SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
โครงสร้างและการเกิดผล
ครูผู้สอน
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
แนะนำสมำชิกในกลุ่ม
1.นางสาวปราณปรียา สิตะโปสะ เลขที่ 13 ห้อง 334
2.นายกฤษธนพล จินตรานันท์ เลขที่ 25 ห้อง 334
3.นายทายุต สหัชพงษ์ เลขที่ 31 ห้อง 334
4.นายภัทรพล อาชีวระงับโรค เลขที่ 39 ห้อง 334
5.นายรัฐกิตติ์ วสุภิรมย์คณากุล เลขที่ 40 ห้อง 334
คำนำ
การจัดทาชิ้นงาน โครงสร้างและการเกิดผลเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 ตาม
หลักสูตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องโครงสร้างและการเกิดผลและสามารถนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
คณะผู้จัดทาชิ้นงาน ขอขอบคุณเป็นอย่างยิ่งสาหรับครูที่ปรึกษาโครงการ ที่คอยให้คาปรึกษาในการจัดทาเอกสารรูปเล่มและ
ให้คาชี้แนะตลอดจนปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานโครงการในครั้งนี้และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชิ้นงานนี้คงเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานไม่มากก็
น้อย
ผู้จัดชิ้นงาน
6 มกราคม 2564
สำรบัญ
หัวข้อ หน้า
เนื้อหาโครงสร้างและการเกิดผล 6-17
บรรณานุกรม 18
กิตติกรรมประกาศ 19
ภาคผนวก 20
กำรเกิดผล
การเกิดของผล
หลังจากการปฏิสนธิแล้ว ออวุลแต่ละอันก็จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็น
เมล็ด (Seed) ซึ่งมีสารอาหารผสมอยู่ด้วย และรังไข่ก็จะเจริญไปเป็นผล (Fruit)
เพื่อห่อหุ้มเมล็ดไว้ภายในและช่วยในการกระจายพันธุ์ ผลพืชบางชนิดอาจมีส่วนอื่นๆ ของ
ดอก เช่น กลีบเลี้ยงติดมาด้วย ได้แก่ ผลฝรั่ง ทับทิม มังคุด สับปะรด แอปเปิล หรือส่วนของ
ฐานรองดอกหุ้มรังไข่แบบ อินฟีเรียร์เจริญมาด้วย ได้แก่ ผลชมพู่ ทับทิม มะเขือ และ
แอปเปิล ดังนั้นความหมายของผลที่สมบูรณ์คือ รังไข่ที่สุกแล้วอาจมีส่วนอื่นของดอกหรือ
ฐานรองดอกเจริญตามมาด้วย ยังมีผลบางชนิด ซึ่งเจริญมาโดยไม่มีการผสมเกสรเรียกแบบ
นี้ว่า ผลเทียม หรือผลแบบ พาร์ทีโนคาฟิก (Parthonocarpic) และเรียกวิธีการ
เกิดผลแบบนี้ว่า พาร์ทีโนคาฟี (Parthenocarpy) ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติหรือเกิดจากการกระตุ้นโดยการใช้ฮอร์โมนพวกออกซิน จิเบอเรลลีน ฉีดพ่นทาให้
รังไข่เจริญเป็นผลได้และผลที่ได้โดยวิธีการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนนี้จะไม่มีเมล็ด คาว่าผลใน
แง่ของพฤกษศาสตร์ นอกจากจะหมายถึงผลไม้ที่รับประทานได้แล้ว เช่น องุ่น ส้ม มะม่วง
ทุเรียน ลาไย เงาะ แอปเปิล ชมพู่ แล้วยังรวมไปถึงผลที่เรียกว่าผักต่างๆ เช่น ถั่ว มะเขือ
แตงกวา กระเจี๊ยบ และผลที่เรียกว่าเมล็ดด้วย เข่น ข้าว ข้าวโพด และธัญพืชทั้งหลายด้วย
Angiosperm
Angiospermae เรียกพืชในชั้นนี้ว่าพืชดอก (angiosperm)
เนื่ องจากในพวกพืชมีเมล็ดด้วยกัน เฉพาะพืชกลุ่มนี้เท่านั้นที่สร้างดอก พืชดอก
หมายถึงพืชที่เมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม พืชกลุ่มนี้มีรังไข่ (ovary) มีผล (fruit)
และมีการปฏิสนธิคู่ (double fertilization) พืชดอกมีวิวัฒนาการ
มาจากพืชเมล็ดเปลือยดึกดาบรรพ์ เมื่อประมาณ 136 ล้านปีที่แล้ว หรือในยุคที่
ไดโนเสาร์เริ่มสูญพันธุ์ พืชในชั้นนี้มีมากที่สุด ในโลกนี้ มีประมาณ 275,000
ชนิด (species) ในประเทศไทยประมาณว่ามีมากกว่า 12,000 ชนิด และ
มีหลากหลายเช่นกัน ตั้งแต่ต้นเล็กไม่ถึงหนึ่งมิลลิเมตร เช่น duckweed
ที่อยู่ตามผิวน้า จนถึงต้นสูงใหญ่ร่วมหนึ่งร้อยเมตร เช่นยูคาลิปตัส หรือยืนต้น
เช่นไม้ที่พบเห็นบนดินทั่วไป เป็นเถาเกาะเกี่ยวตามต้นไม้จนถึงพืชอากาศที่
อาศัยอยู่บนต้นไม้อื่น หรือสังเคราะห์แสงได้เอง (photosynthetic
plant) ดังเช่นพืชที่เราเห็นทั่วๆไป จนถึงพืชเบียนหรือกาฝาก
(parasitic plant) และพืชกินซาก (saprophytic plant)
พืชที่เราพบเห็นและศึกษาโดยทั่วไปทางการเกษตรจัดอยู่ในกลุ่มนี้
Gymnosperm
Gymnospermae เรียกพืชในชั้นนี้ว่าพืช
เมล็ดเปลือย (gymnosperm) หมายถึงพืชที่
เมล็ดไม่มีสิ่งห่อหุ้ม พืชพวกนี้ไม่มีรังไข่ ไม่มีผล และมี
การปฏิสนธิเดี่ยว (single fertilization)
แต่จากความรู้ที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน พบว่า คากล่าวข้างต้น
ถูกต้องเพียงบางส่วน ตัวอย่างพืชในชั้นนี้ เช่นสนเขา
แปะก๊วย และปรง พืชเมล็ดเปลือยมีวิวัฒนาการในโลกมา
ก่อนพืชดอก เมื่อประมาณ 280 ล้านปีที่แล้ว หรือก่อน
ไดโนเสาร์เริ่มครองโลก
โครงสร้างของผล
ลักษณะโครงสร้าง (type of fruit) กาหนดจากลักษณะของดอกกับรังไข่
ผลเดี่ยว (simple fruit)
ผลเดี่ยว ( Simple fruits ) เป็นผลที่เกิดจากดอกเพียงดอก
เดียว ดอกอาจจะอยู่เดี่ยว ๆ หรืออยู่เป็นดอกช่อ ตัวอย่าง
ผลเดี่ยวที่เกิดจากดอกเพียงดอกเดียว คือ ตาลึง มะเขือ
แตงกวา สัม ฟักทอง ส่วนตัวอย่างผลเดี่ยวที่เกิดจากดอก
ช่อ เช่น ชมพู่ มะม่วง มะกอก มะปราง มะนาว ลักษณะ
เด่นของผลเดี่ยว คือ จะมีรังไข่เพียง 1 อัน ใน 1 ดอก ซึ่ง
จะเป็นดอกเดี่ยวหรือดอกช่อก็ได้ สาหรับดอกช่อรังไข่ของ
แต่ละดอกต้องไม่มีการหลอมรวมกัน
ผลกลุ่ม (aggregate fruit)
ผลกลุ่ม ( Aggregate fruits ) เป็นผลที่เกิดจากกลุ่มของรังไข่ที่อยู่ภายในดอกเดียวกัน และอยู่บนฐานรองดอกเดียวกัน โดยที่
รังไข่แต่ละอันจะเป็นผลย่อยหนึ่งผลแต่เมื่อผลเหล่านั้นอยู่อัดกันแน่น ทาให้ดูคล้ายเป็นผลเดี่ยว เช่น ลูกหวาย น้อยหน่า สตรอเบอรี แต่
ผลบางชนิดก็อยู่กันอย่างไม่อัดแน่น เห็นแยกออกเป็นผลเล็ก ๆ เช่น นมแมว การเวก กระดังงา ลักษณะสาคัญของดอกที่จะกลายเป็นผล
กลุ่ม คือ ใน 1 ดอกของดอกเดี่ยวมีรังไข่อยู่หลายอันซึ่งอาจจะเชื่อมรวมกันหรือไม่เชื่อมรวมกันก็ได้
ผลรวม ( Multiple fruits ) คือ ผลที่เกิดจากดอกช่อ ที่มีรังไข่ของดอกแต่ละดอก รังไข่
เหล่านี้ กลายเป็นผลย่อยที่เชื่อมต่อแล้วรวมกันแน่นเหมือน
เป็นผลเดี่ยว ตัวอย่างของผลชนิดนี้ได้แก่ ขนุน สาเก สับปะรด ( เรียกผลเหล่านี้ว่า
Sorosis) มะเดือ ( เรียกผลชนิดนี้ว่า Syconus ) หม่อน สน ลูกยอ
( เรียกผลเหล่านี้ว่า Cone หรือ Strobirus ) บีท ( เรียกผลชนิดนี้ว่า Diclesium )
ผลรวม (multiple fruit)
Freshy Fruit
ผลสดเนื้อนุ่ม (Fleshy fruit) เมื่อสุกแก่เต็มที่แล้วเนื้อผลบางส่วนหรือทังหมดเป็นเนื้อนุ่ม แบ่งออกเป็น
Berry เป็นผลเนื้อนุ่มที่ปกติเนื้อทังสามชั้นอ่อนนุ่ม แม้ว่าบางชนิดจะมีเปลือก (Rind) แข็งหรือเหนียว ผลเจริญมาจาก เกสร
เพศเมียอันเดียว โดยเกสรตัวเมียอาจมีเพียงพูเดียวหรือหลายพู และมีเมล็ดมาก เช่น มะเขือเทศ มะละกอ
Typical berry มีเปลือกเป็นผิวบาง ๆ ถ้า ผลนันเกิดจากรังไข่ชนิด Superior ovary หรือ Inferior ovary เช่น กล้วย ฝรัง
มะเฟื อง ละมุด องุ่น กระท้อน อะโวกาโด พาสชันฟรุต มังคุด มะเขือ เทศ พริก มะละกอ
Pepo เป็นผลทีเปลือกนอกหนา แข็งหรือ เหนียว แต่เนือในอุ้มนาและมักเป็นผลทีเกิดจากรังไข่ชนิด Inferior ovary และรัง
ไข่มีหลายพูผลพวกนีมี เมล็ดมาก เช่น นาเต้า แตงโม ฟักทอง Squash แตงกวา
Freshy Fruit
Hesperidium เป็นผลที่เปลือกนอกเหนียว หนาเหมือนหนัง สามารถลอกหรือปอกออกได้ผิว นอกมักมีต่อมน้ามัน เนื้อชัน
กลางนุ่มหนา เนือชันใน มีเยือผนังกันออกเป็นหลายช่อง และเซลล์ชันในแปร รูปไปเป็นถุงเก็บกักของเหลว (Juice sac or
Endocarpic hair) เช่น ส้มเกลียง ส้มเขียวหวาน มะนาว เกรฟฟรุต (Grapefruit) ส้มโอ มะกรูด
Drupe ผลเดียวทีเจริญมาจากเกสรตัวเมียทีมีพูเดียว เป็นผลเนือนุ่มทีมีเนือชันใน (Endocarp) แข็งมาก และมักจะติดอยู่ กับ
เปลือกหุ้มเมล็ด ซึงมีอยู่เพียงเมล็ดเดียว เช่น มะพร้าว มะม่วง มะปราง มะกอก ท้อ พุทรา บ๊วย พลัม เชอร์รี เนคตารีน
(Nectarine) วอลนัท (Walnut) อัลมอนด์ (Almond) พีแคน (Pecan)
Pome ผลเดียวทีประกอบขึนด้วยเกสรตัวเมียทีมี หลายพูเป็นผลเนือนุ่มของ Epigynous flower เนือส่วนใหญ่ส่วนที กินได้
เกิดจากการเติบโตของเนือเยือข้างรังไข่(Hypanthium) เนือ บางส่วนทางด้านในเกิดจากการเจริญของ Epicarp ส่วนนอก
ส่วน Endocarp เป็นแผ่นเยือบาง ๆ คล้ายกระดาษ เช่น แอปเปิ ลสาลี
Dry fruit
(Dry fruit) เมื่อแก่จัด เต็มที่แล้ว เนื้อของผลจะแห้งแข็งหรือกรอบ บางชนิดผลจะแตกแยกจาก กัน การแตกของผลจะเป็นการแพร่
ของเมล็ด แต่บางชนิดไม่แตก ผลเนื้อ แห้งแข็งมี 2 กลุ่มตามความสามารถในการแตกของผล
ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วแตก (Dehiscent dry fruit) ผลกลุ่มนีจะมีเมล็ดจานวนมาก
ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วไม่แตก (Indehiscent dry fruit) โดยมากผลประเภทนี มักมีเมล็ดเดียวหรือสองเมล็ด
ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วแตก (Dehiscent dry fruit)
Legume or Pod มักเรียกทั่วไปว่า ฝัก เป็นผล ที่เกิดจากเกสรตัวเมียพูเดียว ผลแห้งมีตะเข็บทีผนัง ทังสองข้าง เมือเวลาแก่เต็มทีจะ
แตกออกเป็น 2 ซีก เช่น ถัวฝักยาว ถัวลันเตา ถัวต่าง ๆ แค กระถิน หาง นกยูง สะตอ มะขามเทศ
Follicle เป็นผลทีเกิดจากเกสรตัวเมียพูเดียว ผลแห้งมีตะเข็บข้างเดียว เวลาแตกจึงเปิ ดเพียงข้าง เดียว เช่น รัก ขจร ยีหุบ สาโรง
เทียนแดง
Capsule เป็นผลแห้งทีเกิดจากรังไข่ทีมีห้อง ภายในตังแต่ 2 carpel ขึ้นไป
ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วไม่แตก (Indehiscent dry fruit)
Achene or Akene เป็นผลขนาดเล็ก มีเมล็ด เดียว เปลือกผลแข็งและเหนียว แยกตัวจากเปลือก หุ้มเมล็ด เช่น บัว ทานตะวัน ผลย่อยของสตรอเบอรี
Schizocarp เป็นผลขนาดเล็ก ภายในมี 2 Carpel ขึนไป มี Carpoplore เป็นแกนอยู่ในชันของ รังไข่หรือแกนผล เมือแก่ตัวมากแกนนีจะแยกตัว ทา ให้ Carpel
แยกตัวออกเป็นซีก แต่ละซีกเรียกว่า Mericarp มีเมล็ดอยู่ภายใน 1 เมล็ด เช่น ผักชี ยีหร่า แครอท
Samara or Key เป็นผลคล้าย Achene แต่ Pericarp แผ่ออกเป็นเยือแบนบาง ร่อนลมได้ดี เช่น ประดู่ ตะเคียน ยางพารา
Nut or Glans เป็นผลคล้าย Achene แต่มีขนาด ใหญ่กว่า มี Pericarp แข็งและหนามาก มีเมล็ดเดียว เช่น ก่อ มะม่วงหิมพานต์ เกาลัด กระจับ มะคาดา เมีย
(Macadamia) พิสตาชิโอ (Pistachio)
Caryopsis or Grain เป็นผลคล้าย Achene แต่มี Pericarp ติดรวมกับเปลือกหุ้มเมล็ดอย่างแน่น แกะ ออกได้ยาก เช่น ข้าวโพด เดือย
Lomentum or Loment เป็นผลยาวลักษณะคล้าย ฝักไม่แตกเอง แต่อาจหักตามขวางเป็นท่อน หรือ เป็นแว่นได้ เช่น ไมยราบ มะขาม จามจุรี นนทรี คูน
บรรณำนุกรม
Sivakorn. (2013). การเกิดผล. [ระบบออนไลน์] https://sites.google.com/site/jinnyfruit/chnid-khxng-phl-mi
(6 มกราคม 2564)
Hort Physiol. (2017). โครงสร้าง. [ระบบออนไลน์]
https://ag.kku.ac.th/suntec/Hort%20Physiol%203%20Fruit.pdf (6 มกราคม 2564)
กิตติกรรมประกำศ
รายงานการศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องโครงสร้างและการเกิดผลฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์
ผู้สอนวิชาชีววิทยา 3 (ว 30243) ที่ได้ให้คาเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนวิธีแก้ปัญหาต่างๆมาโดยตลอด จนชิ้นงานฉบับนี้เสร็จ
สมบูรณ์ ผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครองที่ได้ให้คาปรึกษาในด้านต่างๆ
สุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลเรื่ องโครงสร้างและการเกิดผลในครั้งนี้จนทาให้ชิ้นงาน
สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
ภำคผนวก

More Related Content

What's hot

ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41PMAT
 
Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334ThanyapornK1
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Jitna Buddeepak
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลักssuser1eb5bc
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionChompooh Cyp
 
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษางานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาMatthanapornThongdan
 
Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334ThanyapornK1
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตIsriya Paireepairit
 
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกtakuapa
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556              วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556 PRgroup Tak
 
พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต วิปัสสนาสาธิต
พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต  วิปัสสนาสาธิตพระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต  วิปัสสนาสาธิต
พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต วิปัสสนาสาธิตWataustin Austin
 

What's hot (20)

ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
 
Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334Structure and development of plant seed-group 5/334
Structure and development of plant seed-group 5/334
 
KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลัก
 
Cashew Resize
Cashew ResizeCashew Resize
Cashew Resize
 
Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002
 
Entrepreneurship
EntrepreneurshipEntrepreneurship
Entrepreneurship
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introduction
 
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษางานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
 
Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
Asexual reproduction
Asexual reproductionAsexual reproduction
Asexual reproduction
 
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
Biology333
Biology333Biology333
Biology333
 
Digital Lib4camp
Digital Lib4campDigital Lib4camp
Digital Lib4camp
 
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556              วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
 
พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต วิปัสสนาสาธิต
พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต  วิปัสสนาสาธิตพระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต  วิปัสสนาสาธิต
พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตโต วิปัสสนาสาธิต
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
 

Recently uploaded

TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...Nguyen Thanh Tu Collection
 
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...Nguyen Thanh Tu Collection
 
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...Nguyen Thanh Tu Collection
 
Seth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñ
Seth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñSeth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñ
Seth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñcarrenoelio8
 
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)Shankar Aware
 

Recently uploaded (6)

LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
 
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
 
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
 
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
 
Seth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñ
Seth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñSeth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñ
Seth-Godin-–-Tribus-PDFDrive-.pdf en espaoñ
 
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)
 

Fruit stucture and fructification 334 group 6

  • 3. แนะนำสมำชิกในกลุ่ม 1.นางสาวปราณปรียา สิตะโปสะ เลขที่ 13 ห้อง 334 2.นายกฤษธนพล จินตรานันท์ เลขที่ 25 ห้อง 334 3.นายทายุต สหัชพงษ์ เลขที่ 31 ห้อง 334 4.นายภัทรพล อาชีวระงับโรค เลขที่ 39 ห้อง 334 5.นายรัฐกิตติ์ วสุภิรมย์คณากุล เลขที่ 40 ห้อง 334
  • 4. คำนำ การจัดทาชิ้นงาน โครงสร้างและการเกิดผลเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 ตาม หลักสูตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องโครงสร้างและการเกิดผลและสามารถนามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ คณะผู้จัดทาชิ้นงาน ขอขอบคุณเป็นอย่างยิ่งสาหรับครูที่ปรึกษาโครงการ ที่คอยให้คาปรึกษาในการจัดทาเอกสารรูปเล่มและ ให้คาชี้แนะตลอดจนปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานโครงการในครั้งนี้และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชิ้นงานนี้คงเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานไม่มากก็ น้อย ผู้จัดชิ้นงาน 6 มกราคม 2564
  • 6. กำรเกิดผล การเกิดของผล หลังจากการปฏิสนธิแล้ว ออวุลแต่ละอันก็จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็น เมล็ด (Seed) ซึ่งมีสารอาหารผสมอยู่ด้วย และรังไข่ก็จะเจริญไปเป็นผล (Fruit) เพื่อห่อหุ้มเมล็ดไว้ภายในและช่วยในการกระจายพันธุ์ ผลพืชบางชนิดอาจมีส่วนอื่นๆ ของ ดอก เช่น กลีบเลี้ยงติดมาด้วย ได้แก่ ผลฝรั่ง ทับทิม มังคุด สับปะรด แอปเปิล หรือส่วนของ ฐานรองดอกหุ้มรังไข่แบบ อินฟีเรียร์เจริญมาด้วย ได้แก่ ผลชมพู่ ทับทิม มะเขือ และ แอปเปิล ดังนั้นความหมายของผลที่สมบูรณ์คือ รังไข่ที่สุกแล้วอาจมีส่วนอื่นของดอกหรือ ฐานรองดอกเจริญตามมาด้วย ยังมีผลบางชนิด ซึ่งเจริญมาโดยไม่มีการผสมเกสรเรียกแบบ นี้ว่า ผลเทียม หรือผลแบบ พาร์ทีโนคาฟิก (Parthonocarpic) และเรียกวิธีการ เกิดผลแบบนี้ว่า พาร์ทีโนคาฟี (Parthenocarpy) ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติหรือเกิดจากการกระตุ้นโดยการใช้ฮอร์โมนพวกออกซิน จิเบอเรลลีน ฉีดพ่นทาให้ รังไข่เจริญเป็นผลได้และผลที่ได้โดยวิธีการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนนี้จะไม่มีเมล็ด คาว่าผลใน แง่ของพฤกษศาสตร์ นอกจากจะหมายถึงผลไม้ที่รับประทานได้แล้ว เช่น องุ่น ส้ม มะม่วง ทุเรียน ลาไย เงาะ แอปเปิล ชมพู่ แล้วยังรวมไปถึงผลที่เรียกว่าผักต่างๆ เช่น ถั่ว มะเขือ แตงกวา กระเจี๊ยบ และผลที่เรียกว่าเมล็ดด้วย เข่น ข้าว ข้าวโพด และธัญพืชทั้งหลายด้วย
  • 7. Angiosperm Angiospermae เรียกพืชในชั้นนี้ว่าพืชดอก (angiosperm) เนื่ องจากในพวกพืชมีเมล็ดด้วยกัน เฉพาะพืชกลุ่มนี้เท่านั้นที่สร้างดอก พืชดอก หมายถึงพืชที่เมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม พืชกลุ่มนี้มีรังไข่ (ovary) มีผล (fruit) และมีการปฏิสนธิคู่ (double fertilization) พืชดอกมีวิวัฒนาการ มาจากพืชเมล็ดเปลือยดึกดาบรรพ์ เมื่อประมาณ 136 ล้านปีที่แล้ว หรือในยุคที่ ไดโนเสาร์เริ่มสูญพันธุ์ พืชในชั้นนี้มีมากที่สุด ในโลกนี้ มีประมาณ 275,000 ชนิด (species) ในประเทศไทยประมาณว่ามีมากกว่า 12,000 ชนิด และ มีหลากหลายเช่นกัน ตั้งแต่ต้นเล็กไม่ถึงหนึ่งมิลลิเมตร เช่น duckweed ที่อยู่ตามผิวน้า จนถึงต้นสูงใหญ่ร่วมหนึ่งร้อยเมตร เช่นยูคาลิปตัส หรือยืนต้น เช่นไม้ที่พบเห็นบนดินทั่วไป เป็นเถาเกาะเกี่ยวตามต้นไม้จนถึงพืชอากาศที่ อาศัยอยู่บนต้นไม้อื่น หรือสังเคราะห์แสงได้เอง (photosynthetic plant) ดังเช่นพืชที่เราเห็นทั่วๆไป จนถึงพืชเบียนหรือกาฝาก (parasitic plant) และพืชกินซาก (saprophytic plant) พืชที่เราพบเห็นและศึกษาโดยทั่วไปทางการเกษตรจัดอยู่ในกลุ่มนี้
  • 8. Gymnosperm Gymnospermae เรียกพืชในชั้นนี้ว่าพืช เมล็ดเปลือย (gymnosperm) หมายถึงพืชที่ เมล็ดไม่มีสิ่งห่อหุ้ม พืชพวกนี้ไม่มีรังไข่ ไม่มีผล และมี การปฏิสนธิเดี่ยว (single fertilization) แต่จากความรู้ที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน พบว่า คากล่าวข้างต้น ถูกต้องเพียงบางส่วน ตัวอย่างพืชในชั้นนี้ เช่นสนเขา แปะก๊วย และปรง พืชเมล็ดเปลือยมีวิวัฒนาการในโลกมา ก่อนพืชดอก เมื่อประมาณ 280 ล้านปีที่แล้ว หรือก่อน ไดโนเสาร์เริ่มครองโลก
  • 9. โครงสร้างของผล ลักษณะโครงสร้าง (type of fruit) กาหนดจากลักษณะของดอกกับรังไข่
  • 10. ผลเดี่ยว (simple fruit) ผลเดี่ยว ( Simple fruits ) เป็นผลที่เกิดจากดอกเพียงดอก เดียว ดอกอาจจะอยู่เดี่ยว ๆ หรืออยู่เป็นดอกช่อ ตัวอย่าง ผลเดี่ยวที่เกิดจากดอกเพียงดอกเดียว คือ ตาลึง มะเขือ แตงกวา สัม ฟักทอง ส่วนตัวอย่างผลเดี่ยวที่เกิดจากดอก ช่อ เช่น ชมพู่ มะม่วง มะกอก มะปราง มะนาว ลักษณะ เด่นของผลเดี่ยว คือ จะมีรังไข่เพียง 1 อัน ใน 1 ดอก ซึ่ง จะเป็นดอกเดี่ยวหรือดอกช่อก็ได้ สาหรับดอกช่อรังไข่ของ แต่ละดอกต้องไม่มีการหลอมรวมกัน
  • 11. ผลกลุ่ม (aggregate fruit) ผลกลุ่ม ( Aggregate fruits ) เป็นผลที่เกิดจากกลุ่มของรังไข่ที่อยู่ภายในดอกเดียวกัน และอยู่บนฐานรองดอกเดียวกัน โดยที่ รังไข่แต่ละอันจะเป็นผลย่อยหนึ่งผลแต่เมื่อผลเหล่านั้นอยู่อัดกันแน่น ทาให้ดูคล้ายเป็นผลเดี่ยว เช่น ลูกหวาย น้อยหน่า สตรอเบอรี แต่ ผลบางชนิดก็อยู่กันอย่างไม่อัดแน่น เห็นแยกออกเป็นผลเล็ก ๆ เช่น นมแมว การเวก กระดังงา ลักษณะสาคัญของดอกที่จะกลายเป็นผล กลุ่ม คือ ใน 1 ดอกของดอกเดี่ยวมีรังไข่อยู่หลายอันซึ่งอาจจะเชื่อมรวมกันหรือไม่เชื่อมรวมกันก็ได้
  • 12. ผลรวม ( Multiple fruits ) คือ ผลที่เกิดจากดอกช่อ ที่มีรังไข่ของดอกแต่ละดอก รังไข่ เหล่านี้ กลายเป็นผลย่อยที่เชื่อมต่อแล้วรวมกันแน่นเหมือน เป็นผลเดี่ยว ตัวอย่างของผลชนิดนี้ได้แก่ ขนุน สาเก สับปะรด ( เรียกผลเหล่านี้ว่า Sorosis) มะเดือ ( เรียกผลชนิดนี้ว่า Syconus ) หม่อน สน ลูกยอ ( เรียกผลเหล่านี้ว่า Cone หรือ Strobirus ) บีท ( เรียกผลชนิดนี้ว่า Diclesium ) ผลรวม (multiple fruit)
  • 13. Freshy Fruit ผลสดเนื้อนุ่ม (Fleshy fruit) เมื่อสุกแก่เต็มที่แล้วเนื้อผลบางส่วนหรือทังหมดเป็นเนื้อนุ่ม แบ่งออกเป็น Berry เป็นผลเนื้อนุ่มที่ปกติเนื้อทังสามชั้นอ่อนนุ่ม แม้ว่าบางชนิดจะมีเปลือก (Rind) แข็งหรือเหนียว ผลเจริญมาจาก เกสร เพศเมียอันเดียว โดยเกสรตัวเมียอาจมีเพียงพูเดียวหรือหลายพู และมีเมล็ดมาก เช่น มะเขือเทศ มะละกอ Typical berry มีเปลือกเป็นผิวบาง ๆ ถ้า ผลนันเกิดจากรังไข่ชนิด Superior ovary หรือ Inferior ovary เช่น กล้วย ฝรัง มะเฟื อง ละมุด องุ่น กระท้อน อะโวกาโด พาสชันฟรุต มังคุด มะเขือ เทศ พริก มะละกอ Pepo เป็นผลทีเปลือกนอกหนา แข็งหรือ เหนียว แต่เนือในอุ้มนาและมักเป็นผลทีเกิดจากรังไข่ชนิด Inferior ovary และรัง ไข่มีหลายพูผลพวกนีมี เมล็ดมาก เช่น นาเต้า แตงโม ฟักทอง Squash แตงกวา
  • 14. Freshy Fruit Hesperidium เป็นผลที่เปลือกนอกเหนียว หนาเหมือนหนัง สามารถลอกหรือปอกออกได้ผิว นอกมักมีต่อมน้ามัน เนื้อชัน กลางนุ่มหนา เนือชันใน มีเยือผนังกันออกเป็นหลายช่อง และเซลล์ชันในแปร รูปไปเป็นถุงเก็บกักของเหลว (Juice sac or Endocarpic hair) เช่น ส้มเกลียง ส้มเขียวหวาน มะนาว เกรฟฟรุต (Grapefruit) ส้มโอ มะกรูด Drupe ผลเดียวทีเจริญมาจากเกสรตัวเมียทีมีพูเดียว เป็นผลเนือนุ่มทีมีเนือชันใน (Endocarp) แข็งมาก และมักจะติดอยู่ กับ เปลือกหุ้มเมล็ด ซึงมีอยู่เพียงเมล็ดเดียว เช่น มะพร้าว มะม่วง มะปราง มะกอก ท้อ พุทรา บ๊วย พลัม เชอร์รี เนคตารีน (Nectarine) วอลนัท (Walnut) อัลมอนด์ (Almond) พีแคน (Pecan) Pome ผลเดียวทีประกอบขึนด้วยเกสรตัวเมียทีมี หลายพูเป็นผลเนือนุ่มของ Epigynous flower เนือส่วนใหญ่ส่วนที กินได้ เกิดจากการเติบโตของเนือเยือข้างรังไข่(Hypanthium) เนือ บางส่วนทางด้านในเกิดจากการเจริญของ Epicarp ส่วนนอก ส่วน Endocarp เป็นแผ่นเยือบาง ๆ คล้ายกระดาษ เช่น แอปเปิ ลสาลี
  • 15. Dry fruit (Dry fruit) เมื่อแก่จัด เต็มที่แล้ว เนื้อของผลจะแห้งแข็งหรือกรอบ บางชนิดผลจะแตกแยกจาก กัน การแตกของผลจะเป็นการแพร่ ของเมล็ด แต่บางชนิดไม่แตก ผลเนื้อ แห้งแข็งมี 2 กลุ่มตามความสามารถในการแตกของผล ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วแตก (Dehiscent dry fruit) ผลกลุ่มนีจะมีเมล็ดจานวนมาก ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วไม่แตก (Indehiscent dry fruit) โดยมากผลประเภทนี มักมีเมล็ดเดียวหรือสองเมล็ด
  • 16. ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วแตก (Dehiscent dry fruit) Legume or Pod มักเรียกทั่วไปว่า ฝัก เป็นผล ที่เกิดจากเกสรตัวเมียพูเดียว ผลแห้งมีตะเข็บทีผนัง ทังสองข้าง เมือเวลาแก่เต็มทีจะ แตกออกเป็น 2 ซีก เช่น ถัวฝักยาว ถัวลันเตา ถัวต่าง ๆ แค กระถิน หาง นกยูง สะตอ มะขามเทศ Follicle เป็นผลทีเกิดจากเกสรตัวเมียพูเดียว ผลแห้งมีตะเข็บข้างเดียว เวลาแตกจึงเปิ ดเพียงข้าง เดียว เช่น รัก ขจร ยีหุบ สาโรง เทียนแดง Capsule เป็นผลแห้งทีเกิดจากรังไข่ทีมีห้อง ภายในตังแต่ 2 carpel ขึ้นไป
  • 17. ผลแห้งแข็งทีแก่แล้วไม่แตก (Indehiscent dry fruit) Achene or Akene เป็นผลขนาดเล็ก มีเมล็ด เดียว เปลือกผลแข็งและเหนียว แยกตัวจากเปลือก หุ้มเมล็ด เช่น บัว ทานตะวัน ผลย่อยของสตรอเบอรี Schizocarp เป็นผลขนาดเล็ก ภายในมี 2 Carpel ขึนไป มี Carpoplore เป็นแกนอยู่ในชันของ รังไข่หรือแกนผล เมือแก่ตัวมากแกนนีจะแยกตัว ทา ให้ Carpel แยกตัวออกเป็นซีก แต่ละซีกเรียกว่า Mericarp มีเมล็ดอยู่ภายใน 1 เมล็ด เช่น ผักชี ยีหร่า แครอท Samara or Key เป็นผลคล้าย Achene แต่ Pericarp แผ่ออกเป็นเยือแบนบาง ร่อนลมได้ดี เช่น ประดู่ ตะเคียน ยางพารา Nut or Glans เป็นผลคล้าย Achene แต่มีขนาด ใหญ่กว่า มี Pericarp แข็งและหนามาก มีเมล็ดเดียว เช่น ก่อ มะม่วงหิมพานต์ เกาลัด กระจับ มะคาดา เมีย (Macadamia) พิสตาชิโอ (Pistachio) Caryopsis or Grain เป็นผลคล้าย Achene แต่มี Pericarp ติดรวมกับเปลือกหุ้มเมล็ดอย่างแน่น แกะ ออกได้ยาก เช่น ข้าวโพด เดือย Lomentum or Loment เป็นผลยาวลักษณะคล้าย ฝักไม่แตกเอง แต่อาจหักตามขวางเป็นท่อน หรือ เป็นแว่นได้ เช่น ไมยราบ มะขาม จามจุรี นนทรี คูน
  • 18. บรรณำนุกรม Sivakorn. (2013). การเกิดผล. [ระบบออนไลน์] https://sites.google.com/site/jinnyfruit/chnid-khxng-phl-mi (6 มกราคม 2564) Hort Physiol. (2017). โครงสร้าง. [ระบบออนไลน์] https://ag.kku.ac.th/suntec/Hort%20Physiol%203%20Fruit.pdf (6 มกราคม 2564)
  • 19. กิตติกรรมประกำศ รายงานการศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องโครงสร้างและการเกิดผลฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ ผู้สอนวิชาชีววิทยา 3 (ว 30243) ที่ได้ให้คาเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนวิธีแก้ปัญหาต่างๆมาโดยตลอด จนชิ้นงานฉบับนี้เสร็จ สมบูรณ์ ผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครองที่ได้ให้คาปรึกษาในด้านต่างๆ สุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลเรื่ องโครงสร้างและการเกิดผลในครั้งนี้จนทาให้ชิ้นงาน สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี