SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
รายงานเรื่อง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
โดย
นางสาวหริณโรจน์ ขุมทอง
เลขที่34 ห้อง6/11
เสนอ
คุณครูประกาศิต ศรีสะอาด
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ ง30206
ภาคเรียนที่2/2560
โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล สพม.29
2
หน่วยที่ 4
เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
หัวเรื่อง
1. ระบบคอมพิวเตอร์
2. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
3. หน่วยรับเข้า
4. หน่วยประมวลผลกลาง
5. หน่วยความจาหลัก
6. หน่วยความจารอง
7. หน่วยส่งออก
แนวคิด
1. ระบบคอมพิวเตอร์ คือ องค์ประกอบหลักที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานได้อย่างสมบูรณ์ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะ
ทางานได้ ระบบของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย องค์ประกอบหลัก ที่สาคัญ 5 ส่วน คือฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ และกระบวนการทางาน
2. การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางานตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ก่อนล่วงหน้า
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ เรียกรวมว่า ฮาร์ดแวร์ การทางานของคอมพิวเตอร์
ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วย คือ
3
1. หน่วยรับข้อมูล
2. หน่วยประมวลผลกลาง
3. หน่วยความจาหลัก
4. หน่วยความจารอง
5. หน่วยส่งออก
3. หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นาข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วย
ความจาหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท เช่น แผงแป้นอักขระ
เมาส์ แทร็กบอล ก้านควบคุม เครื่องกราดตรวจ เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก จอสัมผัส
4. หน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซีพียู (Central Processing Unit : CPU)
หน่วยประมวลผลกลางเป็นส่วนที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลาง แบ่งออกเป็น 2
หน่วย คือ หน่วยควบคุม (control unit) และหน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU)
5. หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้
งาน หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี หน่วยความจาหลักแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
รอม และแรม
6. หน่วยความจารอง มีไว้เพื่อใช้เก็บข้อมูลที่ต้องการใช้งานต่อ และเมื่อต้องการใช้
งานเมื่อไรก็จะถ่ายข้อมูลจากหน่วยความจารองมาไว้ที่หน่วยความจาหลักที่เป็นแรม เพื่อให้หน่วย
ประมวลผลทางาน หน่วยความจารองที่ใช้กันในระบบคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท เช่น แผ่น
บันทึก ฮาร์ดดิสก์
7. หน่วยส่งออก เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผล หรือ
เก็บไว้ในหน่วยความจารอง เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่ง หน่วยส่งออกที่ใช้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ได้
2. บอกส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได้
3. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได้
4. บอกส่วนประกอบของหน่วยรับเข้าได้
5. บอกส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางได้
6. บอกส่วนประกอบของหน่วยความจาหลักได้
7. บอกส่วนประกอบของหน่วยความจารองได้
8. บอกส่วนประกอบของหน่วยแสดงผลได้
5
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ก่อนเรียน)
หน่วยที่ 4 เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ก. ฮาร์ดแวร์
ข. ซอฟต์แวร์
ค. พีเพิลแวร์
ง. ถูกทุกข้อ
2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ย่อมาจากคาในข้อใด
ก. Center Processor Unit
ข. Center Procesing Unit
ค. Central Processor Unit
ง. Central Processing Unit
3. หน่วยใดของ CPU ทาหน้าที่คานวณทางคณิตศาสตร์
ก. หน่วยคานวณและตรรกะ
ข. หน่วยควบคุม
ค. หน่วยรับเข้า
ง. หน่วยวิเคราะห์
4. หน่วยความจาที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมขณะที่กาลังทางานเท่านั้น
ก. ROM
ข. RAM
ค. Hard Disk
ง. Floppy Disk
6
5. หน่วยความจาใดเป็นหน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียวเท่านั้น
ก. ROM
ข. RAM
ค. Hard Disk
ง. Floppy Disk
6. ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ของหน่วยความจาสารองได้ถูกต้อง
ก. บรรจุคาสั่งในการตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ
ข. เก็บข้อมูลและชุดคาสั่งไว้ใช้งานต่อไป
ค. เก็บชุดคาสั่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการประมวลผล
ง. ถูกทั้ง ข และ ค
7. แผ่นบันทึก ทาหน้าที่ตรงกับข้อใด
ก. หน่วยรับโปรแกรมและข้อมูล
ข. หน่วยประมวลผลกลาง
ค. หน่วยความจาหลัก
ง. หน่วยความจารอง
8. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่ตรงตามข้อใด
ก. รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ข. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ค. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผล
ง. รับข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเตรียมประมวลผล
9. อุปกรณ์ในข้อใด ไม่อยู่ในหน่วยรับข้อมูล
ก. เมาส์
ข. จอภาพ
ค. ก้านควบคุม
ง. เครื่องขับแผ่นบันทึก
10. อุปกรณ์ใดอยู่ในหน่วยแสดงผล
ก. แป้นพิมพ์
ข. แผ่นบันทึก
ค. ลาโพง
ง. จอสัมผัส
7
11. อุปกรณ์ใดใช้ในการแสดงผล
ก. จอภาพ
ข. เครื่องพิมพ์
ค. ไมโครโฟน
ง. ก. และ ข. ถูก
12. หน่วยแสดงผลทาหน้าที่ตรงตามข้อใด
ก. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารอง
ข. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลัก
ค. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารองแสดง
ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล
ง. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลักแสดง
ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล
13. เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เรียกว่าอะไร
ก. ฮาร์ดแวร์
ข. ซอฟต์แวร์
ค. พีเพิลแวร์
ง. ซีพียู
14. ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์มีกี่หน่วย
ก. 2 หน่วย
ข. 3 หน่วย
ค. 4 หน่วย
ง. 5 หน่วย
15. อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในห้างสรรพสินค้าเพื่อให้อ่านรหัสของสินค้า คืออุปกรณ์ใด
ก. ก้านควบคุม
ข. เครื่องอ่านรหัสแท่ง
ค. แทร็กบอล
ง. จอสัมผัส
8
สาระการเรียนรู้/เนื้อหา
1. ระบบคอมพิวเตอร์
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความว่า คอมพิวเตอร์
คือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทาหน้าที่เสมือนสมองกลใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่
ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4
ประการเพื่อทดแทนข้อจากัดของมนุษย์เรียกว่า 4Sspecial ดังนี้
1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็น
เวลานาน นับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย
2. ความเร็ว (Speed) หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (ProcessingSpeed)
โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด เป็นตัวบ่งชี้
ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญส่วนหนึ่ง
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล
ตามลาดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะใน
ขั้นตอนการกาหนดโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลก่อนการประมวลผล
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิด ผลลัพธ์ที่
ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้
เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กาหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ
หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน
9
ระบบคอมพิวเตอร์ คือ องค์ประกอบหลักที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางาน
ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วคอมพิวเตอร์ ก็ไม่สามารถที่จะทางาน
ได้ ระบบของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย องค์ประกอบหลักที่สาคัญ 5 ส่วน คือฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ พีเพิลแวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ และกระบวนการทางาน
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
(Peripheral Devices) ที่เห็นได้หรือจับต้องได้ได้แก่ ส่วนประกอบทุกส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์
เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด
ซอฟต์แวร์ (Software) คือ โปรแกรมคาสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานโดย
โปรแกรมจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา หลังจากนั้นเครื่องจะทางานด้วยตนเองตามโปรแกรม
ภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม
พีเพิลแวร์ (Peopleware) หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ทั้งทรงตรง
และทางอ้อม บุคคลที่เกี่ยวข้องทางตรง ได้แก่ บุคคลที่ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เช่น
นักวิเคราะห์ระบบงาน โปรแกรมเมอร์ ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ทางอ้อม ได้แก่ ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้น
ตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูล
ให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆ ระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจ
จริง แต่สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน
กระบวนการทางาน (Procedure) หรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม
เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงิน
อัตโนมัติ
รูปที่ 4.1 ระบบคอมพิวเตอร์
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
10
2. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ คอมพิวเตอร์
มีจุดเด่น คือสามารถจัดการข้อมูล คิดคานวณตัวเลขจานวนมากได้รวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้
คอมพิวเตอร์ยังสามารถเก็บข้อมูลได้มาก เมื่อจัดเก็บแล้วสามารถเรียกค้น หรือคัดแยกได้อย่าง
ถูกต้องและรวดเร็ว โดยที่การดาเนินการต่างๆ จะเป็นไปตามเงื่อนไขที่โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์
กาหนดไว้
คอมพิวเตอร์ทางานตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรม ตามหลักการที่ จอห์น วอน นอยแมน
(John Von Neumann) เสนอและใช้กันมาจนถึงปัจจุบันคือ คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจาสาหรับ
เก็บซอฟต์แวร์และข้อมูล การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางานตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ก่อน
ล่วงหน้าแล้ว ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ เรียกรวมว่า ฮาร์ดแวร์ (hardware)
รูปที่ 4.2 ฮาร์ดแวร์
(ที่มา : satan-it.exteen.com/20080802/entry)
11
การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วย คือ
1. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจาหลักจากนั้นข้อมูล
จะถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลกลาง
2. หน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าที่ในการคิดคานวณหรือประมวลผลข้อมูล
โดยทาตามโปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก
3. หน่วยความจาหลัก เป็นหน่วยสาหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ
ประมวลผล ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางสามารถอ่าน เขียน จากหน่วยความจาหลักรวดเร็วมาก
ทาให้หน่วยประมวลผลกลางนามาตีความและกระทาตามได้อย่างรวดเร็ว
4. หน่วยความจารอง มีไว้สาหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ที่มีจานวนมากและ
ต้องการนามาใช้อีกในภายหลัง หากจะใช้งานก็มีการโอนถ่ายจากหน่วยความจารองมายัง
หน่วยความจาหลัก
5. หน่วยแสดงผล เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผล หรือ
เก็บไว้ในหน่วยความจารอง
รูปที่ 4.3 ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
3. หน่วยรับเข้า
เป็นอุปกรณ์ที่นาข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก ใช้ในการ
ประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูล มีหลายประเภท
12
รูปที่ 4.4 อุปกรณ์รับข้อมูล
(ที่มา: http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index1.htm)
1. แผงแป้นอักขระ (keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูล โดยรับข้อมูลจาก
การกดบนแผงแป้นอักขระ (keyboard) แล้วส่งรหัสให้กับคอมพิวเตอร์ แผงแป้นอักขระมาตรฐาน
ที่นิยมใช้กันมากในขณะนี้มีจานวนแป้น 101 แป้น แผงแป้นอักขระ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมใช้
กันโดยทั่วไป ซึ่งจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ๆ ดังนี้
รูปที่ 4.5 แผงแป้ นอักขระ (Keyboard)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
- แป้ นอักขระ (alphabetic keys) เป็ นแป้ นที่มีการจัดวางอักขระเหมือนกับ
แป้นพิมพ์ดีดทั่วไป
- แป้ นตัวเลข (numeric keypad) เป็นแป้ นตัวเลขทางขวามือ ถูกออกแบบมาเพื่อช่วย
อานวยความสะดวกสาหรับงานที่ต้องป้อนข้อมูลตัวเลขเป็นประจา
- แป้ นฟังก์ชัน (function keys) เป็นแป้ นที่อยู่บนแถวแรกของแป้ นพิมพ์ ใช้
สัญลักษณ์ F1-F12 แป้นฟังก์ชันเป็นแป้ นทางลัดในการเลือกคาสั่ง ซึ่งแต่ละแป้ นได้มีการบันทึก
คาสั่งไว้แล้ว และแป้ นฟังก์ชันของแต่ละโปรแกรมจะทาหน้าที่แตกต่างกันออกไป โปรแกรม
สาเร็จรูปส่วนใหญ่จะกาหนดแป้นฟังก์ชันเพื่อเข้าถึงคาสั่งโดยทางลัดได้
13
- แป้นลูกศร (arrow keys) เป็นแป้นที่ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์
- แป้ นควบคุม (control keys) เป็นแป้ นพิมพ์ที่ทาหน้าที่ร่วมกับแป้ นพิมพ์อื่น ๆ เช่น
แป้น Ctrl แป้น Shift และแป้น Alt เป็นต้น
รูปที่ 4.6 แผงแป้ นอักขระ (Keyboard)
(ที่มา : www.overclockzone.com/.../2008/01/47/)
นอกจากแป้นพิมพ์ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปแล้ว ยังมีแป้นพิมพ์แบบไร้สาย
wireless) ที่สามารถทางานกับคอมพิวเตอร์ผ่านแสงอินฟาเรด และยังมีปุ่มเมาส์อยู่บนแป้ นพิมพ์
ด้วย นอกจากนี้ยังมีแป้ นพิมพ์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับงานเฉพาะด้านเพื่อเป็นการอานวย ความ
สะดวกและรวดเร็วในการบันทึก ตัวอย่างเช่น แป้นพิมพ์เพื่องานธนาคาร ร้านอาหารจานด่วน (fast
food) ตู้ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) เป็นต้น
รูปภาพที่ 4.7 แป้ นพิมพ์ที่ใช้กับตู้ ATM
(ที่มา: http://www.wangjianshuo.com/personal/places/
pudongairport/shanghai.pvg-ATM-large.jpg)
14
2. เมาส์ (mouse)
เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถเลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ มีลักษณะ
เป็นปุ่มกดครอบอยู่กับลูกกลมที่เมื่อลากไปกับพื้นแล้วจะมีการส่งสัญญาณ ตามแนวแกน x และ
แกน y เข้าสู่คอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีหลายรูปแบบให้ผู้ใช้เลือกใช้ตามความต้องการ
รูปที่ 4.8 เมาส์
(ที่มา : http://home.kku.ac.th/regis/student/success/hardware_1.html )
3. แทร็กบอล (trackball)
คือ ลูกกลมที่กลิ้งไปมาวางอยู่ในเบ้า ผู้ใช้สามารถบังคับลูกกลมให้หมุนไปมา เพื่อ
ควบคุมการทางานของตัวชี้บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีการสร้างแทรกบอลไว้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ก เพราะสะดวกต่อการใช้และใช้พื้นที่น้อย
รูปที่ 4.9 ชนิดของแทร็กบอล
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
15
4. ก้านควบคุม
มีลักษณะเป็นก้านโยกซึ่งโยกได้หลายทิศทาง ขณะที่โยกก้านไปมาตาแหน่งของตัวชี้จะ
เปลี่ยนไปด้วย ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ก้านควบคุมมักเป็นอุปกรณ์ที่
นิยมใช้กันมากในการเล่นเกม
รูปที่ 4.10 ก้านควบคุม
(ที่มา: http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/computer/input.htm)
5. เครื่องกราดตรวจ (scanner)
รูปที่ 4.11 เครื่องกราดตรวจ
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
เป็ นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีของการผ่านแสง เพื่อทาการอ่านรหัส
สัญลักษณ์ หรือรูปภาพ แล้วให้คอมพิวเตอร์นาไปประมวลผลต่อไป เครื่องกราดตรวจช่วยให้การ
รับข้อมูลทาได้รวดเร็วกว่าการกดแป้ นบนแผงแป้ นอักขระ อีกทั้งยังลดข้อผิดพลาดอันอาจเกิดจาก
การกดแป้นอีกด้วย เครื่องกราดตรวจที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วๆ ไปได้แก่
16
1) เครื่องกราดตรวจรายหน้า (page scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านรูปภาพหรือ
ตัวหนังสือ เช่น รูปถ่าย และสัญลักษณ์ต่างๆ
รูปที่ 4.12 เครื่องกราดตรวจรายหน้า
(ที่มา: http://www.thaigoodview.com/roomnet/roomnet46/IT46_4/index.html-page4.htm)
2) เครื่องอ่านรหัสแท่ง (bar code) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่ใช้สาหรับอ่านรหัสแท่ง (bar
code) ซึ่งเป็นแถบเส้นที่ประกอบด้วยเส้นขนาดแตกต่างกัน ใช้แทนรหัสข้อมูลต่างๆ การอ่านจะใช้
แสงส่องแถบเส้นทาให้เกิดการสะท้อนเพื่อรับรหัสเข้ามาตีความหมาย ปัจจุบันนิยมใช้ใน
ห้างสรรพสินค้า สินค้าทุกชนิดจะติดรหัสแท่งไว้ ผู้ขายใช้เครื่องอ่านเพื่อจะได้ทราบว่าเป็นรหัส
ของสินค้าใด ราคาเท่าใด และสามารถออกใบเสร็จรับเงินให้ได้อย่างอัตโนมัติ
รูปที่ 4.13 เครื่องอ่านรหัสแท่ง
(ที่มา : http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376068)
3) เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก(Magnetic-Ink Character Recognition: MICR)
ที่พบเห็นได้บ่อยครั้งคือ เครื่องอ่านตัวเลขที่พิมพ์อยู่บนตั๋วสัญญาใช้เงิน ตัวเลขเหล่านี้มีลักษณะ
พิเศษที่ทาให้เครื่องอ่านได้ เนื่องจากแต่ละวันธนาคารต้องรับและออกตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นจานวน
มาก จึงมีการใช้เครื่องอ่านตัวเลขช่วยในการอ่าน หรือเครื่องอ่านตัวเลขที่สานักงานไปรษณีย์ใช้
เพื่อช่วยแยกจดหมายตามรหัสไปรษณีย์
17
รูปที่ 4.14 เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก
(ที่มา : http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/p07/p7.html)
4) จอสัมผัส (touch screen) สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก
จอภาพสามารถรับข้อมูลไปประมวลผลได้โดยการสัมผัสบนบริเวณจอภาพ บริเวณจอภาพของจอ
สัมผัสประกอบด้วยตาข่ายของลาแสงอินฟาเรด เมื่อมีวัตถุมาสัมผัสบนจอภาพจะมีการส่ง
สัญญาณไฟฟ้ า ซึ่งสามารถระบุตาแหน่งบนจอภาพให้กับโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ได้ การใช้
งานจอสัมผัสมีความสะดวก แต่อาจผิดพลาดจากการระบุตาแหน่งบนจอภาพ ถ้าตาแหน่งบน
จอภาพมีขนาดเล็กเกินไป จอสัมผัสประยุกต์ใช้กับงานหลายอย่าง เช่น การจองตั๋วชมภาพยนตร์
การจองที่นั่งเพื่อรับประทานอาหาร
รูปที่ 4.15 จอสัมผัส
(ที่มา : http://atcloud.com/stories/66066)
5) กล้องถ่ายภาพดิจิตอล สามารถถ่ายภาพและบันทึกไว้ในหน่วยความจาภายในตัว
กล้อง จากนั้นสามารถส่งข้อมูลภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ได้
รูปที่ 4.16 กล้องถ่ายภาพดิจิตอล
(ที่มา : http://www.banchee.lopburi1.net/input_page_type.html)
18
4. หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลางเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซีพียูู (Central Processing Unit : CPU)
หน่วยประมวลผลกลางเป็นส่วนที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านการผลิต
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากจนถึงขั้นสามารถผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางทั้งวงจรไว้
ในชิปเพียงตัวเดียวได้ชิปหน่วยประมวลผลกลางนี้มีชื่อเรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์
รูปที่ 4.17 หน่วยประมวลผลกลาง
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ หน่วยควบคุม (control unit) และ
หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU)
หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการควบคุมลาดับการทางานภายในหน่วยประมวลผลกลาง
ระหว่างประมวลผล
หน่วยคานวณและตรรกะ ทาหน้าที่นาข้อมูลซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าแบบตัวเลขฐานสอง
มาประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์
รูปที่ 4.18 ผังแสดงหน่วยประมวลผลกลาง
(ที่มา: http://www.comcn.in.th/elearnning/e-learning%20kru_fon/WEB- computer/ct103A2.html)
19
พัฒนาการของหน่วยประมวลผลกลางได้เริ่มจากการให้หน่วยประมวลผลกลางอ่านข้อมูล
จากหน่วยความจาหลักด้วยรหัสเลขฐานสอง ครั้งละ 8 บิต เรียกซีพียูแบบนี้ว่าซีพียูขนาด 8 บิต
ต่อมาเมื่อสร้างหน่วยประมวลผลกลางได้ดีขึ้นทาให้อ่านคาสั่งหรือข้อมูลเข้ามาได้ครั้งละ 16 บิต
การประมวลผลก็กระทา ครั้งละ 16 บิตด้วย เรียกซีพียูแบบนี้ว่าซีพียูขนาด 16 บิต ปัจจุบันซีพียูที่ใช้
งานสามารถอ่านคาสั่ง หรือข้อมูลได้ถึงครั้งละ 128 บิต ทาให้ทางานได้มากและรวดเร็วขึ้น
ซีพียู 8 บิต ซีพียู 16 บิต ซีพียู 32 บิต
รูปที่ 4.19 พัฒนาการของหน่วยประมวลผลกลาง
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
วิวัฒนาการของไมโครโพรเซสเซอร์
1. ไมโครโพรเซสเซอร์ 8086 เริ่มพัฒนาและนาออกมาใช้งานตั้งแต่ พ.ศ.2523เป็น
ซีพียูขนาด 16 บิต ซีพียูรุ่นนี้มีโครงสร้างการทางานที่ต่อเชื่อมกับหน่วยความจาหลักโดยตรง
ได้มากถึง 1 เมกะไบต์ หน่วยของหน่วยความจา เป็นดังนี้
1 ไบต์ (byte)
1 กิโลไบต์(kilobyte)
1 เมกะไบต์(megabyte)
1 กิกะไบต์(gigabyte)
เท่ากับ
เท่ากับ
เท่ากับ
เท่ากับ
8 บิต
1024 ไบต์
1024 กิโลไบต์
1024 เมกะไบต์
20
รูปที่ 4.20 ไมโครโปรเซสเซอร์ 8086
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
2. ไมโครโพรเซสเซอร์ 80286 เป็นพัฒนาการรุ่นต่อมาของ 8086 เป็นไมโครโพรเซสเซอร์
ขนาด 16 บิต แต่สามารถเชื่อมต่อกับหน่วยความจาหลักได้โดยตรงถึง 16 เมกะไบต์
รูปที่ 4.21 ไมโครโปรเซสเซอร์ 80286
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
3. ไมโครโพรเซสเซอร์ 80386 เป็นซีพียูรุ่นที่สามที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์ เป็น
ไมโครโพรเซสเซอร์ขนาด 32 บิต มีประสิทธิภาพการทางานได้ดีกว่า 80286โดยเฉพาะโครงสร้าง
การเชื่อมต่อกับหน่วยความจาสามารถต่อได้ถึง 4 กิกะไบต์
รูปที่ 4.22 ไมโครโปรเซสเซอร์ 80386
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
21
4. ไมโครโพรเซสเซอร์ 80486 พัฒนาต่อเนื่องมาจาก 80386 เพิ่มขีดความสามารถ
ในการคานวณจานวนจริง ไมโครโพรเซสเซอร์นี้มีสถาปัตยกรรมที่ซับซ้อนขึ้น มีจานวนทรานซิสเตอร์
กว่าหนึ่งล้านตัวในชิพเดียวกัน
รูปที่ 4.23 ไมโครโปรเซสเซอร์ 80486
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
5. ไมโครโพรเซสเซอร์ที่สูงกว่าไมโครโพรเซสเซอร์ 80486 บริษัทผู้ผลิตได้เปลี่ยน
ชื่อรุ่นซีพียูจากการใช้หมายเลขมาเป็นชื่อทางการค้า เช่น เพนเที่ยม (pentium) เอทรอน (athlon)
ซึ่งซีพียูนี้มีจานวนทรานซิสเตอร์มากกว่าสามล้านตัว
เป็นซีพียูขนาด 64 บิต และทางานได้เร็วกว่า
ไมโครโพรเซสเซอร์ 80486 โดยเฉพาะมีการทางาน
ภายในด้วยกระบวนการทางานแบบขนานเพื่อให้ทางาน
ได้เร็วขึ้น
รูปที่ 4.24 ซีพียู ขนาด 64 บิต
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
รูปที่ 4.25 แสดงรุ่นของไมโครโปรเซสเซอร์
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
22
5. หน่วยความจาหลัก
หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งาน
หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี วงจรหน่วยความจาจะเก็บข้อมูลในรูปตัว
เลขฐานสอง
รูปที่ 4.26 หน่วยความจาหลัก (RAM)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
หน่วยความจาหลักที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น
1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลสาหรับ
ใช้งานทั่วไป การอ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียนและการอ่าน จะกระทาแบบการ
เข้าถึงโดยสุ่มคือเรียกไปที่ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจานี้เรียกว่า แรม หน่วยความจา
ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่กระแสไฟฟ้ าจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้ าดับเมื่อไรข้อมูลก็จะสูญ
หายทันที
รูปที่ 4.27 แรม (Random Access Memory : RAM)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
23
2. รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งที่มีการ
อ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม หน่วยความจาประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุ โปรแกรม
สาคัญบางอย่าง เมื่อเปิดเครื่องซีพียูจะเริ่มต้นทางานทันทีข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ในรอมจะถูก
บันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้ไม่สามารถเขียนข้อมูลใดๆ ลงไปได้แต่สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว
ข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวรแม้จะปิดเครื่องข้อมูลหรือโปรแกรมก็จะไม่ถูก
ลบไป
รูปที่ 4.28 รอม (Read Only Memory : ROM)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
6. หน่วยความจารอง
แรมเป็นหน่วยความจาหลักสาหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ขณะทางาน ข้อมูลหรือ
ซอฟต์แวร์เหล่านี้จะถูกลบทิ้งไปถ้าปิดเครื่องหรือไฟดับ ดังนั้นจึงต้องมีหน่วยความจารองเพื่อใช้
เก็บข้อมูลที่ต้องการใช้งานต่อไป หน่วยความจารองที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท
เช่น
1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette)
ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มีหน่วยขับแผ่นบันทึกอย่างน้อยหนึ่งตัว แผ่นบันทึกที่
นิยมใช้ในปัจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว ตัวแผ่นบันทึกเป็นแผ่นบางฉาบผิวด้วย สารแม่เหล็กยู่ใน
กรอบพลาสติกแข็งเพื่อป้องกันการขีดข่วน
การเก็บข้อมูลจะทาโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่นปกติใช้ได้ทั้งสองด้าน หัวอ่าน
ของเครื่องขับจึงมีสองหัว แผ่นจะหมุนด้วยความเร็วคงที่ หัวอ่านวิ่งเข้าออกเพื่ออ่านข้อมูล
ในตาแหน่งที่อยู่ที่ต้องการ ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจะแบ่งเป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) แต่ละแทร็ก
จะแบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูลเรียกว่า เซกเตอร์ (sector) แผ่นบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว มีความจุ 1.44
เมกะไบต์ ในอดีตมีการใช้แผ่นบันทึกขนาด 5.25 นิ้ว ซึ่งมีความจุ 1.2 เมกะไบต์
24
รูปที่ 4.29 แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
2. ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
จะประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็งที่เคลือบสารแม่เหล็กหลายแผ่นเรียงซ้อนกัน
หัวอ่านของหน่วยขับจะมีหลายหัว ขณะที่แผ่นบันทึกแต่ละแผ่นหมุนหัวอ่านจะเคลื่อนที่เข้าออก
เพื่ออ่านข้อมูลที่เก็บบนพื้นผิวแผ่น การเก็บข้อมูลในแต่ละแผ่นจะเป็นวง เรียกแต่ละวงของทุก
แผ่นบันทึกว่า ไซลินเดอร์ (cylinder) แต่ละไซลินเดอร์ จะแบ่งเป็น เซกเตอร์แต่ละเซกเตอร์เก็บ
ข้อมูลเป็นชุดๆ
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก ขนาดของฮาร์ดดิสก์มีความจุเป็น
กิกะไบต์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ความจุ 15 กิกะไบต์ การเขียนอ่านข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ จะกระทาเป็น
เซกเตอร์ และเขียนอ่านได้เร็วมาก เวลาที่ใช้ในการวัดการเข้าถึงข้อมูลมีหน่วยเป็นมิลลิวินาที
รูปที่ 4.30 ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
25
3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape)
เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว ลักษณะของเทปเป็นแถบสายพลาสติก เคลือบ
ด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทปบันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนมาก มีการจัดเก็บ
และเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลาดับ การประยุกต์ใช้เน้นใช้สาหรับสารองข้อมูลเพื่อความมั่นใจ เช่น
ถ้าฮาร์ดดิสก์เสียหายข้อมูลในฮาร์ดดิสก์อาจเสียหายได้ จึงจาเป็นต้องเก็บสารองไว้
รูปที่ 4.31 เทปแม่เหล็ก (magnetic tape)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
4. แผ่นซีดี (CD-ROM)
วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจารองได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลาดับ ปัจจุบันได้มีการ
ประดิษฐ์แผ่นซีดี (CompactDisk:CD)ใช้ในการเก็บข้อมูลจานวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้
หลักการทางแสงทาให้สามารถเก็บข้อมูลแบบดิจิตอลได้ แผ่นซีดีที่นิยมใช้มากเป็นแผ่นซีดีที่อ่าน
ได้อย่างเดียว เรียกกันว่า ซีดีรอม (CD ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิต
เหมือนการบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์ ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูลได้มาก สามารถ
เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น แผ่นซีดีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
5 นิ้ว ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตแผ่นซีดีได้ก้าวหน้าขึ้น สามารถเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดีได้
เหมือนฮาร์ดดิสก์ เรียกว่า ออปติคัลดิสก์ (optical disk)
รูปที่ 4.32 แผ่นซีดี (CD-ROM)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
26
5. หน่วยความจาแบบแฟลช (flash memory)
เป็นหน่วยความจาประเภทรอมที่เรียกว่า อีอีพร็อม (Electrically Erasable Programmable
Read Only Memory : EEPROM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีของรอมและแรมรวมกัน ให้หน่วยความจา
ชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูลได้เหมือนฮาร์ดดิสก์ คือสามารถเก็บและลบข้อมูลได้ตามต้องการและ
ถ่ายโอนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยความจาชนิดนี้มีขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก
ปัจจุบันสามารถเก็บข้อมูลได้มาก
รูปที่ 4.33 หน่วยความจาแบบแฟลช (flash memory)
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
7. หน่วยแสดงผล
หน่วยแสดงผลเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่ง อุปกรณ์ส่งออกที่ใช้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ทั่วไป คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์
1. จอภาพ (monitor)
มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทั่วไป การส่งออกของข้อมูลจะปรากฏบน
จอภาพ ซึ่งแสดงได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถแสดงรูปภาพได้ด้วย
จอภาพมี 2 แบบคือ ซีอาร์ที (Cathode Ray Tube : CRT) ใช้เทคโนโลยีของหลอดรังสีอิเล็กตรอน
เช่นเดียวกับจอโทรทัศน์ในการทาให้เกิดภาพ และจอแบบแอลซีดี (Liquid Crystral Display : LCD)
ใช้เทคโนโลยีของการบรรจุของเหลวไว้ภายในจอ เช่นเดียวกับหน้าปัดนาฬิกาในระบบตัวเลข การ
แสดงผลบนจอภาพจะแสดงด้วยจุดเล็กๆ ตามแนวนอนและแนวตั้ง แต่เดิมจอภาพแสดงผลได้เพียง
สีเดียว พัฒนาการต่อมาทาให้การแสดงผลเป็นสีหลายสีได้ นอกจากนี้ยังมีความละเอียดมากขึ้น
จอภาพโดยทั่วไปจะมีขนาด 15 นิ้ว หรือ 17 นิ้ว การแสดงผลของจอภาพควบคุมโดยแผงวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเ ตอร์
27
รูปที่ 4.34 จอภาพ
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
2. เครื่องพิมพ์ (printer)
เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทตามเทคโนโลยีการพิมพ์เครื่องพิมพ์เป็น
อุปกรณ์ส่งออกที่พิมพ์ลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีดังนี้
1) เครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix printer)
เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีหัวยิงเป็นเข็มขนาดเล็ก พุ่งไปชนแผ่นผ้าหมึกเพื่อให้หมึกติดบน
กระดาษเป็นจุดเล็กๆ หลายๆ จุดเรียงกันเป็นตัวหนังสือหรือรูปภาพ หัวเข็มที่ใช้ยิงไปยังผ้าหมึกมี
จานวนหลายหัว โดยปกติใช้ขนาด 24 หัวเข็ม ซึ่งจัดวางเรียงกันในแนวตั้งทาให้ได้ตัวหนังสือที่
ละเอียดพอควร
รูปที่ 4.35 เครื่องพิมพ์แบบจุด
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
2) เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer)
เป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้ความคมชัดและความละเอียดสูง การพิมพ์จะใช้หลักการทางแสง
ปกติมีความละเอียดไม่น้อยกว่า 600 จุดต่อนิ้ว เครื่องพิมพ์เลเซอร์จึงเป็นเครื่องพิมพ์ที่เหมาะกับ
งานพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพ พัฒนาการทางเทคโนโลยีทาให้เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ได้รับความนิยม
สูงขึ้นเพราะเมื่อเทียบประสิทธิภาพ ต่อราคาแล้วเครื่องพิมพ์ชนิดนี้เหมาะที่จะใช้ในสานักงาน
แต่ไม่สามารถพิมพ์สาเนากระดาษคาร์บอนได้
28
รูปที่ 4.36 เครื่องพิมพ์เลเซอร์
(ที่มา: http://social.eduzones.com/dotnetengcom/17376)
3) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (inkjet printer)
เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการพ่นหมึกและผสมสีจากแม่สีสามสี คือแดง เหลืองและ
น้าเงิน โดยจะผสมสีให้ได้สีตามความต้องการและพ่นหมึกเพื่อให้ติดบนกระดาษ ในปัจจุบัน
เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึกเป็นที่นิยมกันมาก เนื่องจากสามารถพิมพ์รูปภาพออกมาเป็นสีที่สวยงาม
รูปที่ 4.37 เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก
(ที่มา : http://58.147.80.102/online1/Webpage1/File6.htm)
4) เครื่องพิมพ์รายบรรทัด (line printer)
เครื่องพิมพ์ชนิดนี้มีความเร็วในการพิมพ์สูงมาก สามารถพิมพ์ได้หลายร้อยบรรทัดต่อ
นาที กล่าวคือ มีความเร็วในการพิมพ์ได้ถึง 2000 บรรทัดต่อนาที ลักษณะการพิมพ์มีหลายแบบ บาง
แบบใช้พิมพ์ด้วยแถบโซ่ตัวอักษรที่หมุนอยู่ และมีคันเคาะตัวอักษรในตาแหน่งที่กาหนด บางแบบ
ใช้หัวยิงแบบจุด แต่มีจานวนหัวยิงเป็นจานวนมากเพื่อให้พิมพ์ได้เร็ว เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จึงเหมาะกับ
ศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ต้องพิมพ์รายงานเป็นจานวนมาก และพิมพ์อย่างต่อเนื่อง
29
รูปที่ 4.38 เครื่องพิมพ์รายบรรทัด
(ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
30
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
1. ให้พิจารณาว่าอุปกรณ์ต่อไปนี้เป็นอุปกรณ์ประเภทใด
ลาดับ
อุปกรณ์
ความ
จาหลัก
ความจา
รอง
หน่วย
รับเข้า
หน่วย
แสดงผล
หน่วย
ประมวลผล
1. เมาส์
2 ซีพียู
3 เครื่องอ่านรหัสแท่ง
4 เครื่องขับแผ่นบันทึก
5 จอภาพ
6 เครื่องขับแผ่นซีดี
7 ก้านควบคุม
8 ลาโพง
9 แผงแป้นอักขระ
10 เครื่องพิมพ์
11 แรม
12 แผ่นบันทึก
13 ฮาร์ดดิสก์
14 แผ่นซีดี
15 รอม
2. บอกจุดเด่นของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการประมวลผลข้อมูล
3. บอกส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์
4. หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกได้เป็นกี่หน่วย อะไรบ้าง จงอธิบาย
5. บอกหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลาง
6. บอกหน่วยความจาหลัก
7. บอกความแตกต่างของหน่วยความจาหลักรอมและหน่วยความจาหลักแรม
31
8 บอกหน้าที่ของหน่วยความจาหลักและหน่วยความจารอง
9. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยรับเข้า พร้อมอธิบาย
10. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยแสดงผล พร้อมอธิบาย
32
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
1. ให้พิจารณาว่าอุปกรณ์ต่อไปนี้เป็นอุปกรณ์ประเภทใด
ลาดับ อุปกรณ์ ความ
จาหลัก
ความจา
รอง
หน่วย
รับเข้า
หน่วย
แสดงผล
หน่วย
ประมวลผล
1. เมาส์ 
2 ซีพียู 
3 เครื่องอ่านรหัสแท่ง 
4 เครื่องขับแผ่นบันทึก 
5 จอภาพ 
6 เครื่องขับแผ่นซีดี 
7 ก้านควบคุม 
8 ลาโพง 
9 แผงแป้นอักขระ 
10 เครื่องพิมพ์ 
11 แรม 
12 แผ่นบันทึก 
13 ฮาร์ดดิสก์ 
14 แผ่นซีดี 
15 รอม 
33
2. บอกจุดเด่นของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการประมวลผลข้อมูล
เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจากัดของ
มนุษย์เรียกว่า 4 S special ดังนี้
1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็น
เวลานานนับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติของเครื่อง
คอมพิวเตอร์
2. ความเร็ว (Speed) หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล โดยใช้เวลา
น้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล
ตามลาดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่
ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
3. บอกส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วย คือ
1. หน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าที่ในการคานวณหรือแประมวลผลข้อมูล โดยทาตาม
โปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก
2. หน่วยความจาหลัก เป็นหน่วยสาหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผล
ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางสามารถอ่าน เขียนจากหน่วยความจาหลักรวดเร็วมาก ทาให้หน่วย
ประมวลผลกลางนามาตีความและกระทาตามได้อย่างรวดเร็ว
3. หน่วยความจารอง มีไว้สาหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ที่มีจานวนมาก และต้อง
การนามาใช้อีกในภายหลัง เมื่อจะใช้งานก็มีการโอนถ่ายจากหน่วยความจารองมายังหน่วยความ
จาหลัก
4. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาเก็บไว้บนหน่วยความจาหลัก จากนั้นข้อมูล
จะถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลกลาง
5. หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผลหรือเก็บ
ไว้ในหน่วยความจารอง
34
4. หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกได้เป็นกี่หน่วย อะไรบ้าง จงอธิบาย
หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ หน่วยควบคุม (control unit) และ
หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU)
หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการควบคุมลาดับการทางานภายในหน่วยประมวลผลกลาง
ระหว่างประมวลผล
หน่วยคานวณและตรรกะ ทาหน้าที่นาข้อมูลซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าแบบตัวเลขฐานสอง
มาประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์
5. บอกหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นา
คาสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจามาแปลความหมาย และกระทาตามคาสั่งพื้นฐานของ
ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง
6. บอกหน่วยของหน่วยความจาหลัก
หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้
งานได้ หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี วงจรหน่วยความจาจะเก็บข้อมูลในรูปตัว
เลขฐานสอง หน่วยความจาหลักที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิง
ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม หน่วยความจาประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุ โปรแกรมสาคัญ
บางอย่างเพื่อว่าเมื่อเปิดเครื่องมาซีพียูจะเริ่มต้นทางานได้ทันที ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ใน
รอมจะถูกบันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้ไม่สามารถเขียนข้อมูลใดๆ ลงไปได้แต่สามารถอ่านข้อมูลได้
อย่างเดียว ข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิ ดเครื่องข้อมูลหรือ
โปรแกรมก็จะไม่ถูกลบไป
แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลสาหรับใช้งาน
ทั่วไป การอ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆเพื่อการเขียนและการอ่านจะกระทาแบบการเข้าถึง
โดยสุ่ม คือเรียกไปที่ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจานี้เรียกว่า แรม
หน่วยความจาประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่กระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจร ถ้าไฟฟ้า
ดับเมื่อไรข้อมูลก็จะสูญหายทันที
35
7. บอกความแตกต่างของหน่วยความจาหลักรอมและหน่วยความจาหลักแรม
ความแตกต่างของหน่วยความจาหลักรอมและหน่วยความจาหลักแรม คือ
หน่วยความจารอม จะอ่านข้อมูลมาใช้งานได้เพียงอย่างเดียว แต่จะเขียนข้อมูลใหม่เข้าไปไม่ได้
ข้อมูลในรอมจึงเป็นข้อมูลที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง หน่วยความจาแรม ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่
ในตาแหน่งใด เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถนาข้อมูลไปเก็บ (เขียน) หรือดึงข้อมูลออกมา (อ่าน) จาก
แรมได้ ข้อมูลในแรมจะเปลี่ยนไปก็ต่อเมื่อมีการนาเอาข้อมูลใหม่เข้ามาแทนที่ หรือเมื่อปิดเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ข้อมูลทั้งหมดในแรมจะหายไป
8. บอกหน้าที่ของหน่วยความจาหลักและหน่วยความจารอง
หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งาน
ได้ หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี วงจรหน่วยความจาจะเก็บข้อมูลในรูปตัว
เลขฐานสอง
หน่วยความจารอง มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่ต้องการใช้งานต่อ และหากต้องการใช้งาน
เมื่อไรก็จะถ่ายจากหน่วยความจารองมาไว้ที่หน่วยความจาหลักที่เป็นแรมเพื่อให้หน่วยประมวลผล
ทางาน
9. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยรับเข้า พร้อมอธิบาย
หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นาข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจา
หลัก ใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท
1. แผงแป้ นอักขระ (keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูล โดยรับข้อมูลจาการ
กดบนแผงแป้ นอักขระ (keyboard) แล้วส่งรหัสให้กับคอมพิวเตอร์ แผงแป้ นอักขระมาตรฐานที่
นิยมใช้กันมากในขณะนี้มีจานวนแป้น101 แป้น
2. เมาส์ (mouse) เป็นอุปกรณ์รับเข้าอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นปุ่มกดครอบอยู่กับ ลูก
กลมที่เมื่อลากไปกับพื้นแล้วจะมีการ ส่งสัญญาณ ตามแนวแกน x และแกน y เข้าสู่ คอมพิวเตอร์
3. แทร็กบอล (trackball) คือ ลูกกลมที่กลิ้งไปมาวางอยู่ในเบ้า ผู้ใช้สามารถ บังคับลูก
กลมให้หมุนไปมาเพื่อควบคุมการทางานของตัวชี้บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ปัจจุบันมีการสร้างแทรก
บอลไว้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ก เพราะสะดวกต่อการใช้และใช้พื้นที่น้อย
36
4. ก้านควบคุม มีลักษณะเป็นก้านโยกซึ่งโยกได้หลายทิศทาง ขณะที่โยกก้านไปมา
ตาแหน่งของตัวชี้จะเปลี่ยนไปด้วยเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่
นิยมใช้กันมากในการเล่นเกม
5. เครื่องกราดตรวจ (scanner) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีของการผ่าน
แสงเพื่อทาการอ่านรหัสสัญลักษณ์หรือรูปภาพ แล้วให้คอมพิวเตอร์นาไปประมวลผลต่อไป
เครื่องกราดตรวจที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วๆ ไปได้แก่
- เครื่องกราดตรวจรายหน้า (page scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านรูปภาพหรือ
ตัวหนังสือ เช่น รูปถ่าย และ สัญลักษณ์ต่างๆ เป็นต้น
- เครื่องอ่านรหัสแท่ง (bar code) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่ใช้สาหรับอ่านรหัสแท่ง
(bar code) ซึ่งเป็นแถบเส้นที่ประกอบด้วยเส้นขนาดแตกต่างกัน ใช้แทนรหัสข้อมูลต่างๆ การอ่าน
จะใช้แสงส่องแถบเส้นทาให้เกิดการสะท้อนเพื่อรับรหัสเข้ามาตี
ความหมาย
นิยมใช้ในห้างสรรพสินค้า
6. เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (Magnetic-Ink Character Recognition: MICR) ที่พบ
เห็นได้บ่อยครั้งคือ เครื่องอ่านตัวเลขที่พิมพ์อยู่บนตั๋วสัญญาใช้เงิน ตัวเลขเหล่านี้มีลักษณะพิเศษที่
ทาให้เครื่องอ่านได้มีการใช้เครื่องอ่านตัวเลขช่วยในการอ่าน หรือเครื่องอ่านตัวเลขที่สานักงาน
ไปรษณีย์ใช้เพื่อช่วยแยกจดหมายตามรหัสไปรษณีย์
7. จอสัมผัส (touch screen) สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก จอภาพ
สามารถรับข้อมูลไปประมวลผลได้โดยการสัมผัสบนบริเวณจอภาพ บริเวณจอภาพของจอสัมผัส
ประกอบด้วยตาข่ายของลาแสงอินฟาเรด เมื่อมีวัตถุมาสัมผัสบนจอภาพจะมีการส่งสัญญาณไฟฟ้ า
ซึ่งสามารถระบุตาแหน่งบนจอภาพให้กับโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ได้ เช่น การจองตั๋วชม
ภาพยนตร์ การจองที่นั่งเพื่อรับประทานอาหาร
8. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล สามารถถ่ายภาพและบันทึกไว้ในหน่วยความจาภายในตัว
กล้อง จากนั้นสามารถส่งข้อมูลภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ได้
10. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยแสดงผล พร้อมอธิบาย
หน่วยแสดงผลเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่ง ตัวอย่างเช่น
1. จอภาพ (monitor) มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทั่วไป การส่งออกของ
ข้อมูลจะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถแสดง
37
รูปภาพได้ด้วย จอภาพ มี 2 แบบคือ ซีอาร์ที (Cathode Ray Tube : CRT) ใช้เทคโนโลยีของหลอด
รังสีอิเล็กตรอน เช่นเดียวกับจอโทรทัศน์ในการทาให้เกิดภาพ และจอแบบแอลซีดี (Liquid Crystral
Display : LCD) ใช้เทคโนโลยีของการบรรจุของเหลวไว้ภายในจอ เช่นเดียวกับหน้าปัดนาฬิกาใน
ระบบตัวเลข
2. เครื่องพิมพ์(printer) เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทตามเทคโนโลยี
การพิมพ์ เครื่องพิมพ์เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่พิมพ์ลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มี
ดังนี้
1. เครื่องพิมพ์แบบจุด เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีหัวยิงเป็นเข็มขนาดเล็ก พุ่งไปชนแผ่น
ผ้าหมึก เพื่อให้หมึกติดบนกระดาษเป็นจุดเล็กๆ หลายๆ จุดเรียงกันเป็นตัวหนังสือหรือรูปภาพ
2. เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้ความคมชัดและความละเอียดสูง
การพิมพ์จะใช้หลักการทางแสง ปกติมีความละเอียดไม่น้อยกว่า 600 จุดต่อนิ้ว
3. เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการพ่นหมึกและผสมสีจากแม่สี
สามสีคือแดง เหลืองและน้าเงิน โดยจะผสมสีให้ได้สีตามความต้องการและพ่นหมึกเพื่อให้ติดบน
กระดาษ
4. เครื่องพิมพ์รายบรรทัด เครื่องพิมพ์ชนิดนี้มีความเร็วในการพิมพ์สูงมาก
เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จึงเหมาะกับศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ต้องพิมพ์รายงานเป็นจานวนมาก และพิมพ์อย่าง
ต่อเนื่อง
38
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (หลังเรียน)
หน่วยที่ 4 เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ก. ฮาร์ดแวร์
ข. ซอฟต์แวร์
ค. พีเพิลแวร์
ง. ถูกทุกข้อ
2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ย่อมาจากคาในข้อใด
ก. Center Processor Unit
ข. Center Procesing Unit
ค. Central Processor Unit
ง. Central Processing Unit
3. หน่วยใดของ CPU ทาหน้าที่คานวณทางคณิตศาสตร์
ก. หน่วยคานวณและตรรกะ
ข. หน่วยควบคุม
ค. หน่วยรับเข้า
ง. หน่วยวิเคราะห์
4. หน่วยความจาที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมขณะที่กาลังทางานเท่านั้น
ก. ROM
ข. RAM
ค. Hard Disk
ง. Floppy Disk
39
5. หน่วยความจาใดเป็นหน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียวเท่านั้น
ก. ROM
ข. RAM
ค. Hard Disk
ง. Floppy Disk
6. ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ของหน่วยความจาสารองได้ถูกต้อง
ก. บรรจุคาสั่งในการตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ
ข. เก็บข้อมูลและชุดคาสั่งไว้ใช้งานต่อไป
ค. เก็บชุดคาสั่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการประมวลผล
ง. ถูกทั้ง ข และ ค
7. แผ่นบันทึก ทาหน้าที่ตรงกับข้อใด
ก. หน่วยรับโปรแกรมและข้อมูล
ข. หน่วยประมวลผลกลาง
ค. หน่วยความจาหลัก
ง. หน่วยความจารอง
8. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่ตรงตามข้อใด
ก. รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ข. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ค. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผล
ง. รับข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเตรียมประมวลผล
9. อุปกรณ์ในข้อใด ไม่อยู่ในหน่วยรับข้อมูล
ก. เมาส์
ข. จอภาพ
ค. ก้านควบคุม
ง. เครื่องขับแผ่นบันทึก
10. อุปกรณ์ใดอยู่ในหน่วยแสดงผล
ก. แป้นพิมพ์
ข. แผ่นบันทึก
ค. ลาโพง
ง. จอสัมผัส
40
11. อุปกรณ์ใดใช้ในการแสดงผล
ก. จอภาพ
ข. เครื่องพิมพ์
ค. ไมโครโฟน
ง. ก. และ ข. ถูก
12. หน่วยแสดงผลทาหน้าที่ตรงตามข้อใด
ก. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารอง
ข. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลัก
ค. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารองแสดง
ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล
ง. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลักแสดง
ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล
13. เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เรียกว่าอะไร
ก. ฮาร์ดแวร์
ข. ซอฟต์แวร์
ค. พีเพิลแวร์
ง. ซีพียู
14. ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์มีกี่หน่วย
ก. 2 หน่วย
ข. 3 หน่วย
ค. 4 หน่วย
ง. 5 หน่วย
15. อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในห้างสรรพสินค้าเพื่อให้อ่านรหัสของสินค้า คืออุปกรณ์ใด
ก. ก้านควบคุม
ข. เครื่องอ่านรหัสแท่ง
ค. แทร็กบอล
ง. จอสัมผัส
41
เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน/หลังเรียน
หน่วยที่ 4 เรื่องเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ข้อที่ คาตอบ ข้อที่ คาตอบ
1 ง 11 ง
2 ง 12 ค
3 ก 13 ก
4 ข 14 ง
5 ก 15 ข
6 ง
7 ง
8 ง
9 ข
10 ค
รายงานคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

Poster asexual reproduction
Poster asexual  reproductionPoster asexual  reproduction
Poster asexual reproductionKuljiraPinthong
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSarinee Achavanuntakul
 
Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2PMAT
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
Internet as Social Media and Self-regulation of Netizens
Internet as Social Media and Self-regulation of NetizensInternet as Social Media and Self-regulation of Netizens
Internet as Social Media and Self-regulation of NetizensSarinee Achavanuntakul
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 

What's hot (10)

Poster asexual reproduction
Poster asexual  reproductionPoster asexual  reproduction
Poster asexual reproduction
 
Asexual reproduction
Asexual reproductionAsexual reproduction
Asexual reproduction
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and Netiquette
 
Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2Hwpresenthpwforum2
Hwpresenthpwforum2
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
Internet as Social Media and Self-regulation of Netizens
Internet as Social Media and Self-regulation of NetizensInternet as Social Media and Self-regulation of Netizens
Internet as Social Media and Self-regulation of Netizens
 
NECTEC Social Network
NECTEC Social NetworkNECTEC Social Network
NECTEC Social Network
 
Learn c21
Learn c21Learn c21
Learn c21
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 

รายงานคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงานเรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ โดย นางสาวหริณโรจน์ ขุมทอง เลขที่34 ห้อง6/11 เสนอ คุณครูประกาศิต ศรีสะอาด รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ ง30206 ภาคเรียนที่2/2560 โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล สพม.29
  • 2. 2 หน่วยที่ 4 เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ หัวเรื่อง 1. ระบบคอมพิวเตอร์ 2. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 3. หน่วยรับเข้า 4. หน่วยประมวลผลกลาง 5. หน่วยความจาหลัก 6. หน่วยความจารอง 7. หน่วยส่งออก แนวคิด 1. ระบบคอมพิวเตอร์ คือ องค์ประกอบหลักที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ ทางานได้อย่างสมบูรณ์ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะ ทางานได้ ระบบของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย องค์ประกอบหลัก ที่สาคัญ 5 ส่วน คือฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ และกระบวนการทางาน 2. การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางานตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ก่อนล่วงหน้า ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ เรียกรวมว่า ฮาร์ดแวร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วย คือ
  • 3. 3 1. หน่วยรับข้อมูล 2. หน่วยประมวลผลกลาง 3. หน่วยความจาหลัก 4. หน่วยความจารอง 5. หน่วยส่งออก 3. หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นาข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วย ความจาหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท เช่น แผงแป้นอักขระ เมาส์ แทร็กบอล ก้านควบคุม เครื่องกราดตรวจ เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก จอสัมผัส 4. หน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซีพียู (Central Processing Unit : CPU) หน่วยประมวลผลกลางเป็นส่วนที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลาง แบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ หน่วยควบคุม (control unit) และหน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU) 5. หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้ งาน หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี หน่วยความจาหลักแบ่งได้ 2 ประเภท คือ รอม และแรม 6. หน่วยความจารอง มีไว้เพื่อใช้เก็บข้อมูลที่ต้องการใช้งานต่อ และเมื่อต้องการใช้ งานเมื่อไรก็จะถ่ายข้อมูลจากหน่วยความจารองมาไว้ที่หน่วยความจาหลักที่เป็นแรม เพื่อให้หน่วย ประมวลผลทางาน หน่วยความจารองที่ใช้กันในระบบคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท เช่น แผ่น บันทึก ฮาร์ดดิสก์ 7. หน่วยส่งออก เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผล หรือ เก็บไว้ในหน่วยความจารอง เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่ง หน่วยส่งออกที่ใช้ในระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์
  • 4. 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ได้ 2. บอกส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได้ 3. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ได้ 4. บอกส่วนประกอบของหน่วยรับเข้าได้ 5. บอกส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางได้ 6. บอกส่วนประกอบของหน่วยความจาหลักได้ 7. บอกส่วนประกอบของหน่วยความจารองได้ 8. บอกส่วนประกอบของหน่วยแสดงผลได้
  • 5. 5 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ก่อนเรียน) หน่วยที่ 4 เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ก. ฮาร์ดแวร์ ข. ซอฟต์แวร์ ค. พีเพิลแวร์ ง. ถูกทุกข้อ 2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ย่อมาจากคาในข้อใด ก. Center Processor Unit ข. Center Procesing Unit ค. Central Processor Unit ง. Central Processing Unit 3. หน่วยใดของ CPU ทาหน้าที่คานวณทางคณิตศาสตร์ ก. หน่วยคานวณและตรรกะ ข. หน่วยควบคุม ค. หน่วยรับเข้า ง. หน่วยวิเคราะห์ 4. หน่วยความจาที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมขณะที่กาลังทางานเท่านั้น ก. ROM ข. RAM ค. Hard Disk ง. Floppy Disk
  • 6. 6 5. หน่วยความจาใดเป็นหน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียวเท่านั้น ก. ROM ข. RAM ค. Hard Disk ง. Floppy Disk 6. ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ของหน่วยความจาสารองได้ถูกต้อง ก. บรรจุคาสั่งในการตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ข. เก็บข้อมูลและชุดคาสั่งไว้ใช้งานต่อไป ค. เก็บชุดคาสั่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการประมวลผล ง. ถูกทั้ง ข และ ค 7. แผ่นบันทึก ทาหน้าที่ตรงกับข้อใด ก. หน่วยรับโปรแกรมและข้อมูล ข. หน่วยประมวลผลกลาง ค. หน่วยความจาหลัก ง. หน่วยความจารอง 8. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่ตรงตามข้อใด ก. รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ข. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ค. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผล ง. รับข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเตรียมประมวลผล 9. อุปกรณ์ในข้อใด ไม่อยู่ในหน่วยรับข้อมูล ก. เมาส์ ข. จอภาพ ค. ก้านควบคุม ง. เครื่องขับแผ่นบันทึก 10. อุปกรณ์ใดอยู่ในหน่วยแสดงผล ก. แป้นพิมพ์ ข. แผ่นบันทึก ค. ลาโพง ง. จอสัมผัส
  • 7. 7 11. อุปกรณ์ใดใช้ในการแสดงผล ก. จอภาพ ข. เครื่องพิมพ์ ค. ไมโครโฟน ง. ก. และ ข. ถูก 12. หน่วยแสดงผลทาหน้าที่ตรงตามข้อใด ก. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารอง ข. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลัก ค. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารองแสดง ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล ง. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลักแสดง ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล 13. เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เรียกว่าอะไร ก. ฮาร์ดแวร์ ข. ซอฟต์แวร์ ค. พีเพิลแวร์ ง. ซีพียู 14. ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์มีกี่หน่วย ก. 2 หน่วย ข. 3 หน่วย ค. 4 หน่วย ง. 5 หน่วย 15. อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในห้างสรรพสินค้าเพื่อให้อ่านรหัสของสินค้า คืออุปกรณ์ใด ก. ก้านควบคุม ข. เครื่องอ่านรหัสแท่ง ค. แทร็กบอล ง. จอสัมผัส
  • 8. 8 สาระการเรียนรู้/เนื้อหา 1. ระบบคอมพิวเตอร์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความว่า คอมพิวเตอร์ คือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทาหน้าที่เสมือนสมองกลใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการเพื่อทดแทนข้อจากัดของมนุษย์เรียกว่า 4Sspecial ดังนี้ 1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็น เวลานาน นับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติของเครื่อง คอมพิวเตอร์ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (ProcessingSpeed) โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญส่วนหนึ่ง 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล ตามลาดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะใน ขั้นตอนการกาหนดโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลก่อนการประมวลผล 4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิด ผลลัพธ์ที่ ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กาหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน
  • 9. 9 ระบบคอมพิวเตอร์ คือ องค์ประกอบหลักที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางาน ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วคอมพิวเตอร์ ก็ไม่สามารถที่จะทางาน ได้ ระบบของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย องค์ประกอบหลักที่สาคัญ 5 ส่วน คือฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ พีเพิลแวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ และกระบวนการทางาน ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง (Peripheral Devices) ที่เห็นได้หรือจับต้องได้ได้แก่ ส่วนประกอบทุกส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด ซอฟต์แวร์ (Software) คือ โปรแกรมคาสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานโดย โปรแกรมจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา หลังจากนั้นเครื่องจะทางานด้วยตนเองตามโปรแกรม ภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม พีเพิลแวร์ (Peopleware) หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ทั้งทรงตรง และทางอ้อม บุคคลที่เกี่ยวข้องทางตรง ได้แก่ บุคคลที่ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เช่น นักวิเคราะห์ระบบงาน โปรแกรมเมอร์ ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น บุคคลที่เกี่ยวข้อง ทางอ้อม ได้แก่ ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้น ตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูล ให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆ ระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจ จริง แต่สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน กระบวนการทางาน (Procedure) หรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงิน อัตโนมัติ รูปที่ 4.1 ระบบคอมพิวเตอร์ (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 10. 10 2. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ มีจุดเด่น คือสามารถจัดการข้อมูล คิดคานวณตัวเลขจานวนมากได้รวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ยังสามารถเก็บข้อมูลได้มาก เมื่อจัดเก็บแล้วสามารถเรียกค้น หรือคัดแยกได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว โดยที่การดาเนินการต่างๆ จะเป็นไปตามเงื่อนไขที่โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ กาหนดไว้ คอมพิวเตอร์ทางานตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรม ตามหลักการที่ จอห์น วอน นอยแมน (John Von Neumann) เสนอและใช้กันมาจนถึงปัจจุบันคือ คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจาสาหรับ เก็บซอฟต์แวร์และข้อมูล การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางานตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ก่อน ล่วงหน้าแล้ว ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ เรียกรวมว่า ฮาร์ดแวร์ (hardware) รูปที่ 4.2 ฮาร์ดแวร์ (ที่มา : satan-it.exteen.com/20080802/entry)
  • 11. 11 การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วย คือ 1. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจาหลักจากนั้นข้อมูล จะถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลกลาง 2. หน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าที่ในการคิดคานวณหรือประมวลผลข้อมูล โดยทาตามโปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก 3. หน่วยความจาหลัก เป็นหน่วยสาหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ ประมวลผล ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางสามารถอ่าน เขียน จากหน่วยความจาหลักรวดเร็วมาก ทาให้หน่วยประมวลผลกลางนามาตีความและกระทาตามได้อย่างรวดเร็ว 4. หน่วยความจารอง มีไว้สาหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ที่มีจานวนมากและ ต้องการนามาใช้อีกในภายหลัง หากจะใช้งานก็มีการโอนถ่ายจากหน่วยความจารองมายัง หน่วยความจาหลัก 5. หน่วยแสดงผล เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผล หรือ เก็บไว้ในหน่วยความจารอง รูปที่ 4.3 ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 3. หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นาข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก ใช้ในการ ประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูล มีหลายประเภท
  • 12. 12 รูปที่ 4.4 อุปกรณ์รับข้อมูล (ที่มา: http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index1.htm) 1. แผงแป้นอักขระ (keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูล โดยรับข้อมูลจาก การกดบนแผงแป้นอักขระ (keyboard) แล้วส่งรหัสให้กับคอมพิวเตอร์ แผงแป้นอักขระมาตรฐาน ที่นิยมใช้กันมากในขณะนี้มีจานวนแป้น 101 แป้น แผงแป้นอักขระ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมใช้ กันโดยทั่วไป ซึ่งจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ๆ ดังนี้ รูปที่ 4.5 แผงแป้ นอักขระ (Keyboard) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) - แป้ นอักขระ (alphabetic keys) เป็ นแป้ นที่มีการจัดวางอักขระเหมือนกับ แป้นพิมพ์ดีดทั่วไป - แป้ นตัวเลข (numeric keypad) เป็นแป้ นตัวเลขทางขวามือ ถูกออกแบบมาเพื่อช่วย อานวยความสะดวกสาหรับงานที่ต้องป้อนข้อมูลตัวเลขเป็นประจา - แป้ นฟังก์ชัน (function keys) เป็นแป้ นที่อยู่บนแถวแรกของแป้ นพิมพ์ ใช้ สัญลักษณ์ F1-F12 แป้นฟังก์ชันเป็นแป้ นทางลัดในการเลือกคาสั่ง ซึ่งแต่ละแป้ นได้มีการบันทึก คาสั่งไว้แล้ว และแป้ นฟังก์ชันของแต่ละโปรแกรมจะทาหน้าที่แตกต่างกันออกไป โปรแกรม สาเร็จรูปส่วนใหญ่จะกาหนดแป้นฟังก์ชันเพื่อเข้าถึงคาสั่งโดยทางลัดได้
  • 13. 13 - แป้นลูกศร (arrow keys) เป็นแป้นที่ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์ - แป้ นควบคุม (control keys) เป็นแป้ นพิมพ์ที่ทาหน้าที่ร่วมกับแป้ นพิมพ์อื่น ๆ เช่น แป้น Ctrl แป้น Shift และแป้น Alt เป็นต้น รูปที่ 4.6 แผงแป้ นอักขระ (Keyboard) (ที่มา : www.overclockzone.com/.../2008/01/47/) นอกจากแป้นพิมพ์ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปแล้ว ยังมีแป้นพิมพ์แบบไร้สาย wireless) ที่สามารถทางานกับคอมพิวเตอร์ผ่านแสงอินฟาเรด และยังมีปุ่มเมาส์อยู่บนแป้ นพิมพ์ ด้วย นอกจากนี้ยังมีแป้ นพิมพ์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับงานเฉพาะด้านเพื่อเป็นการอานวย ความ สะดวกและรวดเร็วในการบันทึก ตัวอย่างเช่น แป้นพิมพ์เพื่องานธนาคาร ร้านอาหารจานด่วน (fast food) ตู้ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) เป็นต้น รูปภาพที่ 4.7 แป้ นพิมพ์ที่ใช้กับตู้ ATM (ที่มา: http://www.wangjianshuo.com/personal/places/ pudongairport/shanghai.pvg-ATM-large.jpg)
  • 14. 14 2. เมาส์ (mouse) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถเลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ มีลักษณะ เป็นปุ่มกดครอบอยู่กับลูกกลมที่เมื่อลากไปกับพื้นแล้วจะมีการส่งสัญญาณ ตามแนวแกน x และ แกน y เข้าสู่คอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีหลายรูปแบบให้ผู้ใช้เลือกใช้ตามความต้องการ รูปที่ 4.8 เมาส์ (ที่มา : http://home.kku.ac.th/regis/student/success/hardware_1.html ) 3. แทร็กบอล (trackball) คือ ลูกกลมที่กลิ้งไปมาวางอยู่ในเบ้า ผู้ใช้สามารถบังคับลูกกลมให้หมุนไปมา เพื่อ ควบคุมการทางานของตัวชี้บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีการสร้างแทรกบอลไว้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ก เพราะสะดวกต่อการใช้และใช้พื้นที่น้อย รูปที่ 4.9 ชนิดของแทร็กบอล (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 15. 15 4. ก้านควบคุม มีลักษณะเป็นก้านโยกซึ่งโยกได้หลายทิศทาง ขณะที่โยกก้านไปมาตาแหน่งของตัวชี้จะ เปลี่ยนไปด้วย ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ก้านควบคุมมักเป็นอุปกรณ์ที่ นิยมใช้กันมากในการเล่นเกม รูปที่ 4.10 ก้านควบคุม (ที่มา: http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/computer/input.htm) 5. เครื่องกราดตรวจ (scanner) รูปที่ 4.11 เครื่องกราดตรวจ (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) เป็ นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีของการผ่านแสง เพื่อทาการอ่านรหัส สัญลักษณ์ หรือรูปภาพ แล้วให้คอมพิวเตอร์นาไปประมวลผลต่อไป เครื่องกราดตรวจช่วยให้การ รับข้อมูลทาได้รวดเร็วกว่าการกดแป้ นบนแผงแป้ นอักขระ อีกทั้งยังลดข้อผิดพลาดอันอาจเกิดจาก การกดแป้นอีกด้วย เครื่องกราดตรวจที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วๆ ไปได้แก่
  • 16. 16 1) เครื่องกราดตรวจรายหน้า (page scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านรูปภาพหรือ ตัวหนังสือ เช่น รูปถ่าย และสัญลักษณ์ต่างๆ รูปที่ 4.12 เครื่องกราดตรวจรายหน้า (ที่มา: http://www.thaigoodview.com/roomnet/roomnet46/IT46_4/index.html-page4.htm) 2) เครื่องอ่านรหัสแท่ง (bar code) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่ใช้สาหรับอ่านรหัสแท่ง (bar code) ซึ่งเป็นแถบเส้นที่ประกอบด้วยเส้นขนาดแตกต่างกัน ใช้แทนรหัสข้อมูลต่างๆ การอ่านจะใช้ แสงส่องแถบเส้นทาให้เกิดการสะท้อนเพื่อรับรหัสเข้ามาตีความหมาย ปัจจุบันนิยมใช้ใน ห้างสรรพสินค้า สินค้าทุกชนิดจะติดรหัสแท่งไว้ ผู้ขายใช้เครื่องอ่านเพื่อจะได้ทราบว่าเป็นรหัส ของสินค้าใด ราคาเท่าใด และสามารถออกใบเสร็จรับเงินให้ได้อย่างอัตโนมัติ รูปที่ 4.13 เครื่องอ่านรหัสแท่ง (ที่มา : http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376068) 3) เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก(Magnetic-Ink Character Recognition: MICR) ที่พบเห็นได้บ่อยครั้งคือ เครื่องอ่านตัวเลขที่พิมพ์อยู่บนตั๋วสัญญาใช้เงิน ตัวเลขเหล่านี้มีลักษณะ พิเศษที่ทาให้เครื่องอ่านได้ เนื่องจากแต่ละวันธนาคารต้องรับและออกตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นจานวน มาก จึงมีการใช้เครื่องอ่านตัวเลขช่วยในการอ่าน หรือเครื่องอ่านตัวเลขที่สานักงานไปรษณีย์ใช้ เพื่อช่วยแยกจดหมายตามรหัสไปรษณีย์
  • 17. 17 รูปที่ 4.14 เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (ที่มา : http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/p07/p7.html) 4) จอสัมผัส (touch screen) สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก จอภาพสามารถรับข้อมูลไปประมวลผลได้โดยการสัมผัสบนบริเวณจอภาพ บริเวณจอภาพของจอ สัมผัสประกอบด้วยตาข่ายของลาแสงอินฟาเรด เมื่อมีวัตถุมาสัมผัสบนจอภาพจะมีการส่ง สัญญาณไฟฟ้ า ซึ่งสามารถระบุตาแหน่งบนจอภาพให้กับโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ได้ การใช้ งานจอสัมผัสมีความสะดวก แต่อาจผิดพลาดจากการระบุตาแหน่งบนจอภาพ ถ้าตาแหน่งบน จอภาพมีขนาดเล็กเกินไป จอสัมผัสประยุกต์ใช้กับงานหลายอย่าง เช่น การจองตั๋วชมภาพยนตร์ การจองที่นั่งเพื่อรับประทานอาหาร รูปที่ 4.15 จอสัมผัส (ที่มา : http://atcloud.com/stories/66066) 5) กล้องถ่ายภาพดิจิตอล สามารถถ่ายภาพและบันทึกไว้ในหน่วยความจาภายในตัว กล้อง จากนั้นสามารถส่งข้อมูลภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ได้ รูปที่ 4.16 กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (ที่มา : http://www.banchee.lopburi1.net/input_page_type.html)
  • 18. 18 4. หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลางเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซีพียูู (Central Processing Unit : CPU) หน่วยประมวลผลกลางเป็นส่วนที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านการผลิต วงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากจนถึงขั้นสามารถผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางทั้งวงจรไว้ ในชิปเพียงตัวเดียวได้ชิปหน่วยประมวลผลกลางนี้มีชื่อเรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ รูปที่ 4.17 หน่วยประมวลผลกลาง (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ หน่วยควบคุม (control unit) และ หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU) หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการควบคุมลาดับการทางานภายในหน่วยประมวลผลกลาง ระหว่างประมวลผล หน่วยคานวณและตรรกะ ทาหน้าที่นาข้อมูลซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าแบบตัวเลขฐานสอง มาประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์ รูปที่ 4.18 ผังแสดงหน่วยประมวลผลกลาง (ที่มา: http://www.comcn.in.th/elearnning/e-learning%20kru_fon/WEB- computer/ct103A2.html)
  • 19. 19 พัฒนาการของหน่วยประมวลผลกลางได้เริ่มจากการให้หน่วยประมวลผลกลางอ่านข้อมูล จากหน่วยความจาหลักด้วยรหัสเลขฐานสอง ครั้งละ 8 บิต เรียกซีพียูแบบนี้ว่าซีพียูขนาด 8 บิต ต่อมาเมื่อสร้างหน่วยประมวลผลกลางได้ดีขึ้นทาให้อ่านคาสั่งหรือข้อมูลเข้ามาได้ครั้งละ 16 บิต การประมวลผลก็กระทา ครั้งละ 16 บิตด้วย เรียกซีพียูแบบนี้ว่าซีพียูขนาด 16 บิต ปัจจุบันซีพียูที่ใช้ งานสามารถอ่านคาสั่ง หรือข้อมูลได้ถึงครั้งละ 128 บิต ทาให้ทางานได้มากและรวดเร็วขึ้น ซีพียู 8 บิต ซีพียู 16 บิต ซีพียู 32 บิต รูปที่ 4.19 พัฒนาการของหน่วยประมวลผลกลาง (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) วิวัฒนาการของไมโครโพรเซสเซอร์ 1. ไมโครโพรเซสเซอร์ 8086 เริ่มพัฒนาและนาออกมาใช้งานตั้งแต่ พ.ศ.2523เป็น ซีพียูขนาด 16 บิต ซีพียูรุ่นนี้มีโครงสร้างการทางานที่ต่อเชื่อมกับหน่วยความจาหลักโดยตรง ได้มากถึง 1 เมกะไบต์ หน่วยของหน่วยความจา เป็นดังนี้ 1 ไบต์ (byte) 1 กิโลไบต์(kilobyte) 1 เมกะไบต์(megabyte) 1 กิกะไบต์(gigabyte) เท่ากับ เท่ากับ เท่ากับ เท่ากับ 8 บิต 1024 ไบต์ 1024 กิโลไบต์ 1024 เมกะไบต์
  • 20. 20 รูปที่ 4.20 ไมโครโปรเซสเซอร์ 8086 (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 2. ไมโครโพรเซสเซอร์ 80286 เป็นพัฒนาการรุ่นต่อมาของ 8086 เป็นไมโครโพรเซสเซอร์ ขนาด 16 บิต แต่สามารถเชื่อมต่อกับหน่วยความจาหลักได้โดยตรงถึง 16 เมกะไบต์ รูปที่ 4.21 ไมโครโปรเซสเซอร์ 80286 (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 3. ไมโครโพรเซสเซอร์ 80386 เป็นซีพียูรุ่นที่สามที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์ เป็น ไมโครโพรเซสเซอร์ขนาด 32 บิต มีประสิทธิภาพการทางานได้ดีกว่า 80286โดยเฉพาะโครงสร้าง การเชื่อมต่อกับหน่วยความจาสามารถต่อได้ถึง 4 กิกะไบต์ รูปที่ 4.22 ไมโครโปรเซสเซอร์ 80386 (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 21. 21 4. ไมโครโพรเซสเซอร์ 80486 พัฒนาต่อเนื่องมาจาก 80386 เพิ่มขีดความสามารถ ในการคานวณจานวนจริง ไมโครโพรเซสเซอร์นี้มีสถาปัตยกรรมที่ซับซ้อนขึ้น มีจานวนทรานซิสเตอร์ กว่าหนึ่งล้านตัวในชิพเดียวกัน รูปที่ 4.23 ไมโครโปรเซสเซอร์ 80486 (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 5. ไมโครโพรเซสเซอร์ที่สูงกว่าไมโครโพรเซสเซอร์ 80486 บริษัทผู้ผลิตได้เปลี่ยน ชื่อรุ่นซีพียูจากการใช้หมายเลขมาเป็นชื่อทางการค้า เช่น เพนเที่ยม (pentium) เอทรอน (athlon) ซึ่งซีพียูนี้มีจานวนทรานซิสเตอร์มากกว่าสามล้านตัว เป็นซีพียูขนาด 64 บิต และทางานได้เร็วกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ 80486 โดยเฉพาะมีการทางาน ภายในด้วยกระบวนการทางานแบบขนานเพื่อให้ทางาน ได้เร็วขึ้น รูปที่ 4.24 ซีพียู ขนาด 64 บิต (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) รูปที่ 4.25 แสดงรุ่นของไมโครโปรเซสเซอร์ (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 22. 22 5. หน่วยความจาหลัก หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งาน หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี วงจรหน่วยความจาจะเก็บข้อมูลในรูปตัว เลขฐานสอง รูปที่ 4.26 หน่วยความจาหลัก (RAM) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) หน่วยความจาหลักที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลสาหรับ ใช้งานทั่วไป การอ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียนและการอ่าน จะกระทาแบบการ เข้าถึงโดยสุ่มคือเรียกไปที่ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจานี้เรียกว่า แรม หน่วยความจา ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่กระแสไฟฟ้ าจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้ าดับเมื่อไรข้อมูลก็จะสูญ หายทันที รูปที่ 4.27 แรม (Random Access Memory : RAM) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 23. 23 2. รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งที่มีการ อ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม หน่วยความจาประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุ โปรแกรม สาคัญบางอย่าง เมื่อเปิดเครื่องซีพียูจะเริ่มต้นทางานทันทีข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ในรอมจะถูก บันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้ไม่สามารถเขียนข้อมูลใดๆ ลงไปได้แต่สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว ข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวรแม้จะปิดเครื่องข้อมูลหรือโปรแกรมก็จะไม่ถูก ลบไป รูปที่ 4.28 รอม (Read Only Memory : ROM) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 6. หน่วยความจารอง แรมเป็นหน่วยความจาหลักสาหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ขณะทางาน ข้อมูลหรือ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จะถูกลบทิ้งไปถ้าปิดเครื่องหรือไฟดับ ดังนั้นจึงต้องมีหน่วยความจารองเพื่อใช้ เก็บข้อมูลที่ต้องการใช้งานต่อไป หน่วยความจารองที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท เช่น 1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มีหน่วยขับแผ่นบันทึกอย่างน้อยหนึ่งตัว แผ่นบันทึกที่ นิยมใช้ในปัจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว ตัวแผ่นบันทึกเป็นแผ่นบางฉาบผิวด้วย สารแม่เหล็กยู่ใน กรอบพลาสติกแข็งเพื่อป้องกันการขีดข่วน การเก็บข้อมูลจะทาโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่นปกติใช้ได้ทั้งสองด้าน หัวอ่าน ของเครื่องขับจึงมีสองหัว แผ่นจะหมุนด้วยความเร็วคงที่ หัวอ่านวิ่งเข้าออกเพื่ออ่านข้อมูล ในตาแหน่งที่อยู่ที่ต้องการ ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจะแบ่งเป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) แต่ละแทร็ก จะแบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูลเรียกว่า เซกเตอร์ (sector) แผ่นบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว มีความจุ 1.44 เมกะไบต์ ในอดีตมีการใช้แผ่นบันทึกขนาด 5.25 นิ้ว ซึ่งมีความจุ 1.2 เมกะไบต์
  • 24. 24 รูปที่ 4.29 แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 2. ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) จะประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็งที่เคลือบสารแม่เหล็กหลายแผ่นเรียงซ้อนกัน หัวอ่านของหน่วยขับจะมีหลายหัว ขณะที่แผ่นบันทึกแต่ละแผ่นหมุนหัวอ่านจะเคลื่อนที่เข้าออก เพื่ออ่านข้อมูลที่เก็บบนพื้นผิวแผ่น การเก็บข้อมูลในแต่ละแผ่นจะเป็นวง เรียกแต่ละวงของทุก แผ่นบันทึกว่า ไซลินเดอร์ (cylinder) แต่ละไซลินเดอร์ จะแบ่งเป็น เซกเตอร์แต่ละเซกเตอร์เก็บ ข้อมูลเป็นชุดๆ ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก ขนาดของฮาร์ดดิสก์มีความจุเป็น กิกะไบต์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ความจุ 15 กิกะไบต์ การเขียนอ่านข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ จะกระทาเป็น เซกเตอร์ และเขียนอ่านได้เร็วมาก เวลาที่ใช้ในการวัดการเข้าถึงข้อมูลมีหน่วยเป็นมิลลิวินาที รูปที่ 4.30 ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 25. 25 3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว ลักษณะของเทปเป็นแถบสายพลาสติก เคลือบ ด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทปบันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนมาก มีการจัดเก็บ และเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลาดับ การประยุกต์ใช้เน้นใช้สาหรับสารองข้อมูลเพื่อความมั่นใจ เช่น ถ้าฮาร์ดดิสก์เสียหายข้อมูลในฮาร์ดดิสก์อาจเสียหายได้ จึงจาเป็นต้องเก็บสารองไว้ รูปที่ 4.31 เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 4. แผ่นซีดี (CD-ROM) วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจารองได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลาดับ ปัจจุบันได้มีการ ประดิษฐ์แผ่นซีดี (CompactDisk:CD)ใช้ในการเก็บข้อมูลจานวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้ หลักการทางแสงทาให้สามารถเก็บข้อมูลแบบดิจิตอลได้ แผ่นซีดีที่นิยมใช้มากเป็นแผ่นซีดีที่อ่าน ได้อย่างเดียว เรียกกันว่า ซีดีรอม (CD ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิต เหมือนการบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์ ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูลได้มาก สามารถ เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น แผ่นซีดีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 นิ้ว ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตแผ่นซีดีได้ก้าวหน้าขึ้น สามารถเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดีได้ เหมือนฮาร์ดดิสก์ เรียกว่า ออปติคัลดิสก์ (optical disk) รูปที่ 4.32 แผ่นซีดี (CD-ROM) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 26. 26 5. หน่วยความจาแบบแฟลช (flash memory) เป็นหน่วยความจาประเภทรอมที่เรียกว่า อีอีพร็อม (Electrically Erasable Programmable Read Only Memory : EEPROM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีของรอมและแรมรวมกัน ให้หน่วยความจา ชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูลได้เหมือนฮาร์ดดิสก์ คือสามารถเก็บและลบข้อมูลได้ตามต้องการและ ถ่ายโอนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยความจาชนิดนี้มีขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก ปัจจุบันสามารถเก็บข้อมูลได้มาก รูปที่ 4.33 หน่วยความจาแบบแฟลช (flash memory) (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 7. หน่วยแสดงผล หน่วยแสดงผลเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่ง อุปกรณ์ส่งออกที่ใช้ในระบบ คอมพิวเตอร์ทั่วไป คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ 1. จอภาพ (monitor) มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทั่วไป การส่งออกของข้อมูลจะปรากฏบน จอภาพ ซึ่งแสดงได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถแสดงรูปภาพได้ด้วย จอภาพมี 2 แบบคือ ซีอาร์ที (Cathode Ray Tube : CRT) ใช้เทคโนโลยีของหลอดรังสีอิเล็กตรอน เช่นเดียวกับจอโทรทัศน์ในการทาให้เกิดภาพ และจอแบบแอลซีดี (Liquid Crystral Display : LCD) ใช้เทคโนโลยีของการบรรจุของเหลวไว้ภายในจอ เช่นเดียวกับหน้าปัดนาฬิกาในระบบตัวเลข การ แสดงผลบนจอภาพจะแสดงด้วยจุดเล็กๆ ตามแนวนอนและแนวตั้ง แต่เดิมจอภาพแสดงผลได้เพียง สีเดียว พัฒนาการต่อมาทาให้การแสดงผลเป็นสีหลายสีได้ นอกจากนี้ยังมีความละเอียดมากขึ้น จอภาพโดยทั่วไปจะมีขนาด 15 นิ้ว หรือ 17 นิ้ว การแสดงผลของจอภาพควบคุมโดยแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเ ตอร์
  • 27. 27 รูปที่ 4.34 จอภาพ (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 2. เครื่องพิมพ์ (printer) เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทตามเทคโนโลยีการพิมพ์เครื่องพิมพ์เป็น อุปกรณ์ส่งออกที่พิมพ์ลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีดังนี้ 1) เครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีหัวยิงเป็นเข็มขนาดเล็ก พุ่งไปชนแผ่นผ้าหมึกเพื่อให้หมึกติดบน กระดาษเป็นจุดเล็กๆ หลายๆ จุดเรียงกันเป็นตัวหนังสือหรือรูปภาพ หัวเข็มที่ใช้ยิงไปยังผ้าหมึกมี จานวนหลายหัว โดยปกติใช้ขนาด 24 หัวเข็ม ซึ่งจัดวางเรียงกันในแนวตั้งทาให้ได้ตัวหนังสือที่ ละเอียดพอควร รูปที่ 4.35 เครื่องพิมพ์แบบจุด (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 2) เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้ความคมชัดและความละเอียดสูง การพิมพ์จะใช้หลักการทางแสง ปกติมีความละเอียดไม่น้อยกว่า 600 จุดต่อนิ้ว เครื่องพิมพ์เลเซอร์จึงเป็นเครื่องพิมพ์ที่เหมาะกับ งานพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพ พัฒนาการทางเทคโนโลยีทาให้เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ได้รับความนิยม สูงขึ้นเพราะเมื่อเทียบประสิทธิภาพ ต่อราคาแล้วเครื่องพิมพ์ชนิดนี้เหมาะที่จะใช้ในสานักงาน แต่ไม่สามารถพิมพ์สาเนากระดาษคาร์บอนได้
  • 28. 28 รูปที่ 4.36 เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (ที่มา: http://social.eduzones.com/dotnetengcom/17376) 3) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (inkjet printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการพ่นหมึกและผสมสีจากแม่สีสามสี คือแดง เหลืองและ น้าเงิน โดยจะผสมสีให้ได้สีตามความต้องการและพ่นหมึกเพื่อให้ติดบนกระดาษ ในปัจจุบัน เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึกเป็นที่นิยมกันมาก เนื่องจากสามารถพิมพ์รูปภาพออกมาเป็นสีที่สวยงาม รูปที่ 4.37 เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (ที่มา : http://58.147.80.102/online1/Webpage1/File6.htm) 4) เครื่องพิมพ์รายบรรทัด (line printer) เครื่องพิมพ์ชนิดนี้มีความเร็วในการพิมพ์สูงมาก สามารถพิมพ์ได้หลายร้อยบรรทัดต่อ นาที กล่าวคือ มีความเร็วในการพิมพ์ได้ถึง 2000 บรรทัดต่อนาที ลักษณะการพิมพ์มีหลายแบบ บาง แบบใช้พิมพ์ด้วยแถบโซ่ตัวอักษรที่หมุนอยู่ และมีคันเคาะตัวอักษรในตาแหน่งที่กาหนด บางแบบ ใช้หัวยิงแบบจุด แต่มีจานวนหัวยิงเป็นจานวนมากเพื่อให้พิมพ์ได้เร็ว เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จึงเหมาะกับ ศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ต้องพิมพ์รายงานเป็นจานวนมาก และพิมพ์อย่างต่อเนื่อง
  • 29. 29 รูปที่ 4.38 เครื่องพิมพ์รายบรรทัด (ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
  • 30. 30 แบบฝึกหัดหน่วยที่ 4 เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 1. ให้พิจารณาว่าอุปกรณ์ต่อไปนี้เป็นอุปกรณ์ประเภทใด ลาดับ อุปกรณ์ ความ จาหลัก ความจา รอง หน่วย รับเข้า หน่วย แสดงผล หน่วย ประมวลผล 1. เมาส์ 2 ซีพียู 3 เครื่องอ่านรหัสแท่ง 4 เครื่องขับแผ่นบันทึก 5 จอภาพ 6 เครื่องขับแผ่นซีดี 7 ก้านควบคุม 8 ลาโพง 9 แผงแป้นอักขระ 10 เครื่องพิมพ์ 11 แรม 12 แผ่นบันทึก 13 ฮาร์ดดิสก์ 14 แผ่นซีดี 15 รอม 2. บอกจุดเด่นของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการประมวลผลข้อมูล 3. บอกส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ 4. หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกได้เป็นกี่หน่วย อะไรบ้าง จงอธิบาย 5. บอกหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลาง 6. บอกหน่วยความจาหลัก 7. บอกความแตกต่างของหน่วยความจาหลักรอมและหน่วยความจาหลักแรม
  • 31. 31 8 บอกหน้าที่ของหน่วยความจาหลักและหน่วยความจารอง 9. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยรับเข้า พร้อมอธิบาย 10. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยแสดงผล พร้อมอธิบาย
  • 32. 32 เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4 เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 1. ให้พิจารณาว่าอุปกรณ์ต่อไปนี้เป็นอุปกรณ์ประเภทใด ลาดับ อุปกรณ์ ความ จาหลัก ความจา รอง หน่วย รับเข้า หน่วย แสดงผล หน่วย ประมวลผล 1. เมาส์  2 ซีพียู  3 เครื่องอ่านรหัสแท่ง  4 เครื่องขับแผ่นบันทึก  5 จอภาพ  6 เครื่องขับแผ่นซีดี  7 ก้านควบคุม  8 ลาโพง  9 แผงแป้นอักขระ  10 เครื่องพิมพ์  11 แรม  12 แผ่นบันทึก  13 ฮาร์ดดิสก์  14 แผ่นซีดี  15 รอม 
  • 33. 33 2. บอกจุดเด่นของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการประมวลผลข้อมูล เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจากัดของ มนุษย์เรียกว่า 4 S special ดังนี้ 1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็น เวลานานนับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติของเครื่อง คอมพิวเตอร์ 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล โดยใช้เวลา น้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล ตามลาดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ 4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. บอกส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วย คือ 1. หน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าที่ในการคานวณหรือแประมวลผลข้อมูล โดยทาตาม โปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก 2. หน่วยความจาหลัก เป็นหน่วยสาหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผล ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางสามารถอ่าน เขียนจากหน่วยความจาหลักรวดเร็วมาก ทาให้หน่วย ประมวลผลกลางนามาตีความและกระทาตามได้อย่างรวดเร็ว 3. หน่วยความจารอง มีไว้สาหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ที่มีจานวนมาก และต้อง การนามาใช้อีกในภายหลัง เมื่อจะใช้งานก็มีการโอนถ่ายจากหน่วยความจารองมายังหน่วยความ จาหลัก 4. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาเก็บไว้บนหน่วยความจาหลัก จากนั้นข้อมูล จะถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลกลาง 5. หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผลหรือเก็บ ไว้ในหน่วยความจารอง
  • 34. 34 4. หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกได้เป็นกี่หน่วย อะไรบ้าง จงอธิบาย หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ หน่วยควบคุม (control unit) และ หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU) หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการควบคุมลาดับการทางานภายในหน่วยประมวลผลกลาง ระหว่างประมวลผล หน่วยคานวณและตรรกะ ทาหน้าที่นาข้อมูลซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าแบบตัวเลขฐานสอง มาประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์ 5. บอกหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นา คาสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจามาแปลความหมาย และกระทาตามคาสั่งพื้นฐานของ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง 6. บอกหน่วยของหน่วยความจาหลัก หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้ งานได้ หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี วงจรหน่วยความจาจะเก็บข้อมูลในรูปตัว เลขฐานสอง หน่วยความจาหลักที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิง ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม หน่วยความจาประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุ โปรแกรมสาคัญ บางอย่างเพื่อว่าเมื่อเปิดเครื่องมาซีพียูจะเริ่มต้นทางานได้ทันที ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ใน รอมจะถูกบันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้ไม่สามารถเขียนข้อมูลใดๆ ลงไปได้แต่สามารถอ่านข้อมูลได้ อย่างเดียว ข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิ ดเครื่องข้อมูลหรือ โปรแกรมก็จะไม่ถูกลบไป แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลสาหรับใช้งาน ทั่วไป การอ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆเพื่อการเขียนและการอ่านจะกระทาแบบการเข้าถึง โดยสุ่ม คือเรียกไปที่ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจานี้เรียกว่า แรม หน่วยความจาประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่กระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจร ถ้าไฟฟ้า ดับเมื่อไรข้อมูลก็จะสูญหายทันที
  • 35. 35 7. บอกความแตกต่างของหน่วยความจาหลักรอมและหน่วยความจาหลักแรม ความแตกต่างของหน่วยความจาหลักรอมและหน่วยความจาหลักแรม คือ หน่วยความจารอม จะอ่านข้อมูลมาใช้งานได้เพียงอย่างเดียว แต่จะเขียนข้อมูลใหม่เข้าไปไม่ได้ ข้อมูลในรอมจึงเป็นข้อมูลที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง หน่วยความจาแรม ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ ในตาแหน่งใด เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถนาข้อมูลไปเก็บ (เขียน) หรือดึงข้อมูลออกมา (อ่าน) จาก แรมได้ ข้อมูลในแรมจะเปลี่ยนไปก็ต่อเมื่อมีการนาเอาข้อมูลใหม่เข้ามาแทนที่ หรือเมื่อปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์ ข้อมูลทั้งหมดในแรมจะหายไป 8. บอกหน้าที่ของหน่วยความจาหลักและหน่วยความจารอง หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งาน ได้ หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ทามาจากไอซี วงจรหน่วยความจาจะเก็บข้อมูลในรูปตัว เลขฐานสอง หน่วยความจารอง มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่ต้องการใช้งานต่อ และหากต้องการใช้งาน เมื่อไรก็จะถ่ายจากหน่วยความจารองมาไว้ที่หน่วยความจาหลักที่เป็นแรมเพื่อให้หน่วยประมวลผล ทางาน 9. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยรับเข้า พร้อมอธิบาย หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นาข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจา หลัก ใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท 1. แผงแป้ นอักขระ (keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูล โดยรับข้อมูลจาการ กดบนแผงแป้ นอักขระ (keyboard) แล้วส่งรหัสให้กับคอมพิวเตอร์ แผงแป้ นอักขระมาตรฐานที่ นิยมใช้กันมากในขณะนี้มีจานวนแป้น101 แป้น 2. เมาส์ (mouse) เป็นอุปกรณ์รับเข้าอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นปุ่มกดครอบอยู่กับ ลูก กลมที่เมื่อลากไปกับพื้นแล้วจะมีการ ส่งสัญญาณ ตามแนวแกน x และแกน y เข้าสู่ คอมพิวเตอร์ 3. แทร็กบอล (trackball) คือ ลูกกลมที่กลิ้งไปมาวางอยู่ในเบ้า ผู้ใช้สามารถ บังคับลูก กลมให้หมุนไปมาเพื่อควบคุมการทางานของตัวชี้บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ปัจจุบันมีการสร้างแทรก บอลไว้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ก เพราะสะดวกต่อการใช้และใช้พื้นที่น้อย
  • 36. 36 4. ก้านควบคุม มีลักษณะเป็นก้านโยกซึ่งโยกได้หลายทิศทาง ขณะที่โยกก้านไปมา ตาแหน่งของตัวชี้จะเปลี่ยนไปด้วยเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ นิยมใช้กันมากในการเล่นเกม 5. เครื่องกราดตรวจ (scanner) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีของการผ่าน แสงเพื่อทาการอ่านรหัสสัญลักษณ์หรือรูปภาพ แล้วให้คอมพิวเตอร์นาไปประมวลผลต่อไป เครื่องกราดตรวจที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วๆ ไปได้แก่ - เครื่องกราดตรวจรายหน้า (page scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านรูปภาพหรือ ตัวหนังสือ เช่น รูปถ่าย และ สัญลักษณ์ต่างๆ เป็นต้น - เครื่องอ่านรหัสแท่ง (bar code) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่ใช้สาหรับอ่านรหัสแท่ง (bar code) ซึ่งเป็นแถบเส้นที่ประกอบด้วยเส้นขนาดแตกต่างกัน ใช้แทนรหัสข้อมูลต่างๆ การอ่าน จะใช้แสงส่องแถบเส้นทาให้เกิดการสะท้อนเพื่อรับรหัสเข้ามาตี ความหมาย นิยมใช้ในห้างสรรพสินค้า 6. เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (Magnetic-Ink Character Recognition: MICR) ที่พบ เห็นได้บ่อยครั้งคือ เครื่องอ่านตัวเลขที่พิมพ์อยู่บนตั๋วสัญญาใช้เงิน ตัวเลขเหล่านี้มีลักษณะพิเศษที่ ทาให้เครื่องอ่านได้มีการใช้เครื่องอ่านตัวเลขช่วยในการอ่าน หรือเครื่องอ่านตัวเลขที่สานักงาน ไปรษณีย์ใช้เพื่อช่วยแยกจดหมายตามรหัสไปรษณีย์ 7. จอสัมผัส (touch screen) สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก จอภาพ สามารถรับข้อมูลไปประมวลผลได้โดยการสัมผัสบนบริเวณจอภาพ บริเวณจอภาพของจอสัมผัส ประกอบด้วยตาข่ายของลาแสงอินฟาเรด เมื่อมีวัตถุมาสัมผัสบนจอภาพจะมีการส่งสัญญาณไฟฟ้ า ซึ่งสามารถระบุตาแหน่งบนจอภาพให้กับโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ได้ เช่น การจองตั๋วชม ภาพยนตร์ การจองที่นั่งเพื่อรับประทานอาหาร 8. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล สามารถถ่ายภาพและบันทึกไว้ในหน่วยความจาภายในตัว กล้อง จากนั้นสามารถส่งข้อมูลภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ได้ 10. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยแสดงผล พร้อมอธิบาย หน่วยแสดงผลเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่ง ตัวอย่างเช่น 1. จอภาพ (monitor) มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทั่วไป การส่งออกของ ข้อมูลจะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถแสดง
  • 37. 37 รูปภาพได้ด้วย จอภาพ มี 2 แบบคือ ซีอาร์ที (Cathode Ray Tube : CRT) ใช้เทคโนโลยีของหลอด รังสีอิเล็กตรอน เช่นเดียวกับจอโทรทัศน์ในการทาให้เกิดภาพ และจอแบบแอลซีดี (Liquid Crystral Display : LCD) ใช้เทคโนโลยีของการบรรจุของเหลวไว้ภายในจอ เช่นเดียวกับหน้าปัดนาฬิกาใน ระบบตัวเลข 2. เครื่องพิมพ์(printer) เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทตามเทคโนโลยี การพิมพ์ เครื่องพิมพ์เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่พิมพ์ลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มี ดังนี้ 1. เครื่องพิมพ์แบบจุด เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีหัวยิงเป็นเข็มขนาดเล็ก พุ่งไปชนแผ่น ผ้าหมึก เพื่อให้หมึกติดบนกระดาษเป็นจุดเล็กๆ หลายๆ จุดเรียงกันเป็นตัวหนังสือหรือรูปภาพ 2. เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้ความคมชัดและความละเอียดสูง การพิมพ์จะใช้หลักการทางแสง ปกติมีความละเอียดไม่น้อยกว่า 600 จุดต่อนิ้ว 3. เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการพ่นหมึกและผสมสีจากแม่สี สามสีคือแดง เหลืองและน้าเงิน โดยจะผสมสีให้ได้สีตามความต้องการและพ่นหมึกเพื่อให้ติดบน กระดาษ 4. เครื่องพิมพ์รายบรรทัด เครื่องพิมพ์ชนิดนี้มีความเร็วในการพิมพ์สูงมาก เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จึงเหมาะกับศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ต้องพิมพ์รายงานเป็นจานวนมาก และพิมพ์อย่าง ต่อเนื่อง
  • 38. 38 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (หลังเรียน) หน่วยที่ 4 เรื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ก. ฮาร์ดแวร์ ข. ซอฟต์แวร์ ค. พีเพิลแวร์ ง. ถูกทุกข้อ 2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ย่อมาจากคาในข้อใด ก. Center Processor Unit ข. Center Procesing Unit ค. Central Processor Unit ง. Central Processing Unit 3. หน่วยใดของ CPU ทาหน้าที่คานวณทางคณิตศาสตร์ ก. หน่วยคานวณและตรรกะ ข. หน่วยควบคุม ค. หน่วยรับเข้า ง. หน่วยวิเคราะห์ 4. หน่วยความจาที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมขณะที่กาลังทางานเท่านั้น ก. ROM ข. RAM ค. Hard Disk ง. Floppy Disk
  • 39. 39 5. หน่วยความจาใดเป็นหน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียวเท่านั้น ก. ROM ข. RAM ค. Hard Disk ง. Floppy Disk 6. ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ของหน่วยความจาสารองได้ถูกต้อง ก. บรรจุคาสั่งในการตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ข. เก็บข้อมูลและชุดคาสั่งไว้ใช้งานต่อไป ค. เก็บชุดคาสั่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการประมวลผล ง. ถูกทั้ง ข และ ค 7. แผ่นบันทึก ทาหน้าที่ตรงกับข้อใด ก. หน่วยรับโปรแกรมและข้อมูล ข. หน่วยประมวลผลกลาง ค. หน่วยความจาหลัก ง. หน่วยความจารอง 8. หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่ตรงตามข้อใด ก. รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ข. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ค. รับโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผล ง. รับข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเตรียมประมวลผล 9. อุปกรณ์ในข้อใด ไม่อยู่ในหน่วยรับข้อมูล ก. เมาส์ ข. จอภาพ ค. ก้านควบคุม ง. เครื่องขับแผ่นบันทึก 10. อุปกรณ์ใดอยู่ในหน่วยแสดงผล ก. แป้นพิมพ์ ข. แผ่นบันทึก ค. ลาโพง ง. จอสัมผัส
  • 40. 40 11. อุปกรณ์ใดใช้ในการแสดงผล ก. จอภาพ ข. เครื่องพิมพ์ ค. ไมโครโฟน ง. ก. และ ข. ถูก 12. หน่วยแสดงผลทาหน้าที่ตรงตามข้อใด ก. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารอง ข. แสดงผลลัพธ์จากหน่วยรับข้อมูลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลัก ค. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจารองแสดง ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล ง. แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลโดยนาผลลัพธ์มาจากหน่วยความจาหลักแสดง ทางจอภาพหรือบันทึกลงสื่อข้อมูล 13. เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เรียกว่าอะไร ก. ฮาร์ดแวร์ ข. ซอฟต์แวร์ ค. พีเพิลแวร์ ง. ซีพียู 14. ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์มีกี่หน่วย ก. 2 หน่วย ข. 3 หน่วย ค. 4 หน่วย ง. 5 หน่วย 15. อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในห้างสรรพสินค้าเพื่อให้อ่านรหัสของสินค้า คืออุปกรณ์ใด ก. ก้านควบคุม ข. เครื่องอ่านรหัสแท่ง ค. แทร็กบอล ง. จอสัมผัส
  • 41. 41 เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน/หลังเรียน หน่วยที่ 4 เรื่องเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ข้อที่ คาตอบ ข้อที่ คาตอบ 1 ง 11 ง 2 ง 12 ค 3 ก 13 ก 4 ข 14 ง 5 ก 15 ข 6 ง 7 ง 8 ง 9 ข 10 ค