวมตัวกัน
เป็น ผลรวม
14
จาแนกแบบที่ 2:
การจาแนกตามลักษณะของผิวและเนื้อผล
- แยกออกได้เป็น Fleshy Fruit & Dry Fruit
15
ผลสด (Fleshy Fruit)
༝ ผลสด (fleshy fruit) เป็นผลเดี่ยวที่เมื่อ
เจริญเติบโตเต็มที่แล้วมีเนื้อสัมผัสนุ่มและสด
และยังมีความฉ่าน้าอยู่ จาแนกได้ดังนี้
- Drupe
- Berry
- Pepo
- Hesperidium
- Pome
- Aril
16
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
แบบ 1.) ดรูป (drupe)
ผลดรูป เป็น ผลสดชนิดที่ เพริคาร์ป แบ่งเป็น 3 ชั้นชัดเจน
เอนโดคาร์ป และ เมล็ดมีความแข็งมากเลยอาจเรียกว่า สโตนฟรุต (stone
fruit) เอนโดคาร์ปมักติดกับเปลือกหุ้มเมล็ดซึ่งมีอยู่เมล็ดเดียว
ต่อมา มีโซคาร์ป เป็นเนื้อนุ่มหรือเป็นเส้นเหนียวๆ
เอกโซคาร์ปเรียบลักษณะเป็นมันวาว จะมีคาร์เพลเดียวหรือหลายเคร์เพล
ตัวอย่าง ผลดรูป เช่น พุทรา มะกอก อินทผลัม มะพร้าว ตาล ท้อ เป็นต้น
17
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
แบบ 2.) เบอร์รี่ (berry)
ผลเบอร์รี่ คือผลสดที่ภายในมีเมล็ดหลายเมล็ด ชั้นเอกโซคาร์ปจะมีความ
บางมากและอ่อนนุ่ม มีโซคาร์ปและเอนโดคาร์ปจะหลอมรวมเป็นเนื้อ
เดียวกันที่มีความนุ่มและชุ่มน้า สามารถที่จะกินได้ทั้ง 3 ชั้นของเพริคาร์ป
ตัวอย่างเช่น มะเขือ มะเขือเทศ องุ่น กล้วย ฝรั่ง
18
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
แบบ 3.) เพโป (Pepo)
ผลเพโป (pepo) เป็น ผลสดที่มีลักษณะคล้ายเบอรี แต่มีเปลือกนอกหนา
เหนียวและแข็ง เจริญมาจากฐานดอกเชื่อมรวมกับเอกโซคาร์ป โดยจะมีชั้น
มีโซคาร์ป (mesocarp) และเอนโดคาร์ป (endocarp) เป็นเนื้อเยื่อนุ่มกิน
ได้ ผลชนิดนี้มักเจริญมาจากดอกที่มีรังไข่แบบอินฟีเรียโอวารี่
ตัวอย่าง ผลแบบเพโป เช่น ฟัก แฟง
แตงกวา น้าเต้า บวบ มะตูม แตงโม
19
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
แบบ 4.) ผลเฮสเพอริเดียม (Hesperidium)
ผลแบบเฮสเพริเดียม เป็น ผลสดที่มีเอกโซคาร์ป ค่อนข้างแข็งและเหนียว
มีต่อมน้ามันมาก โดยชั้นเอกโซคาร์ปจะสามารถถูกดึงลอกออกมาได้
เปลือกเอกโซคาร์ปและมีโซคาร์ปจะติดกันเกือบไม่เห็นรอยแยก
ชั้นมีโซคาร์ปจะมีสีขาวและไม่ค่อยมีต่อมน้ามัน เอนโดคาร์ปเป็นเยื่อบางๆ
หุ้มเนื้อ บางส่วนจะเปลี่ยนไปเป็นขนหรือถุงสาหรับเก็บน้า (juice sac) ซึ่ง
เป็นเนื้อที่ใช้รับประทานได้ ผลแบบนี้จะมีกรดน้าส้ม (กรดฟอร์มิก) และผล
แบบนี้จะมีอีกชื่อคือ “ผลแบบส้ม”
ตัวอย่างผลเฮสเพอริเดียม เช่น ส้ม ส้มโอ มะนาว มะกรูด
20
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
แบบ 5.) ผลโพม (Pome)
โพม เป็น ผลสดที่เจริญมาจากดอกที่มีรังไข่แบบอินฟีเรียโอวารี่ ที่มีหลาย
คาร์เพล เนื้อผลส่วนใหญ่มาจากฐานดอกหรือส่วนฐานของกลีบดอกที่มี
กลีบเลี้ยงและก้านเกสรตัวผู้ซึ่งเชื่อมติดกัน โอบล้อมผนังรังไข่
เนื้อส่วนน้อยที่อยู่ด้านในเกิดจากเพริคาร์ป ส่วนเอนโดคาร์ปจะบางหรือมี
ลักษณะกรุบๆ ดังนั้นผลส่วนใหญ่ของ โพม อาจจะถูกนับว่าเป็น
psedocarp
ตัวอย่างผลโพม เช่น แอปเปิล สาลี่ ชมพู่
21
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
แบบ 6.) ผลแอริล (Aril)
ผลแอริล เป็น ผลสดซึ่งเนื้อที่รับประทานได้ ซึ่งส่วนเนื้อจะเจริญมาจาก
ส่วนของเมล็ดซึ่งเจริญออกมาห่อหุ้มเมล็ด (outgrowth of seed)
ดังนั้นเวลากินผลแบบแอริล จะมีเปลือกของเมล็ดสากๆติดอยุ่ภายในเนื้อ
ด้วย ส่วนเพริคาร์ปเจะเป็นเปลือกห่อหุ้มอยู่ชั้นนอกของเนื้อ
ตัวอย่างผลแบบแอริล เช่น เงาะ ลาไย ลิ้นจี่
22
ผลแห้ง (Dry Fruit)
༝ ผลสด (Dry fruit) เป็นผลเดี่ยวที่เมื่อ
เจริญเติบโตเต็มที่แล้วเพริคาร์ปจะแห้ง (ไม่ได้มี
ความชุ่มชื้นในเนื้อผล) ผลแห้งจะแบ่งออกเป็น
2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
- ผลแห้งแก่ไม่แตก (dry indehiscent fruit)
- ผลแห้งแก่แตก (dry dehiscent fruit)
23
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
1. ผลแห้งที่แก่แล้วแตกเอง:
1.1) ผลแห้งเมล็ดติดหรือผลแบบธัญพืช (Caryopsis or Grain)
จะเป็น ผลเดี่ยวหนึ่งเมล็ด เปลือกแข็งและเชื่อมติดแน่นกับเปลือกเมล็ดหุ้ม เช่น
ข้าว ข้าวสาลี
1.2) ผลเปลือกแข็งมีกาบรูปถ้วย (Acorn)
จะเป็นผลคล้ายผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว แต่มีกาบหุ้มผล (cupule) ทั้งหมดหรือ
บางส่วน เช่นผลเกาลัด เป็นต้น
24
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
1. ผลแห้งที่แก่แล้วแตกเอง:
1.3) ผลแห้งเมล็ดอ่อน (Achene) เป็นผลขนาดเล็ก ผนังผลแห้งและบาง มี
1 เมล็ด ผนังผลกับเปลือกหุ้มเมล็ดแยกกัน ส่วนมากมีฐานรองดอกขนาดใหญ่
ตัวอย่างเช่น บัวหลวง แต่ถ้าเป็น ผล Achene ที่เกิดจากรังไข่ใต้วงกลีบ
และมีขนที่ปลายเมล็ด จะเรียกว่า ผลแห้งเมล็ดล่อนปลายมีขน (cypsela)
ตัวอย่างเช่น เมล็ดทานตะวัน
25
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
1. ผลแห้งที่แก่แล้วแตกเอง:
1.4) ผลเปลือกแห้งเมล็ดเดียว (Nut)
เป็น ผลที่มีเปลือกแข็งและผิวมัน ผลจะเกิดจากรังไข่ที่มีหลายคาร์เพลเชื่อมกัน
แต่มีเมล็ดเดียว ตัวอย่างเช่น เช่น ผลมะพร้าว กระจับ มะม่วงหิมพานต์ ผล
ยางนา เหียง พะยอม รักใหญ่ เป็นต้น
1.5) ผลแยกแล้วแตก (Schizocarp)
เป็น ผลที่เจริญมาจากรังไข่ที่มีหลายคาร์เพลเชื่อมกัน แต่เมื่อรังไข่เจริญเต็มที่
แล้วคาร์เพลจะแยกกัน แต่ละคาร์เพลจะเรียกซีกผลแบบผักชี (mericarp) ซึ่ง
ภายในนั้นจะมี 1 เมล็ด ตัวอย่างเช่น ผลผักชี ครอบจักรวาล
26
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง:
2.1) ฝักแตกแนวเดียว (Follicle)
เป็นผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร์เพลเดียวหรือหลายคาร์เพลที่แยกกัน เมื่อ
ผลแก่จะแตกเพียงตะเข็บเดียว ตัวอย่างเช่น ผลจาปี จาปา
2.2) ผลแตกแบบผักกาด (Silique)
เป็นผลที่เกิดจากรังไข่ที่มี 2 คาร์เพล เมื่อผลแก่ผนังผลแตกตามยาวจาก
ด้านล่างไปยังด้านบนแบ่งออกเป็นสองซีก เมล็ดติดอยู่แนวกลางของผล
(central false septum) ตัวอย่างเช่น ผลผักกาดนก ผักเสี้ยน
27
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง:
2.3) ฝักแบบถั่ว (Legume)
เป็นผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร์เพลเดียว เมื่อผลแก่จะแตกออกตามแนว
ตะเข็บ 2 ข้างของผล ตัวอย่างเช่น ผลของพืชวงศ์ถั่ว
2.4) ผลแบบฝักหักข้อ (loment / lomentum)
เป็นผลคล้ายผลแบบถั่วแต่มีรอยคอดรอบฝักเป็นช่วงๆหรือเว้าเป็นข้อๆ
และเมื่อผลแก่จะหักบริเวณนี้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด ตัวอย่างเช่น
ผลไมยราพ ผลคูน
28
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง:
2.5) ผลแบบผักชี (cremocarp)
ผลขนาดเล็กมี 2 เมล็ด เมื่อผลแก่และแตกออก เมล็ดจะแยกจากกันโดยมีคาร์
โพฟอร์ (carpophores) เส้นเล็กๆยึดไว้
29
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง:
2.6) ผลแห้งแตก (capsule)
เป็นผลที่เกิดจากดอกที่รังไข่มีหลายคาร์เพลเชื่อมกัน และเมื่อผลแก่จะแตก ซึ่ง
จะแบ่งออกเป็น
- ผลแห้งแตกตามรอยประสาน (septicidal capsule)
ผลแห้งแตกตามแนวยาวของผนังคาร์เพล เช่น ผลกระเช้าสีดา
- ผลแห้งแตกกลางพู (loculicidal capsule)
ผลแห้งแตกตรงกลางพูของแต่ละช่อง เช่น ผลทุเรียน ตะแบก
- ผลแห้งแตกเป็นช่อง (poricidal capsule)
ผลแห้งที่เปิดเป็นช่องหรือรูใกล้ยอดผล เช่น ผลฝิ่ น
- ผลแห้งแตกแบบฝาเปิด (circumscissile capsule)
ผลแห้งแล้วแตกตามขวางรอบผลลักษณะเป็นฝาเปิด มีเมล็ดจานวนมาก เช่น
ผลหงอนไก่
30
การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว:
- ภาพด้านซ้ายคือภาพ
ของ ผลฝิ่ น ผลทุเรียน
และผลกระเช้าสีดา
ตามลาดับ
31
บรรณานุกรม:
- https://ngthai.com/science/15618/germination/
- https://www.fruitsinfo.com/
- https://www.britannica.com/science/
- หนังสือประจาวิชาชีววิทยา 3 ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- สไลด์ที่ใช้ในการสอนวิชาชีววิทยา 3 ของ อาจารย์ วิชัย ลิขิต
พรรักษ์
32
กิตติกรรมประกาศ:
คณะผู้จัดทาขอขอบคุณ ครูวิชัย ลิขิตพรรัตน์ เป็นอย่างยิ่ง ที่ให้ความช่วยเหลือ
และคาปรึกษาในการทางานนาเสนอให้ออกมาสาเร็จด้วยดี ที่ได้ให้คาแนะนา
ระหว่างการทางาน ตรวจติดตามความคืบหน้างานและการประสานงานของกลุ่ม
สุดท้ายนี้ผู้จัดทา ขอขอบคุณผู้อ่าน ที่เข้ามารับชม รายงาน รูปแบบ slide
share ของกลุ่มที่ 1 ห้อง341 มาไว้ ณ ที่นี้

More Related Content

What's hot

11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติguestdf2abc6
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismSarinee Achavanuntakul
 
Bioextracttophytophthora
BioextracttophytophthoraBioextracttophytophthora
Bioextracttophytophthoraguest2cc406
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSarinee Achavanuntakul
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawSarinee Achavanuntakul
 
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถานโบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถานguest7e2840
 
Fruit stucture and fructification 334 group 6
Fruit stucture and fructification 334 group 6Fruit stucture and fructification 334 group 6
Fruit stucture and fructification 334 group 6ssuser4d47f0
 
Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2PMAT
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaSarinee Achavanuntakul
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 

What's hot (17)

11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
 
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
 
Classification of flowers
Classification of flowersClassification of flowers
Classification of flowers
 
Bioextracttophytophthora
BioextracttophytophthoraBioextracttophytophthora
Bioextracttophytophthora
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and Netiquette
 
Digital Lib4camp
Digital Lib4campDigital Lib4camp
Digital Lib4camp
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
 
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถานโบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
 
Fruit stucture and fructification 334 group 6
Fruit stucture and fructification 334 group 6Fruit stucture and fructification 334 group 6
Fruit stucture and fructification 334 group 6
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
Biology333
Biology333Biology333
Biology333
 
Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social Media
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 

กลุ่ม 1-341-26,29,32,35,41

  • 1. 1 โครงสร้างและการเกิดผล มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 341 กลุ่มที่ 1 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. 2 คานา: งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งในงาน Formative 1 ของวิชาชีววิทยา (ว30243) ในภาค เรียนที่ 2 กลุ่มของเราได้จัดทาการศึกษาเรื่องการเกิดผลและโครงสร้างของผล สาหรับการทางานกลุ่มของเรานี้เราได้รับประสบการณ์มากมายเพิ่มเติมจากภาคเรียนที่ แล้ว ทั้งด้านวิชาการ และด้านทักษะการทางานกลุ่ม พวกเราได้ความรู้เรื่องในบทที่ 3 ของวิชาชีววิทยามากขึ้นทั้งมาจากในหนังสือเรียน และ แหล่งภายนอก โดยทางคณะ ผู้จัดทาได้เตรียมสิ่งที่ได้มาจากศึกษาในงานนาเสนอฉบับนี้ ด้วยความหวังว่าจะให้ผู้รับ สารของทางเราได้รับประโยชน์ที่สุด
  • 3. 3 • นายชัยอนันต์ เอื้ออานวยพร เลขที่ 26 • นายฌัฐพล สุชาติสุนทร เลขที่ 29 • นายธีร์วรัตถ์ หาญกุลวัฒนา เลขที่ 32 • นายปัณณธร โชติพฤกษ์ เลขที่ 35 • นายลัทธวิทย์ ทิพาเสถียร เลขที่ 41 สมาชิกในกลุ่ม
  • 5. 5 ครูผู้สอน: เสนอ: อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ประจาภาควิชา ชีววิทยา ว30243 อาจารย์ชานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 7. 7 การเกิดของผล: ภายหลังจาก Fertilization - ส่วน zygote ที่เกิดจาก sperm และ egg จะเติบโตไปเป็น เมล็ด - ส่วนของรังไข่ของเกสรเพศเมียจะเจริญไปเป็นผล (Fruit) - ส่วนของฐานรองดอก จะกลายเป็น ก้านผล ในพืชแบบ Gymnosperm จะมีแค่ Single Fertilization และ จะไม่ได้ผลจากการปฏิสนธิ จะได้เมล็ดเปลือยแทน!!
  • 8. 8 การเกิดของผล: ส่วนของผลที่ได้หลังจากปฏิสนธิจะแบ่งได้เป็น 3 ชั้น - Exocarp จะเป็นชั้นนอกสุดของผล อาจจะถูกเรียกว่าเปลือกหรือผิว Exocarp ของผล แต่ละชนิดจะต่างกัน บางชนิดอาจจะแข็ง บางชนิดอาจจะมีต่อมน้ามัน (Hesperidium) - Mesocarp จะเป็นชั้นกลางของผล อาจจะถูกเรียกว่าเนื้อผล ในผลบางชนิด mesocarp จะนุ่มและกินได้ (Berry) บางชนิดจะกินไม่ได้และแข็ง - Endocarp จะเป็นชั้นในสุดของเนื้อผล บางชนิด endocarp จะสามารถกินได้ เช่นเดียวกับ mesocarp เรียกรวม exocarp, mesocarp, endocarp ว่า Pericarp!!
  • 11. 11 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะรังไข่และดอก: แบบที่ 1.) ผลเดี่ยว (simple fruit) ผลเดี่ยว คือ ผลที่เกิดมาจากรังไข่อันเดียวในดอกเดียวกัน ดอกอาจเป็นดอกเดี่ยวหรือดอกช่อก็ได้ โดยลักษณะของดอกเดี่ยวที่จะกลายเป็นผลเดี่ยวนั้น จะต้องเป็นดอก 1 ดอก และมีรังไข่ 1 อัน ตัวอย่างผลเดี่ยว เช่น ผลส้ม มะเขือ ฟักทอง แอปเปิ้ ล กล้วย มะพร้าว ตาล เป็นต้น - ภาพด้านข้างคือลักษณะ ของดอกที่จะกลายเป็นผล เดี่ยว จะสังเกตได้ว่ามีแค่ 1 ovary ต่อ 1 penduncle/pedicel ที่ รองรับเท่านั้น
  • 12. 12 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะรังไข่และดอก: แบบที่ 2.) ผลกลุ่ม (Aggregate fruit) ผลกลุ่ม คือ ผลที่เกิดจากรังไข่หลายรังไข่หรือกลุ่มของรังไข่ ในดอก เดียวกันของดอกเดี่ยว รังไข่แต่ละอันก็จะกลายเปนผลย่อยหนึ่งผล ผลกลุ่มจะเกิดจากดอกที่ดอกเดี่ยวเท่านั้น ตัวอย่างผลกลุ่มเช่น ผลน้อยหน่า สตรอเบอรี จาปี เบอรี่ เป็นต้น - ภาพด้านข้างคือราสเบอรี่ ซึ่ง เป็น 1 ในตัวอย่างของผลกลุ่ม - ภาพด้านบนคือโครงสร้างที่ 1 ดอก รองรับหลาย ovary โครงสร้างนี้จะเจริญ ไปเป็นผลกลุ่มในเวลาต่อไป
  • 13. 13 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะรังไข่และดอก: แบบที่ 3.) ผลรวม (Multiple fruit) ผลรวม คือผลที่เกิดจากรังไข่ ของดอกแต่ละดอกของ ดอกช่อซึ่งเชื่อม รวมกันแน่น รังไข่เหล่านี้จะกลายเป็นผลย่อย ๆ เชื่อมรวมกันแน่นจนคล้าย เป็นผลเดี่ยว โดยลักษณะของดอกที่จะกลายเป็นผลรวมนั้นจะเป็นดอกช่อที่ มีรังไข่ของดอกย่อย และระยะห่างระหว่างดอกช่อแต่ละดอกน้อย จึงทาให้ แต่ละดอกมาเชื่อมรวมกัน ตัวอย่างผลรวม ได้แก่ ผลสับปะรด ขนุน สาเก ยอ หม่อน มะเดื่อ เป็นต้น - ภาพด้านซ้ายคือโครงสร้างที่ ดอกช่อ มีระยะห่างระหว่างดอกย่อยน้อย ทาให้ เวลาเกิดผล โครงสร้างนี้จะรวมตัวกัน เป็น ผลรวม
  • 15. 15 ผลสด (Fleshy Fruit) ༝ ผลสด (fleshy fruit) เป็นผลเดี่ยวที่เมื่อ เจริญเติบโตเต็มที่แล้วมีเนื้อสัมผัสนุ่มและสด และยังมีความฉ่าน้าอยู่ จาแนกได้ดังนี้ - Drupe - Berry - Pepo - Hesperidium - Pome - Aril
  • 16. 16 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: แบบ 1.) ดรูป (drupe) ผลดรูป เป็น ผลสดชนิดที่ เพริคาร์ป แบ่งเป็น 3 ชั้นชัดเจน เอนโดคาร์ป และ เมล็ดมีความแข็งมากเลยอาจเรียกว่า สโตนฟรุต (stone fruit) เอนโดคาร์ปมักติดกับเปลือกหุ้มเมล็ดซึ่งมีอยู่เมล็ดเดียว ต่อมา มีโซคาร์ป เป็นเนื้อนุ่มหรือเป็นเส้นเหนียวๆ เอกโซคาร์ปเรียบลักษณะเป็นมันวาว จะมีคาร์เพลเดียวหรือหลายเคร์เพล ตัวอย่าง ผลดรูป เช่น พุทรา มะกอก อินทผลัม มะพร้าว ตาล ท้อ เป็นต้น
  • 17. 17 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: แบบ 2.) เบอร์รี่ (berry) ผลเบอร์รี่ คือผลสดที่ภายในมีเมล็ดหลายเมล็ด ชั้นเอกโซคาร์ปจะมีความ บางมากและอ่อนนุ่ม มีโซคาร์ปและเอนโดคาร์ปจะหลอมรวมเป็นเนื้อ เดียวกันที่มีความนุ่มและชุ่มน้า สามารถที่จะกินได้ทั้ง 3 ชั้นของเพริคาร์ป ตัวอย่างเช่น มะเขือ มะเขือเทศ องุ่น กล้วย ฝรั่ง
  • 18. 18 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: แบบ 3.) เพโป (Pepo) ผลเพโป (pepo) เป็น ผลสดที่มีลักษณะคล้ายเบอรี แต่มีเปลือกนอกหนา เหนียวและแข็ง เจริญมาจากฐานดอกเชื่อมรวมกับเอกโซคาร์ป โดยจะมีชั้น มีโซคาร์ป (mesocarp) และเอนโดคาร์ป (endocarp) เป็นเนื้อเยื่อนุ่มกิน ได้ ผลชนิดนี้มักเจริญมาจากดอกที่มีรังไข่แบบอินฟีเรียโอวารี่ ตัวอย่าง ผลแบบเพโป เช่น ฟัก แฟง แตงกวา น้าเต้า บวบ มะตูม แตงโม
  • 19. 19 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: แบบ 4.) ผลเฮสเพอริเดียม (Hesperidium) ผลแบบเฮสเพริเดียม เป็น ผลสดที่มีเอกโซคาร์ป ค่อนข้างแข็งและเหนียว มีต่อมน้ามันมาก โดยชั้นเอกโซคาร์ปจะสามารถถูกดึงลอกออกมาได้ เปลือกเอกโซคาร์ปและมีโซคาร์ปจะติดกันเกือบไม่เห็นรอยแยก ชั้นมีโซคาร์ปจะมีสีขาวและไม่ค่อยมีต่อมน้ามัน เอนโดคาร์ปเป็นเยื่อบางๆ หุ้มเนื้อ บางส่วนจะเปลี่ยนไปเป็นขนหรือถุงสาหรับเก็บน้า (juice sac) ซึ่ง เป็นเนื้อที่ใช้รับประทานได้ ผลแบบนี้จะมีกรดน้าส้ม (กรดฟอร์มิก) และผล แบบนี้จะมีอีกชื่อคือ “ผลแบบส้ม” ตัวอย่างผลเฮสเพอริเดียม เช่น ส้ม ส้มโอ มะนาว มะกรูด
  • 20. 20 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: แบบ 5.) ผลโพม (Pome) โพม เป็น ผลสดที่เจริญมาจากดอกที่มีรังไข่แบบอินฟีเรียโอวารี่ ที่มีหลาย คาร์เพล เนื้อผลส่วนใหญ่มาจากฐานดอกหรือส่วนฐานของกลีบดอกที่มี กลีบเลี้ยงและก้านเกสรตัวผู้ซึ่งเชื่อมติดกัน โอบล้อมผนังรังไข่ เนื้อส่วนน้อยที่อยู่ด้านในเกิดจากเพริคาร์ป ส่วนเอนโดคาร์ปจะบางหรือมี ลักษณะกรุบๆ ดังนั้นผลส่วนใหญ่ของ โพม อาจจะถูกนับว่าเป็น psedocarp ตัวอย่างผลโพม เช่น แอปเปิล สาลี่ ชมพู่
  • 21. 21 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: แบบ 6.) ผลแอริล (Aril) ผลแอริล เป็น ผลสดซึ่งเนื้อที่รับประทานได้ ซึ่งส่วนเนื้อจะเจริญมาจาก ส่วนของเมล็ดซึ่งเจริญออกมาห่อหุ้มเมล็ด (outgrowth of seed) ดังนั้นเวลากินผลแบบแอริล จะมีเปลือกของเมล็ดสากๆติดอยุ่ภายในเนื้อ ด้วย ส่วนเพริคาร์ปเจะเป็นเปลือกห่อหุ้มอยู่ชั้นนอกของเนื้อ ตัวอย่างผลแบบแอริล เช่น เงาะ ลาไย ลิ้นจี่
  • 22. 22 ผลแห้ง (Dry Fruit) ༝ ผลสด (Dry fruit) เป็นผลเดี่ยวที่เมื่อ เจริญเติบโตเต็มที่แล้วเพริคาร์ปจะแห้ง (ไม่ได้มี ความชุ่มชื้นในเนื้อผล) ผลแห้งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ - ผลแห้งแก่ไม่แตก (dry indehiscent fruit) - ผลแห้งแก่แตก (dry dehiscent fruit)
  • 23. 23 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: 1. ผลแห้งที่แก่แล้วแตกเอง: 1.1) ผลแห้งเมล็ดติดหรือผลแบบธัญพืช (Caryopsis or Grain) จะเป็น ผลเดี่ยวหนึ่งเมล็ด เปลือกแข็งและเชื่อมติดแน่นกับเปลือกเมล็ดหุ้ม เช่น ข้าว ข้าวสาลี 1.2) ผลเปลือกแข็งมีกาบรูปถ้วย (Acorn) จะเป็นผลคล้ายผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว แต่มีกาบหุ้มผล (cupule) ทั้งหมดหรือ บางส่วน เช่นผลเกาลัด เป็นต้น
  • 24. 24 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: 1. ผลแห้งที่แก่แล้วแตกเอง: 1.3) ผลแห้งเมล็ดอ่อน (Achene) เป็นผลขนาดเล็ก ผนังผลแห้งและบาง มี 1 เมล็ด ผนังผลกับเปลือกหุ้มเมล็ดแยกกัน ส่วนมากมีฐานรองดอกขนาดใหญ่ ตัวอย่างเช่น บัวหลวง แต่ถ้าเป็น ผล Achene ที่เกิดจากรังไข่ใต้วงกลีบ และมีขนที่ปลายเมล็ด จะเรียกว่า ผลแห้งเมล็ดล่อนปลายมีขน (cypsela) ตัวอย่างเช่น เมล็ดทานตะวัน
  • 25. 25 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: 1. ผลแห้งที่แก่แล้วแตกเอง: 1.4) ผลเปลือกแห้งเมล็ดเดียว (Nut) เป็น ผลที่มีเปลือกแข็งและผิวมัน ผลจะเกิดจากรังไข่ที่มีหลายคาร์เพลเชื่อมกัน แต่มีเมล็ดเดียว ตัวอย่างเช่น เช่น ผลมะพร้าว กระจับ มะม่วงหิมพานต์ ผล ยางนา เหียง พะยอม รักใหญ่ เป็นต้น 1.5) ผลแยกแล้วแตก (Schizocarp) เป็น ผลที่เจริญมาจากรังไข่ที่มีหลายคาร์เพลเชื่อมกัน แต่เมื่อรังไข่เจริญเต็มที่ แล้วคาร์เพลจะแยกกัน แต่ละคาร์เพลจะเรียกซีกผลแบบผักชี (mericarp) ซึ่ง ภายในนั้นจะมี 1 เมล็ด ตัวอย่างเช่น ผลผักชี ครอบจักรวาล
  • 26. 26 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: 2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง: 2.1) ฝักแตกแนวเดียว (Follicle) เป็นผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร์เพลเดียวหรือหลายคาร์เพลที่แยกกัน เมื่อ ผลแก่จะแตกเพียงตะเข็บเดียว ตัวอย่างเช่น ผลจาปี จาปา 2.2) ผลแตกแบบผักกาด (Silique) เป็นผลที่เกิดจากรังไข่ที่มี 2 คาร์เพล เมื่อผลแก่ผนังผลแตกตามยาวจาก ด้านล่างไปยังด้านบนแบ่งออกเป็นสองซีก เมล็ดติดอยู่แนวกลางของผล (central false septum) ตัวอย่างเช่น ผลผักกาดนก ผักเสี้ยน
  • 27. 27 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: 2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง: 2.3) ฝักแบบถั่ว (Legume) เป็นผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร์เพลเดียว เมื่อผลแก่จะแตกออกตามแนว ตะเข็บ 2 ข้างของผล ตัวอย่างเช่น ผลของพืชวงศ์ถั่ว 2.4) ผลแบบฝักหักข้อ (loment / lomentum) เป็นผลคล้ายผลแบบถั่วแต่มีรอยคอดรอบฝักเป็นช่วงๆหรือเว้าเป็นข้อๆ และเมื่อผลแก่จะหักบริเวณนี้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด ตัวอย่างเช่น ผลไมยราพ ผลคูน
  • 28. 28 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: 2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง: 2.5) ผลแบบผักชี (cremocarp) ผลขนาดเล็กมี 2 เมล็ด เมื่อผลแก่และแตกออก เมล็ดจะแยกจากกันโดยมีคาร์ โพฟอร์ (carpophores) เส้นเล็กๆยึดไว้
  • 29. 29 การจาแนกชนิดผลตามลักษณะเนื้อผลและผิว: 2. ผลแห้งที่แก่แล้วไม่แตกเอง: 2.6) ผลแห้งแตก (capsule) เป็นผลที่เกิดจากดอกที่รังไข่มีหลายคาร์เพลเชื่อมกัน และเมื่อผลแก่จะแตก ซึ่ง จะแบ่งออกเป็น - ผลแห้งแตกตามรอยประสาน (septicidal capsule) ผลแห้งแตกตามแนวยาวของผนังคาร์เพล เช่น ผลกระเช้าสีดา - ผลแห้งแตกกลางพู (loculicidal capsule) ผลแห้งแตกตรงกลางพูของแต่ละช่อง เช่น ผลทุเรียน ตะแบก - ผลแห้งแตกเป็นช่อง (poricidal capsule) ผลแห้งที่เปิดเป็นช่องหรือรูใกล้ยอดผล เช่น ผลฝิ่ น - ผลแห้งแตกแบบฝาเปิด (circumscissile capsule) ผลแห้งแล้วแตกตามขวางรอบผลลักษณะเป็นฝาเปิด มีเมล็ดจานวนมาก เช่น ผลหงอนไก่
  • 31. 31 บรรณานุกรม: - https://ngthai.com/science/15618/germination/ - https://www.fruitsinfo.com/ - https://www.britannica.com/science/ - หนังสือประจาวิชาชีววิทยา 3 ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา - สไลด์ที่ใช้ในการสอนวิชาชีววิทยา 3 ของ อาจารย์ วิชัย ลิขิต พรรักษ์
  • 32. 32 กิตติกรรมประกาศ: คณะผู้จัดทาขอขอบคุณ ครูวิชัย ลิขิตพรรัตน์ เป็นอย่างยิ่ง ที่ให้ความช่วยเหลือ และคาปรึกษาในการทางานนาเสนอให้ออกมาสาเร็จด้วยดี ที่ได้ให้คาแนะนา ระหว่างการทางาน ตรวจติดตามความคืบหน้างานและการประสานงานของกลุ่ม สุดท้ายนี้ผู้จัดทา ขอขอบคุณผู้อ่าน ที่เข้ามารับชม รายงาน รูปแบบ slide share ของกลุ่มที่ 1 ห้อง341 มาไว้ ณ ที่นี้