SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
124
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๑.๑	 รู้และเข้าใจประวัติ	ความสำาคัญ	ศาสดา	หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่น	มีศรัทธาที่ถูกต้อง	ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม	เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๕	 แสดงความเคารพพระรัตนตรัย	และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท	๓	ในพระพุทธศาสนาและ
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด
ป.	๓/๖	 เห็นคุณค่าและสวดมนต์	แผ่เมตตา	มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการ
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด
ป.	๓/๗	 บอกชื่อ	ความสำาคัญและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ	ศาสนสถานและศาสนบุคคล
ของศาสนาอื่นๆ
มาตรฐาน ส ๒.๑	 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี	มีค่านิยมที่ดีงามและธำารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย	ดำารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น
ป.	๓/๒	 บอกพฤติกรรมการดำาเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ป.	๓/๓	 อธิบายความสำาคัญของวันหยุดราชการที่สำาคัญ
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	บอกและอธิบายเกี่ยวกับวัดไทย	และพระพุทธรูป	และพระพุทธประวัติได้
	 ๒.	ทำาโครงงานและอธิบายเกี่ยวกับวันสำาคัญทางพระพุทธศาสนาได้	หรือศาสนาอื่นที่ตนนับถือได้
	 ๓.	สนทนา	อธิบาย	เกี่ยวกับพระธรรมและคำาสอนของศาสนาพุทธ	และศาสนาอื่นๆ	ได้
	 ๔.	แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อ	ความศรัทธาในการนับถือศาสนาต่างๆ	ได้
	 ๕.	ชื่นชมการประพฤติตนตามศีล	๕	และคำาสั่งสอนของพระพุทธองค์ของตนเอง	เพื่อน	ครู	บุคคลใน
ครอบครัว	และบุคคลอื่นๆ
	 ๖.	สวดมนต์และแผ่เมตตาเป็นประจำาทุกวัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ภูมิปญญาไทย
ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
125
๓.	สาระสำ�คัญ
ภูมิปัญญาไทย ประเพณีและวัฒนธรรม
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑.	 นักเรียนร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และช่วยกันอธิบายความหมาย
ของเพลงและพระราชกรณียกิจฯและความหมายของทศพิธราชธรรม
	๒.	 ช่วยกันเขียนแผนภูมิเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ซึ่งพระองค์ทรงปฏิบัติตามหลักธรรมใน
พระพุทธศาสนาโดยเคร่งครัด
	๓.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนแผนภูมิการดำ�เนินชีวิตของพ่อแม่ ผู้ที่เราเคารพ
นับถือและปู่ย่าตายายตลอดจนกิจวัตรประจำ�วันของนักเรียนเอง
	 	 เปรียบเทียบ อภิปราย การดำ�เนินชีวิตในอดีตสมัยปู่ ย่า ตา ยาย
สภาพแวดล้อมเปลี่ยนไปกิจวัตรประจำ�วันเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง
	 	 	 ช่วยกันอภิปรายสรุปว่ากิจกรรมใดที่เราควรยึดปฏิบัติ เพื่อเป็น
เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้คนทุกคนทำ�ความดี คิดดี คิดชอบ มีชีวิตสงบสุข
ในทางสายกลางประกอบอาชีพสุจริตไม่เบียดเบียนผู้อื่น
	๔.	 กลุ่มนักเรียนทำ�โครงการ โครงงาน เกี่ยวกับวันสำ�คัญทางศาสนา เราควร
ทำ�กิจกรรมใดบ้าง ควรชักชวนเพื่อนๆ และบุคคลในครอบครัว ทำ�กิจกรรม
ร่วมกัน ทำ�อาหาร ทำ�บุญตักบาตร ทำ�ความดี ช่วยเหลืองานพ่อแม่ และ
ช่วยผู้อื่นตามสมควร กิจกรรมที่ควรทำ� เช่น ทำ�ความสะอาด ห้องพระ
จัดดอกไม้บูชา สวดมนต์ ไหว้พระ ทำ�ความดีต่างๆ ถือศีล ๕ กราบไหว้พ่อ
แม่ และผู้ใหญ่ หลังจากปฏิบัติตนตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม ควร
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
–	 สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๘
และ ๒๙
–	 พระพุทธรูปปางสำ�คัญที่
พบบ่อย มีลักษณะและ
ความหมายเกี่ยวข้องกับ
พุทธประวัติ
	 ๑.	ปางประสูติ
	 ๒.	ปางสมาธิ (วันพฤหัสบดี)
	 ๓.	ปางมารวิชัย
	 ๔.	ปางถวายเนตร (วันอาทิตย์)
	 ๕.	ปางนาคปรก (วันเสาร์)
	 ๖.	ปางรำ�พึง (วันศุกร์)
	 ๗.	ปางปฐมเทศนา
	 ๘.	ปางห้ามสมุทร
	 ๙.	ปางอุ้มบาตร
	 	(วันพุธ - กลางวัน)
	๑๐.	ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์
	๑๑.	ปางห้ามพระแก่นจันทน์
	๑๒.	ปางห้ามญาติ (วันจันทร์)
	๑๓.	ปางลีลา
	๑๔.	ปางป่าเลไลยก์
	 	(วันพุธ - กลางคืน)
	๑๕.	ปางปรินิพพาน หรือ
	 	ปางไสยาสน์ (วันอังคาร)
	 *	องค์พระพุทธรูปปางต่างๆ
	 	(จากสารานุกรมไทยฯ ฉบับ
	 	เสริมความรู้ เล่ม ๘)
ภาพพระพุทธประวัติ
พว.
การดำ�เนินชีวิตของพ่อแม่
ประกอบอาหาร
ดูแลลูกๆไปทำ�งาน
ไปเที่ยวพักผ่อน ไปวัด
เยี่ยมเพื่อน
และญาติ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
126
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๕.	 แบ่งกลุ่มศึกษา เรื่อง วัดไทย และพระพุทธรูป ตามสารานุกรมไทยฯ เล่ม
ที่ ๒๘ และ ๒๙ เขียนผังความคิด รวบรวมภาพ ความหมาย และศึกษา
รายละเอียดต่างๆ(ให้เหมาะสมกับวัย)
	 	 อภิปรายความหมายของสถานที่ต่างๆ ในเขตพุทธาวาส และสังฆาวาส
ยกตัวอย่างวัดที่แบ่งส่วนชัดเจน เช่น วัดโพธิ์ ท่าเตียน กรุงเทพฯ วัดเล็กๆ
ในชนบท อาจแบ่งส่วนไม่ชัดเจน ให้นักเรียนช่วยกันเขียนแผนผังวัด
ใกล้บ้าน วัดที่นักเรียนรู้จักเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสังเกตความ
สำ�คัญและประโยชน์ต่อส่วนรวมของสถานที่นั้นๆ
	๖.	 กลุ่มนักเรียน ช่วยกันศึกษา และรวบรวมพระพุทธรูป ความรู้เกี่ยวกับ
พระพุทธรูปเขียนผังความคิด
มรดกศิลปกรรมพื้นบ้าน
	 วิบูลย์ ลี้สุวรรณ
	 ๑.	โบสถ์ไม้ในภาคกลาง
	 ๒.	ธรรมาสน์เมืองเพชรบุรี
	 ๓.	โบสถ์ไม้สักวัดกุฏิ บางเค็ม
	 	เพชรบุรี
	 ๔.	ของดีเมืองพัทลุง
	 ๕.	รอยอดีต และของดีเมือง
	 	นครชัยศรี
	 ๖.	กระดาษพื้นบ้านของไทย
	 ๗.	โบสถ์พื้นบ้านที่อุตรดิตถ์
	 ๘.	หอไตรวัดตะคุ นครราชสีมา
	 ๙.	จิตรกรรมสกุลช่างปักธงชัย
	๑๐.	สิมพื้นบ้านอีสาน
	๑๑.	ธรรมาสน์พื้นบ้านอีสาน
	๑๒.	หอธรรม หรือหอไตรใน
	 	ล้านนา
	๑๓.	กุฏิร้อยปีที่เมืองนครศรี-
	 	ธรรมราช
	๑๔.	กุฏิร้อยปีที่เมืองปัตตานี
	๑๕.	ตะโละมาเนาะ : มัสยิด
	 	พื้นบ้านที่นราธิวาส
*สวดมนต์และแผ่เมตตาเป็น
ประจำ�ทุกวัน
พว.
โบสถ์
วิหาร
พระสถูปเจดีย์
และพระปรางค์
หอพระธรรม/
หอไตร
อื่นๆเช่น
-	 ระเบียง
-	 กำ�แพงแก้ว
-	 ศาลาราย
เขตสังฆาวาส
ศาลาการเปรียญ
หอกล้อง
และหอระฆัง กุฏิ
อื่นๆเช่น
-	 ศาลาบาตร
-	 เว็จกุฎี
เขตพุทธาวาส
วัดไทย
พระพุทธรูป
สร้างแทนองค์
พระพุทธเจ้า
ประดิษฐานไว้ในโบสถ์
วิหารศาลาการเปรียญ
ไทยสร้างในพุทธศตวรรษที่
๘-๙ก่อนทวาราวดี
หอพระห้องพระ
ตามบ้าน ขนาดต่างๆกัน
สร้างตามศิลปะ
แต่ละสมัย
มีปางต่างๆกัน
พว.
พระพุทธรูปสร้างด้วย
ไม้
ก่ออิฐถือปูน
ปูนปั้นทองสำ�ริด
ศิลา
ดินเผา
พว.
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
127
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 อธิบายพระพุทธรูปปางต่างๆ ตามพุทธประวัติ สนทนาเกี่ยวกับพระ-
พุทธประวัติประกอบภาพ(อาจถ่ายวิดีโอภาพตามผนังโบสถ์ประกอบ)
	๗.	 กลุ่มนักเรียนระดมสมอง วางแผน สัมภาษณ์ พ่อ แม่ ครู ผู้ปกครอง
ผู้รู้ เรื่องความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา บันทึกผลการสัมภาษณ์
ผู้แทนกลุ่มรายงานหน้าชั้น พร้อมแผนภูมิประกอบ ตอบคำ�ซักถามจาก
ชั้นเรียน
	 	 ถาม:	๑.	 นักเรียน เรียนรู้อะไรบ้างจากวัดและพระพุทธรูป และพระพุทธ-
	 	 ศาสนา
	 	 	 ๒.	พระพุทธศาสนามีความสำ�คัญต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง
	 	 	 ๓.	พระรัตนตรัยหมายถึงอะไร
	๘.	 ครูนำ�นิทานชาดก เช่น เรื่องสุวัณณสามชาดก วัณณุปถชาดก ฯลฯ เล่า
ให้นักเรียนฟังและร่วมกันแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนกัน
	 	 ถาม:-	 นักเรียนได้เรียนรู้คุณธรรมอะไรจากชาดกบ้าง
	 	 	 นักเรียนนำ�คุณธรรมเหล่านี้ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันอย่างไร
	 	 	 อธิบาย
	๙.	 จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมพระพุทธศาสนาดังนี้:-
	 	 –	 นิมนต์พระสงฆ์เป็นวิทยากรอบรมนักเรียนทุกวันพระ/เดือน
	 	 –	 นิมนต์พระสงฆ์บรรยายเกี่ยวกับพุทธศาสนาในห้องเรียน
	 	 –	 ศึกษาธรรมะจากหนังสือเทปและบทความ
	๑๐.	 กลุ่มนักเรียนเขียนโครงงาน วันสำ�คัญทางศาสนาต่างๆ แล้วจัดกิจกรรม
ตามนั้น
	๑๑.	 จัดบอร์ดนิทรรศการเกี่ยวกับวันสำ�คัญของพระพุทธศาสนา
	๑๒.	ศึกษาพระราชจริยาวัตร และพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้า-
อยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์
ซึ่งพระองค์ท่านทรงปฏิบัติตามพระธรรมคำ�สั่งสอน จัดทำ�สมุดภาพ
พระราชกรณียกิจฯ
	๑๓.	 ศึกษา “เบญจศีล เบญจธรรม” และรวบรวมการปฏิบัติการประพฤติของ
นักเรียน เพื่อนๆ และครู ที่ประพฤติปฏิบัติตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม
รวบรวมเป็นสมุดบันทึก
พว.
พระพุทธรูปปางต่างๆ
(ที่สำ�คัญ)
ปางปฐมเทศนา
ปางสมาธิ
ปางมารวิชัย ปางประทานอภัย
ปางประทานพร
ปางทรงแสดงธรรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
128
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑๔.	 รวบรวมข่าวเกี่ยวกับผู้ประกอบคุณงามความดีต่อพ่อแม่ ครอบครัว และ
สังคม เช่น เหตุการณ์คลื่นยักษ์ ๖ จังหวัดภาคใต้ แล้วบอกว่า บุคคลเหล่า
นั้น ปฏิบัติตนตามศีลธรรม และคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์ข้อใดบ้าง
เป็นผลดีอย่างไรจงอภิปราย
	๑๕.	 สังคมวัตถุ หมายถึง หลักธรรมที่ส่งเสริมให้คนสงเคราะห์หรือช่วยเหลือ
กันมีกี่อย่างอะไรบ้างลองตั้งเรื่องให้เด็กอธิบายลองเขียนผังความคิด
	
	 	 นักเรียนลองยกตัวอย่างบุคคลที่นักเรียนชอบมากที่สุด เขาปฏิบัติตนตรง
กับข้อใดอย่างใด(ดูตัวอย่างเหตุการณ์สึนามิ)
	๑๖.	 ทำ�โครงงานเกี่ยวกับ “ความกตัญญูกตเวที” ต่อบิดามารดา บุคคลใน
ครอบครัวและครู
	๑๗.	 ระดม มอง รวบรวมประสบการณ์ที่นักเรียนทำ�สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อ
บุคคลอื่นๆ/ที่โรงเรียน
	๑๘.	 เขียนผังความคิด เรื่องที่นักเรียนทำ�ประโยชน์ต่อบุคคลอื่น/ที่โรงเรียน
พร้อมจัดป้ายนิเทศ
	๑๙.	 บันทึกการกระทำ�ของตนเอง ที่แสดงถึงการแสดงความกตัญญูกตเวที
และทำ�ประโยชน์ต่อบุคคลอื่น และส่วนรวม เป็นเวลา ๑ เดือน และสรุป
รายงานให้เพื่อนๆฟังอภิปราย
	๒๐.	ฝึกสวดมนต์ และเรียนรู้ความหมายของบทสวดมนต์ทุกบท ปฏิบัติจริง
ทุกสัปดาห์พร้อมสวดแผ่เมตตา
	๒๑.	ระดมสมองเกี่ยวกับ
	 	 –	 การช่วยเหลือบำ�รุงวัด
	 	 –	 การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์
	 	 –	 เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
	 	 –	 พุทธศาสนสุภาษิต
	๒๒.	บันทึกพฤติกรรมวัดผล  ประเมินผล
พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย
	 ๑.	พระพุทธมหามณีรัตน	
	 ปฏิมากร (พระแก้วมรกต)
	 วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
	 (วัดพระแก้ว) กรุงเทพฯ
	 ๒.	พระพุทธสิหิงค์
	 	 องค์ที่ ๑ ประดิษฐานอยู่ที่
	 	 พระที่นั่งพุทไธสวรรค์ ใน
	 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
	 พระนคร
	 	 องค์ที่ ๒ วัดพระสิงห์
	 เชียงใหม่
	 	 องค์ที่๓หอพระพุทธสิหิงค์
	 	นครศรีธรรมราช
สังคหวัตถุ
ปิยวาจาทาน
อัตถจริยา สมานัตตตา
พว.
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
129
ภาคผนวก
พระพุทธรูปที่สำาคัญในประเทศไทย
	 ๑.	 พระพุทธรูปศิลาขาว	วัดพระปฐมเจดีย์ฯ	จ.	นครปฐม	เป็นพระพุทธรูปสมัยทวาราวดี	ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุด
	๒.	 พระเสตังคมณี	(พระแก้วขาว)	วัดเชียงมั่น	อ.	เมือง	จ.	เชียงใหม่	สร้างโดยพระเจ้ารามราช	กษัตริย์ครอง
กรุงละโว้	พ.ศ.	๗๐๐
	๓.	 พระศรีศากยมุนี	วัดสุทัศนเทพวราราม	กรุงเทพฯ	เดิมอยู่ที่วิหารหลวง	วัดมหาธาตุ	สุโขทัย	อัญเชิญลงมา
เมื่อ	พ.ศ.	๒๓๕๑
	๔.	 พระพุทธชินราช	วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ	จ.	พิษณุโลก	สันนิษฐานว่า	สร้างขึ้นในสมัยพระมหาธรรมราชาที่	๑	
(ลิไท)	พ.ศ.	๑๙๐๐
	๕.	 พระพุทธสุวรรณมหาปฏิมากร	(พระสุโขทัยไตรมิตร)	วัดไตรมิตรวิทยาราม	กรุงเทพฯ	เดิมมีปูนหุ้มทั้งองค์	
อยู่วัดพระยาไกร	สมัยรัชกาลที่	๓
	 ๖.	 พระเจ้าเก้าตื้อ	พระอุโบสถวัดบุปผาราม	(วัดสวนดอก)	จ.	เชียงใหม่	พระเมืองแก้ว	กษัตริย์เมืองเชียงใหม่
ทรงสร้าง	(ครองราชย์ระหว่าง	พ.ศ.	๒๐๓๘	-	๒๐๖๙)	
	๗.	 พระพุทธไตรรัตนนายก	(หลวงพ่อโต)	สร้างเมื่อ	พ.ศ.	๑๘๖๗
	๘.	 พระมงคลบพิตร	พระราชวังโบราณ	ศรีอยุธยา	สร้างราวรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
	 ๙.	 พระพุทธโลกนาถ	ราชมหาสมมติวงศ์ฯ	วัดพระเชตุพนฯ	เดิมอยู่วัดพระศรีสรรเพชญ์	พระนครศรีอยุธยา	
ถูกพม่าเผาทำาลาย
	๑๐.	 พระพุทธนิมิต	วิชิตมารโมลีฯ	วัดหน้าพระเมรุราชิการาม	กรุงศรีอยุธยา
	๑๑.	พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก	และ	พระพุทธเลิศหล้านภาลัย	วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
	๑๒.	หลวงพ่อโต	(พระศรีอาริยเมตไตรย์)	วัดอินทรวิหาร	กรุงเทพฯ
	๑๓.	พระศรีศากยะทศพลญาณ	ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์	จ.	นครปฐม	(พ.ศ.	๒๕๒๕)
	๑๔.	พระพุทธทักษิณมิ่งมงคล	จ.	นราธิวาส	สร้าง	พ.ศ.	๒๕๑๒
	๑๕.	พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา	จ.	ชลบุรี	(พ.ศ.	๒๕๓๙)
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
130
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๑.๑	 รู้และเข้าใจประวัติ	ความสำาคัญ	ศาสดา	หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่น	มีศรัทธาที่ถูกต้อง	ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม	เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๕	 แสดงความเคารพพระรัตนตรัย	และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท	๓	ในพระพุทธศาสนาและ
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด
ป.	๓/๖	 เห็นคุณค่าและสวดมนต์	แผ่เมตตา	มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการ
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด
ป.	๓/๗	 บอกชื่อ	ความสำาคัญและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ	ศาสนสถานและศาสนบุคคล
ของศาสนาอื่นๆ
มาตรฐาน ส ๒.๑	 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี	มีค่านิยมที่ดีงามและธำารงรักษาประเพณี
และวัฒนธรรมไทย	ดำารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น
ป.	๓/๒	 บอกพฤติกรรมการดำาเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ป.	๓/๓	 อธิบายความสำาคัญของวันหยุดราชการที่สำาคัญ
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	รู้และเข้าใจเอกลักษณ์	และสัญลักษณ์ของชาติไทย
	 ๒.	อธิบายและเห็นความสำาคัญของเอกลักษณ์	สัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นไทย
	 ๓.	บอกความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณีแต่ละพื้นที่ได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง เอกลักษณ์ สัญลักษณ์ความเปนไทย
ระยะเวลาในการสอน ๒ ชั่วโมงป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
131
๓.	สาระสำ�คัญ
	 ๑.	เอกลักษณ์ของชาติ
	 ๒.	สัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นไทย
	 ๓.	วัฒนธรรมไทย
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ขั้นนำ�เข้าสู่บทเรียน
	๑.	 ให้นักเรียนดูภาพมารยาทไทย ประเพณีต่างๆ อาชีพ แล้วสนทนาถึง
ความสัมพันธ์กับการดำ�รงชีวิตอย่างไรแล้วให้ร้องเพลง“ไตรรงค์ธงไทย”
	๒.	 นักเรียนเล่นเกม “ปริศนาซ่อนคำ�” ที่แสดงถึงวัฒนธรรมและประเพณีที่
ซ่อนอยู่ให้ได้อย่างน้อย๔คำ�
	๓.	 แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อศึกษาเอกลักษณ์และสัญลักษณ์แสดงความเป็นไทย
จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆหรือใบความรู้ที่ครูเตรียมให้
	๔.	 นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนเสนอรายงาน
	๕.	 นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น เอกลักษณ์ สัญลักษณ์แสดง
ความเป็นไทยครูสรุปเพิ่มเติม
	๖.	 นักเรียนทำ�แบบทดสอบ
ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้
ความคิด ความเชื่อ ความ
สามารถที่สมาชิกในครอบครัว
ได้สั่งสมประสบการณ์จาก
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม และ
วัฒนธรรมในท้องถิ่นของตน
อยู่ในทวีปเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
ชาติไทย
นับถือพุทธศาสนา
และอื่นๆ
มีศิลปวัฒนธรรม
ของเราเอง
เก่าแก่
เอกราช พระมหากษัตริย์
เป็นประมุข
ประชาธิปไตย
ใช้อักษรไทย
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	รูปภาพมารยาทไทย ขนบธรรมเนียมไทย
	 ๒.	ใบกิจกรรม
	 ๓.	ใบความรู้
	 ๔.	เกมปริศนาซ่อนคำ�
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
132
	 ๕.	วีดิทัศน์
	 ๖.	เพลง
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	สังเกตการอภิปราย
	 ๒.	การตรวจใบกิจกรรม
	 ๓.	สังเกตการเล่นเกม
	 ๔.	การนำ�เสนอรายงานกลุ่ม
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	บอกสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นชนชาติไทยได้
	 ๒.	ปฏิบัติตนในการเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้
	 ๓.	ดูจากการปฏิบัติตนในการรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
	 –	ควรมีกิจกรรมส่งเสริมมารยาทไทย วัฒนธรรมไทย สมํ่าเสมอ
๙.	ภาคผนวก
ครูควรเล่าความเป็นมาของชนชาติไทย ที่นักประวัติศาสตร์รุ่นล่าสุดสรุปว่าอยู่แถบอินโดจีน คือระหว่างประเทศ
อินเดียกับจีน หรือที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ หรือแหลมทอง ซึ่งปรากฏในชาดกของพระพุทธศาสนา เป็นอาณาจักรที่รับ
อารยธรรมจากอินเดียมาปฏิบัติ เป็นคนพื้นเมืองเดิม เป็นรัฐอิสระ เป็นกลุ่มต่างๆ บางรัฐอยู่ใต้อำ�นาจรัฐที่เข้มแข็งกว่า
จนถึงอาณาจักรสุโขทัย สุพรรณภูมิ ละโว้ อโยธยา นครศรีธรรมราช เป็นต้น แต่สิ่งสำ�คัญ คือ เป็นรัฐของคนไทย ที่มี
ประชาชนคนไทยเป็นองค์ประกอบ
อ่อนน้อมถ่อมตน มีสัมมาคารวะ
เคารพผู้ใหญ่ ผู้มีพระคุณ
ชาติไทย
มีลักษณะเฉพาะ
เคารพนับถือสถาบัน
พระมหากษัตริย์
ใช้อักษรไทย
มีวัฒนธรรมของตนเอง
มีการแต่งกายประจำ�ชาติ
อุปนิสัยรักอิสระ
รักสงบ โอบอ้อมอารี
ส่วนใหญ่นับถือ
พระพุทธศาสนา
มีประเพณีที่ดีงาม
มีการละเล่นไทย
มีอาหารไทย
พว.
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
133
๑. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	สนทนาและอธิบายเกี่ยวกับความเจริญยาวนานของชาติไทย	จากกรุงสุโขทัยถึงกรุงเทพฯ	(กรุงรัตนโกสินทร์)	
พร้อมทั้งค้นคว้าหาข้อมูลได้
	 ๒.	สนทนา	อธิบาย	อภิปราย	เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ไทย	พระราชประวัติ	พระราชกรณียกิจ	ได้
	 ๓.	สนทนา	อธิบาย	อภิปราย	เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ	พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว	ในรัชกาลปัจจุบัน	และ
รัชกาลที่สำาคัญๆ	ได้
	 ๔.	บอก	อธิบาย	และอภิปราย	เกี่ยวกับพระบรมราโชวาท	พระราชดำารัส	ได้
	 ๕.	บอกและอธิบายได้ว่า	พระบารมีปกเกล้าฯ	และศูนย์รวมจิตใจของคนไทย	หมายความว่าอย่างไร
๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง พระมหากษัตริย์ไทย
ระยะเวลาในการสอน ๒ ชั่วโมง
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
แบ่งกลุ่มนักเรียน	กลุ่มละ	๔	-	๕	คน
	๑.	 นักเรียนร้องเพลง	“ภูมิแผ่นดิน	นวมินทร์มหาราชา”	พร้อมทั้งดูภาพ	
ประวัติศาสตร์	วีดิทัศน์	โทรทัศน์	หรือซีดี	เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย	
ภาพพระมหากษัตริย์ตั้งแต่พระราชวงศ์สุโขทัย	กรุงศรีอยุธยา	กรุงธนบุรี	
จนถึงกรุงเทพฯ	 (กรุงรัตนโกสินทร์)	 เป็นเหตุการณ์สำาคัญๆ	 และ
พระราชกรณียกิจที่สำาคัญๆ	ต่อประเทศไทย
	๒.	 สนทนา	ซักถาม	เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย	เช่น
	 	 –	 พระมหากษัตริย์ที่สำาคัญๆ	ของชาติไทย	มีพระองค์ใดบ้าง	ตั้งแต่
	 สมัยใด	มีพระราชกรณียกิจที่สำาคัญๆ	อย่างไรบ้าง
	 	 –	 สมัยสุโขทัยมีเหตุการณ์ที่สำาคัญอะไรบ้าง	พระมหากษัตริย์ที่สำาคัญมี
	 กี่พระองค์	พระองค์ใดบ้าง	จงอธิบาย
	 	 –	 สมัยกรุงศรีอยุธยามีเหตุการณ์สำาคัญอะไรบ้าง	พระมหากษัตริย์ที่ทรง
	 มีความสำาคัญต่อบ้านเมืองมีกี่พระองค์	พระองค์ใดบ้าง	จงอธิบาย
	 	 –	 สมัยกรุงธนบุรีมีเหตุการณ์ที่สำาคัญอย่างไร
–	 ภาพ	วีดิทัศน์	โทรทัศน์	
	 หรือซีดี
–	 ภาพ	และแผนภูมิ	พระมหา-
กษัตริย์ไทย	พระราชวงศ์
	 ต่างๆ	และพระราชจักรีวงศ์
–	 ภาพเมืองหลวง	และเมือง
	 สำาคัญๆ	ของไทย
–	 ภาพกรุงสุโขทัย	กรุงศรี-
อยุธยา	กรุงธนบุรี	กรุง
	 รัตนโกสินทร์
–	 พระบรมฉายาลักษณ์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว	
และสมเด็จพระนางเจ้าฯ	
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
134
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 –	 ราชวงศ์ใดสร้างกรุงเทพฯ มีพระมหากษัตริย์กี่พระองค์ แต่ละรัชกาล
	 มีเหตุการณ์สำ�คัญอะไรบ้างจงอธิบาย
	๓.	 กลุ่มนักเรียนจัดทำ�โครงงานเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน กลุ่มนักเรียนรายงานหน้าชั้น ผลัดกันซัก
ถาม อภิปรายและวิเคราะห์ ให้เหตุผลตามที่ควรจะเป็น โดยใช้หลักคิดแบบ
“โยนิโสมนสิการ” จัดทำ�แผนภูมิ ผลงานที่ทำ�โครงงานมาติดป้ายนิเทศ
และรวบรวมเป็นสมุดงานไว้ที่มุมห้อง การจัดทำ�โครงงาน ควรได้ค้นคว้า
จากห้องสมุดและครูเตรียมหนังสือภาพคู่มือให้หลากหลาย
	๔.	 กลุ่มนักเรียนรวบรวมพระบรมราโชวาท พระราชดำ�รัส ของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลปัจจุบัน จัดทำ�สมุดภาพ จัดทำ�แผนภูมิ
ป้ายนิเทศ รายงานหน้าชั้น และรายงานหน้าแถว กิจกรรมควรจัดอย่าง
ต่อเนื่อง ให้นักเรียนศึกษาความหมายและเข้าใจความหมาย รวมทั้ง
นำ�มาปฏิบัติในชีวิตประจำ�วัน เหตุการณ์ประจำ�วัน นำ�ไปอ่านให้
ผู้ปกครองฟัง
	๕.	 เชิญวิทยากรมาพูด อธิบาย เล่า เกี่ยวกับพระราชจริยาวัตร พระ-
มหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทยนักเรียนและคนยากจนโดยทั่วไปนักเรียน
ร่วมกันอภิปราย
	๖.	 นักเรียนวาดภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมคิดเขียนข้อความ
ด้วยความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ จัดทำ�สมุดภาพเป็นกลุ่มเก็บไว้
อ่านในห้องเรียนและแลกเปลี่ยนกันอ่านระหว่างห้องเรียนและชั้นเรียน
	๗.	 กลุ่มนักเรียนอ่านข่าว เก็บข่าว เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และพระราชวงศ์มีการรายงานข่าวหน้าชั้นทุกวันผลัดเปลี่ยนกัน
	๘.	 แสดงบทบาทสมมติ เรื่อง ประชาชนที่ได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ
พระราชดำ�ริฯในโอกาสและในเรื่องต่างๆกันพร้อมทั้งบรรยายสรุป
	๙.	 ร้องเพลงเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ไทย เพลงต้นไม้ของพ่อ สดุดีมหาราชา
เพลงสรรเสริญพระบารมีและอธิบายความหมาย
	๑๐.	 เล่นเกม ตอบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน ให้มีการให้คะแนน เพื่อส่งเสริม
การคิดวิเคราะห์และคิดชอบดำ�ริชอบ
	๑๑.	 บันทึกพฤติกรรมนักเรียนวัดผลและประเมินผล
	๑๒.	ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
	 	 –	 ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่าง
	 สมํ่าเสมอและต่อเนื่องเพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำ�นึก
	 	 –	 ควรมีปฏิทิน และตารางกิจกรรม พร้อมรายชื่อคณะครูผู้รับผิดชอบ
	 ร่วมกัน
	 	 –	 ควรมีกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครองในวันสำ�คัญ
	 พระบรมราชินีนาถ และ
	 พระราชวงศ์
–	 พระราชประวัติ พระบาท-
	 สมเด็จพระปรมินทรมหา
	 ภูมิพลอดุลยเดช
–	 พระปฐมบรมราชโองการ
–	 ภาพเกี่ยวกับพระราชกรณีย-
กิจต่างๆ
–	 พระบรมราโชวาท
–	 พระราชดำ�รัส 
–	 หนังสือพิมพ์ต่างๆ
–	 ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์
–	 การบำ�รุงพระศาสนา
–	 ด้านศิลปวัฒนธรรม และ
วรรณคดี
–	 ด้านการพัฒนาชนบท
โครงการพระราชดำ�ริต่างๆ
–	 การชลประทาน กับ
	 การเกษตร
–	 โครงการสวนจิตรลดา
–	 การแพทย์
–	 อัดวีดิทัศน์รายการ “คุณพระ
ช่วย” หรือครูดูรายการแล้ว
	 อธิบายให้นักเรียนฟัง
–	 การศึกษา
–	 ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
–	 ทรงฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม
	 ประเพณี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
135
๑. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	ทำาโครงงานและอภิปรายเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีไทย	เกี่ยวกับภาษา	การแต่งกาย	การแสดงความเคารพ	
(ทักทาย)	ฯลฯ	ได้
	 ๒.	ทำาโครงงานและอธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในแต่ละภาค	แต่ละท้องถิ่นได้
	 ๓.	สนทนา	อธิบาย	เกี่ยวกับโครงการศิลปาชีพ	ตามชุมชนในภาคต่างๆ	ได้
	 ๔.	วิเคราะห์	งานศิลปาชีพและผลิตภัณฑ์	ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยได้
	 ๕.	ชื่นชมการทำาความดีของตนเอง	บุคคลในครอบครัว	โรงเรียน	และชุมชน
๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ภูมิปญญาไทย
ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
๑.	 กลุ่มนักเรียน	เรียนรู้เกี่ยวกับกิจวัตรประจำาวันของตนเอง	ครอบครัว	ชุมชน	
สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นที่อยู่อาศัย	เกี่ยวกับภาษา	การแต่งกาย	การทักทาย	
การแสดงความเคารพ	การพูดจา	การละเล่นและประเพณีต่างๆ	จัดทำา
โครงงานเพื่อสืบค้น	สังเกตและศึกษา	มารายงานหน้าชั้น	และร่วมอภิปราย	
วิเคราะห์	สภาพปัจจุบัน	และปัญหา
	๒.	 แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับประเพณีไทยที่แตกต่างกันระหว่างภาคและ
ท้องถิ่น	พร้อมร้องเพลงกิจกรรมเข้าจังหวะ	สรุปเป็นแนวคิดเกี่ยวกับ
ปัจจุบันและอดีต
	๓.	 เชิญวิทยากรมาบรรยายในห้องเรียน	เพื่อพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ
ศาสนา	ศีลธรรม	จริยธรรม	หน้าที่พลเมือง	และขนบธรรมเนียม	ประเพณี
	๔.	 ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของห้องเรียน	ชั้นเรียน	และ
โรงเรียน	ตั้งแต่เปิดเทอมอย่างต่อเนื่อง	โดยเฉพาะในสัปดาห์ที่จัดวันเกิด
โรงเรียน	วันพบผู้ปกครอง	(วันประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง)
	๕.	 กลุ่มนักเรียนทำาโครงงานเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีไทยด้านต่างๆ	เช่น	
ด้านการแต่งกาย	การพูดจาทักทาย	แสดงความเคารพ	ความเป็นอยู่	ฯลฯ	
สารานุกรมไทยฯ	เล่มที่	๑๓
เกี่ยวกับ
–	 เรือนไทย
–	 ชีวิตชนบทไทย
–	 หัตถกรรมพื้นบ้าน
–	 จิตรกรรมไทย
–	 นาฏศิลป์ไทย
–	 ตุ๊กตาไทย
–	 การละเล่นของไทย
–	 อาหารไทย
–	 การประดิษฐ์ผักและผลไม้
–	 การละเล่นพื้นเมือง
–	 การละเล่นในขณะทำางาน
–	 การละเล่นในเทศกาลสำาคัญ
–	 การละเล่นในงานทำาบุญ
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
136
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
รายงานหน้าชั้น ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็น
ของผู้อื่น(คิดแบบโยนิโสมนสิการ)
	๖.	 เชื่อมั่นในวัฒนธรรมอันดีงาม โดยใช้ข้อมูล สารสนเทศ มาสนับสนุน
กลุ่มนักเรียนค้นคว้าจากห้องสมุด และสอบถามจากชุมชน เพื่อทราบ
วัฒนธรรมไทย เปรียบเทียบกับอารยธรรมจากต่างประเทศ (นักท่องเที่ยว)
ช่วยกันวิเคราะห์ เพื่อเข้าใจความดีงามที่บรรพบุรุษประพฤติ ปฏิบัติ และ
สั่งสมมาจนทุกวันนี้โดยใช้คำ�ถามดังนี้
	 	 –	 การแสดงความเคารพของคนไทยด้วยวิธีอย่างไร
	 	 –	 ชาวต่างชาติเช่นยุโรปและอเมริกาเขาแสดงการทักทายอย่างไร
	 	 –	 คนฝรั่งที่มาเมืองไทยชอบให้คนไทยไหว้หรือไม่เพราะเหตุใด
	 	 –	 คนไทยไม่ชอบให้จับศีรษะใช่หรือไม่เพราะเหตุใด
	 	 –	 คนไทยไม่ใช้เท้าชี้สิ่งของเพราะเหตุใดนักเรียนคิดว่าเหมาะสมหรือไม่
	 	 –	 คนไทยไม่นิยมแต่งกายเปิดเผยส่วนต่างๆ ของร่างกายใช่หรือไม่ เพราะ
	 เหตุใด
	 	 –	 ปัจจุบันนี้วัยรุ่นนิยมแต่งกายเปิดเผยมากขึ้น เหมาะสมหรือไม่ เพราะ
	 เหตุใด
	 	 –	 นักเรียนควรแต่งกายอย่างไร เมื่อไปวัดหรือศาสนสถานอื่นๆ วัง และ
	 สถานที่ราชการ
	 	 –	 นักเรียนควรทักทายชาวต่างประเทศอย่างไร
	 	 –	 ถ้านักเรียนไปเที่ยวประเทศอื่น นักเรียนคาดหวังจะให้เขาแสดงกิริยา
	 อย่างไรต่อเรา
	 	 –	 ประเพณีที่แตกต่างกันทำ�ให้เกิดประโยชน์อย่างไร
	 	 –	 นักเรียนคิดว่าชาวต่างประเทศเขามาเที่ยวบ้านเมืองเราเพราะเหตุใด
	 ช่วยกันอภิปราย
	 	 –	 ถ้านักเรียนไปเที่ยวต่างประเทศนักเรียนคาดหวังจะได้เห็นอะไรบ้าง
	 	 –	 ชาติใดในเอเชียที่ได้ชื่อว่ามีวัฒนธรรมแข็งแรงเพราะเหตุใด
	 	 –	 ชาติใดในเอเชียที่สามารถเผยแพร่วัฒนธรรมไปเกือบทั่วโลก เพราะ
	 เหตุใด
	 	 	 ฯลฯ
	๗.	 ครูให้นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี แล้วจดรวบรวม
ไว้ อภิปรายและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน เพื่อให้นักเรียนเห็น
คุณค่าของวิถีชีวิตไทย สามารถนำ�มาเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำ�เนินชีวิต
ในการอธิบายเหตุผล ควรยกตัวอย่างประกอบ วิเคราะห์ เปรียบเทียบการ
ตั้งถิ่นฐาน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พุทธศาสนา ซึ่งเกี่ยวข้องกับการ
ตามประเพณี
–	 ภาพต่างๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรม
ประเพณีไทย
–	 สารานุกรมไทยฯ ฉบับ
เสริมการเรียนรู้ เล่ม ๔
–	 สิ่งของ เครื่องใช้ที่เกี่ยวกับวิถี
ชีวิตไทย และหัตถกรรม
พื้นบ้าน
–	 อัดเทปเพลงไทยมาเปิดฟัง ใน
ห้องเรียน
–	 อัดเทปภาษาไทยที่พูดทักทาย
กัน และเพลงพื้นบ้าน เพลง
กล่อมเด็ก ฯลฯ
–	 การละเล่นพื้นเมืองของเด็ก
ไทย
	 •	 ภาคกลาง
	 •	 ภาคเหนือ
	 •	 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
–	 การละเล่นพื้นเมืองของ
ผู้ใหญ่
๑.	การเล่นเพลงและระบำ�รำ�
ฟ้อน
	 •	 การร้องเพลง
	 •	 การเล่นเพลงในภาคกลาง
	 และภาคตะวันออก
	 •	 การรำ�ฟ้อนในภาคเหนือ
	 •	 การร้อง รำ� ฟ้อน เซิ้ง 	
	 เต้น ในภาคตะวันออก
	 เฉียงเหนือ
	 •	 การเล่นเพลงในภาคใต้
๒.	การเล่นเข้าผี
๓.	การกีฬาและนันทนาการ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
137
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ดำ�รงชีวิตของประชากรไทยในยุคต่างๆ จากอดีตจนถึงปัจจุบัน อะไรที่
ควรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย แต่บางอย่างหรือหลายอย่างที่เป็นคุณสมบัติที่
ดียังคงรักษาไว้ เพื่อความเหมาะสมและความเป็นไทย ตระหนักในความ
สำ�คัญของการเป็นไทย
	๘.	 กลุ่มนักเรียนทำ�โครงงานเกี่ยวกับงานศิลปาชีพจังหวัดใด ชุมชนใด มีงาน
ศิลปาชีพใด และเชื่อมโยงจนเกิดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ จนได้รับ
รางวัลชนะเลิศ พร้อมภาพ (ถ้ามี) เช่น ประเภทภูมิปัญญาไทย “ผ้าไหม
มัดหมี่” ชาวอำ�เภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
เป็นอาชีพ และมีการทอผ้าไหมมัดหมี่ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้าน
ลวดลายคิดค้นขึ้นมาตามความนิยม มีสีสันสวยงาม เนื้อผ้าดี ลวดลายที่
คิดขึ้นเอง เรียกว่า “หมี่ขอสนับ” (จาก สุดยอดแห่งภูมิปัญญา ผลิตภัณฑ์ผ้า
และสุราแช่ไทยผลิตภัณฑ์ชนะเลิศ๒๕๔๕)
	๙.	 ให้นักเรียนแต่ละคนมีสมุดบันทึกความดี เมื่อใดทำ�ความดี ให้บันทึกลง
สมุด โดยมีพ่อ แม่ ครู เซ็นรับรอง รวบรวมได้รายสัปดาห์ รายงานหน้าชั้น
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์ พร้อมทั้งพูดถึง
การทำ�ความดีของพ่อ แม่ ครู คนในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เป็น
ตัวอย่างที่ดี
	๑๐.	 กลุ่มนักเรียนติดตามข่าว ตัดข่าวเกี่ยวกับงานศิลปาชีพ งานหนึ่งตำ�บล
หนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย รวบรวมเป็นสมุดภาพ และ
มีข้อความประกอบหรืออาจวาดภาพระบายสีประกอบ
	๑๑.	 ให้กลุ่มนักเรียนทำ�โครงงาน ศึกษาปัญหาในครอบครัว หมู่บ้าน ชุมชน
และลำ�ดับความสำ�คัญของปัญหา เมื่อทราบปัญหาและสาเหตุของปัญหา
ให้อภิปรายร่วมกัน ช่วยกันคิดว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร ครูตั้งคำ�ถาม และ
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำ�ถามเช่น
	 	 –	 ปัญหาของเราคืออะไรอะไรคือสาเหตุของปัญหา
	 	 –	 ปัญหาของครอบครัวคืออะไร(เศรษฐกิจ)อะไรคือสาเหตุของปัญหา
	 	 –	 ปัญหาของโรงเรียนเราคืออะไรเพราะอะไรอะไรคือสาเหตุของปัญหา
	 	 –	 ปัญหาของชุมชนเราคืออะไร(ด้านเศรษฐกิจ)
	 	 	 ๑).....................	 ๒).....................	 ๓).....................	 ๔).....................
	 	 –	 เราควรแก้ปัญหาอย่างไร
	 	 	 ๑).....................	 ๒).....................	 ๓).....................	 ๔).....................
	 	 –	 ก่อนแก้ปัญหาควรทำ�อย่างไร(ลำ�ดับความสำ�คัญของปัญหา)
	 	 –	 ปัญหาทุกอย่างแก้เหมือนกันหรือไม่เพราะเหตุใด
	 	 –	 เด็กๆ(นักเรียน)ช่วยพ่อแม่แก้ปัญหาได้หรือไม่ด้วยวิธีใดบ้าง
ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพที่สำ�คัญ
–	 งานถม
–	 งานครํ่า
–	 งานตกแต่งด้วยปีกแมลงทับ
–	 งานเครื่องเงินและเครื่องทอง
–	 ทอผ้าจก
–	 ทอผ้าไหมแพรวา
–	 ทอผ้าไหมมัดหมี่
–	 จักสานย่านลิเภา
–	 จักสานไม้ไผ่ลายขิด
–	 แกะสลักไม้
–	 เคลือบดินเผา
–	 สลักหนัง
–	 สลักหิน
–	 งานปัก
–	 ดอกไม้ประดิษฐ์
(จากสารานุกรมไทยฯเล่มที่๒๙)
–	 ความหมายของศิลปาชีพ
–	 ความเป็นมาของแนวพระ
ราชดำ�ริ และการดำ�เนินงาน
ก่อนตั้งเป็นมูลนิธิ
–	 การดำ�เนินงานภายหลังตั้ง
เป็นมูลนิธิแล้ว
–	 การจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพ
๑.	โรงฝึกศิลปาชีพ สวนจิตรลดา
๒.	ศูนย์ศิลปาชีพ บางไทร
๓.	ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านกุดนาขาม
๔.	ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านแม่ตํ๋า
๕.	ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านจาร
๖.	ศูนย์ศิลปาชีพ จ. แม่ฮ่องสอน
๗.	ศูนย์ศิลปาชีพ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
138
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 –	 สิ่งที่พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ทำ�มาแต่อดีต มีส่วนใดที่เราควรรักษาไว้
	 เพราะเหตุใด(เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย)
	๑๒.	หากในชุมชนมีปัญหาสำ�คัญที่ต้องช่วยแก้ไขมีดังนี้ จะช่วยกันแก้ปัญหา
อย่างไร
	 ปัญหา	 วิธีแก้ปัญหา
คนที่เป็นผู้รู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น	 (จัดทำ�เอกสารตำ�ราเกี่ยวกับภูมิปัญญา
มีจำ�นวนลดลงเช่นหมอตำ�แย	 ท้องถิ่นไว้ให้ลูกหลาน
หมอยาแผนโบราณผู้ทำ�พิธีเชิญ	 –	 จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
สู่ขวัญฯลฯ	 	 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
	 –	 ศึกษาจากสมุดข่อย…)
	๑๓.	 บันทึกพฤติกรรมวัดผลประเมินผล
เครื่องปั้นดินเผา พระตำ�หนัก
ทักษิณราชนิเวศน์
๘.	ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านเนินธัมมัง
ศิลปาชีพ
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
พระราชทานโครงการ
คนไทยภูมิภาคต่างๆ
ผลิตงานศิลปหัตถกรรม
อาชีพเสริม
อาชีพหลัก
สมบัติทางวัฒนธรรม
ของชาติ
ส่งเสริมการตลาด
พัฒนาคุณภาพ
ภูมิปัญญาไทย
อนุรักษ์ศิลปหัตถกรรม
พื้นบ้าน
พว.
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
139
หมายเหตุ	 :	ควรเพิ่มเติมเรื่องวัดไทย จากสารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๘ และพระพุทธรูป จากสารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙
ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพ
ที่สำ�คัญ
พว.
งานเครื่องเงินเครื่องทอง
งานจักสาน
ย่านลิเภา
หวาย
ไม้ไผ่
กระจูด
งานแกะสลักไม้
หนัง
หิน
เครื่องปั้นดินเผารูปสัตว์
แจกัน
กระถาง
งานศิลปประดิษฐ์อื่นๆ
ตุ๊กตาชาวเขา
ดอกไม้ ปักผ้า
แบบไทย    ชาวเขา
งานทอผ้า
ผ้ายกดอก ผ้าแพรวา
ผ้าจก
ผ้าไหม
งานลงยาสี
งานครํ่า
งานถมทอง
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
140
๑. จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	สวดมนต์	กราบพระ	และปฏิบัติตนเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธที่ดี	(หรือศาสนาอื่นที่ตนนับถือ)
	 ๒.	ปฏิบัติตน	รักษาศีล	และฝึกสมาธิได้
	 ๓.	ปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ดีตามพ่อแม่	ครู	และพระมหากษัตริย์ไทย
	 ๔.	ร่วมกิจกรรมและปฏิบัติศาสนพิธีได้ถูกต้อง	ตามวันสำาคัญต่างๆ	ของศาสนาที่ตนนับถือ
	 ๕.	เขียนรายงาน	และทำาโครงงานตามเรื่องที่เรียนได้
๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ภูมิปญญาไทย
ระยะเวลาในการสอน ..... ชั่วโมง
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑.	 สวดมนต์พร้อมๆ	กัน	และสนทนาความหมายและบทสวดมนต์
	๒.	 ศึกษา	ค้นคว้า	เขียนรายงาน	เกี่ยวกับวันสำาคัญๆ	ทางพระพุทธศาสนาและ
กิจกรรมที่นักเรียนควรทำา
	๓.	 รวบรวมข่าว	ความรู้	และรายงานหน้าชั้นเกี่ยวกับ	วันวิสาขบูชา	วัน
อาสาฬหบูชา	วันเข้าพรรษา	วันมาฆบูชา
	๔.	 จัดกลุ่มนักเรียน	จัดป้ายนิเทศ	รวบรวมจัดทำาสมุดนิทานชาดก	รวบรวม
หลักฐาน	การทำาดีตามวัย	ศึกษาหาความหมายของพระรัตนตรัย	สำารวจ
ตนเอง	ฯลฯ
	๕.	 จัดกิจกรรม	ตรวจสอบ	ความเข้าใจ
	 	 –	 เขียนผังมโนทัศน์เกี่ยวกับเบญจศีล	เบญจธรรม	โอวาท	๓	สังคหวัตถุ	๔	
	 ฆราวาสธรรม	๔	อัตถะ	๓
	๖.	 ร่วมกันระดมความคิดเกี่ยวกับ
	 	 –	 ข้อปฏิบัติที่ให้ประโยชน์แก่ตนเอง
	 	 –	 ข้อปฏิบัติที่ให้ประโยชน์แก่ผู้อื่น
	๗.	 สำารวจชุมชนเกี่ยวกับสถานที่สำาคัญทางศาสนา
	 	 –	 มีสถานที่สำาคัญทางศาสนาอะไรบ้าง
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 ภาพพระพุทธประวัติ
–	 หนังสือสวดมนต์
–	 นิทานชาดก
–	 ไปวัด	-	สวดมนต์ในโบสถ์
–	 ฟังพระเทศน์
–	 ถวายอาหารพระ
–	 ผังความคิด
	 (นักเรียนช่วยกันคิด)
–	 ฝึกสมาธิทุกวัน
พว.
วันพระ
ทำาความดีถวาย
สวดมนต์
ตักบาตร
จัดดอกไม้
ถือศีล	๕
ทำาสมาธิ
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
141
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 –	 สภาพชุมชนมีลักษณะที่พบเห็นเป็นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลง
	 อย่างไรบ้าง
	 	 –	 ปัญหาในชุมชนมีเรื่องใดบ้าง
	 	 –	 หลักการศึกษา หลักธรรมในศาสนา แล้วมีข้อเสนอแนะในการแก้ไข
	 อย่างไร
	๘.	 ศึกษาเรื่องมงคล
	 	 ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง มงคล ๓๘ แล้วเลือกเรื่องที่ชอบที่สุด ๑ เรื่อง แล้ว
บอกเหตุผลประกอบ
	๙.	 ศึกษาพุทธศาสนสุภาษิต
	 	 กลุ่มนักเรียนศึกษาแล้วบอกคำ�แปล หาภาพ วาดภาพประกอบ จัดทำ�สมุด
เล่มเล็ก
	๑๐.	 ศึกษาเรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก ผลัดเปลี่ยนกันเล่าสู่กันฟังหลังจากศึกษา
และรวบรวมข้อมูล
	๑๑.	 ฝึกอ่านภาษาบาลีที่ง่ายๆ คุ้นหู เช่น ความที่ตรงกับความหมายว่า “ตนเป็น
ที่พึ่งแห่งตน”
	๑๒.	จับกลุ่มค้นหาข้อคิด แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ อ่านนิทานชาดก ศึกษาเรื่อง
น่ารู้จากพระไตรปิฎกสรุปเนื้อหาโดยย่อพร้อมบอกข้อคิดและนำ�เสนอ
	๑๓.	 ศึกษาวิถีชาวพุทธดังนี้
	 	 หน้าที่ชาวพุทธ(การไหว้พระสวดมนต์และแผ่เมตตา)
	 	 ศาสนพิธี(การกราบพระถวายของใส่บาตรฯลฯ)
	 	 ชาวพุทธตัวอย่าง(พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระราชวงศ์)
	 	 สติสัมปชัญญะและสมาธิฝึกสมาธิเบื้องต้น(บอกประโยชน์ได้)
	๑๔.	 อ่านเรื่องชาวพุทธตัวอย่าง (ตามที่ครูเตรียมมาให้) แต่ละกลุ่ม เลือกอ่าน
กลุ่มละ ๑ คน บันทึกข้อคิดที่ได้หรือความรู้สึกที่ประทับใจ แล้วนำ�เสนอ
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และช่วยกันอภิปรายสรุป รายงาน พร้อมภาพ
วาดภาพ
	๑๕.	 ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม ทำ�รายงาน จากห้องสมุดและหนังสือสิ่งพิมพ์
ต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีไทยที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา เช่น พิธีโกนจุก
ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ฯลฯ
	๑๖.	 ศึกษา ค้นคว้า เรียบเรียง ความคิด ความเข้าใจ เกี่ยวกับธรรมะและ
ประชาธิปไตย
	 	 (หมายเหตุ : ค้นได้จาก ธรรมาธิปไตยไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ ของ
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต))
	๑๗.	 ศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียงเกี่ยวกับพระพุทธรูป
	 	 (หมายเหตุ : จากสารานุกรมไทย สำ�หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเล่มที่๒๙)
–	 สวดมนต์บทต่างๆ ให้คล่อง
–	 ทำ�บุญตักบาตรทุกสัปดาห์/
วัน
–	 ปฏิบัติตามศีล ๕
รวบรวมเกี่ยวกับธรรมะ
–	 เพลงพื้นบ้าน
–	 เพลงร้องเรือ หรือเพลง
	 กล่อมเด็ก
–	 โคลงโลกนิติ
–	 สำ�นวนไทย
–	 ภาษิตและคำ�สอนภาคใต้
–	 นิทานคติธรรม
–	 นิทาน ๔ ภาค
ตัวอย่าง : ประชุมโคลงโลกนิติ
	 อายุยืนร้อยขวบ	 ปีหมาย
ความเกิดทั้งความตาย	 ไป่รู้
วันเดียวเด็กหญิงชาย	 เห็นเกิดตายนา
เด็กดั่งนั้นยิ่งผู้	 แก่ร้อยพรรษา
สำ�นวนเก่า
ตัวอย่าง : สุภาษิตร้อยแปด
	 	 เนื้อเน่าเอาเกลือทา
	 คิดว่าเน่าจะจางลง
	 ทั้งเกลือทั้งเนื้อส่ง
	 รสเน่ายิ่งกว่าก่อนก่อน
–	 ประเพณีมงคลต่างๆ
–	 ประเพณีวันสงกรานต์
–	 ประเพณีลอยกระทง
–	 วันสำ�คัญทางศาสนาต่างๆ
–	 วันมาฆบูชา
–	 วันวิสาขบูชา
–	 วันเข้าพรรษา - ออกพรรษา
–	 วันสารท
–	 พิธีสู่ขวัญ
–	 พิธีบวชนาค
ฯลฯ

More Related Content

What's hot

การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะsuchinmam
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องBenny BC
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
แผนที่1
แผนที่1แผนที่1
แผนที่1Ch Khankluay
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

What's hot (17)

การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
แผนที่1
แผนที่1แผนที่1
แผนที่1
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc

โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครูkashinova
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc (20)

โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc

  • 1. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 124 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๓/๕ แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาและ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด ป. ๓/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการ พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด ป. ๓/๗ บอกชื่อ ความสำาคัญและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคล ของศาสนาอื่นๆ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำารงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น ป. ๓/๒ บอกพฤติกรรมการดำาเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย ป. ๓/๓ อธิบายความสำาคัญของวันหยุดราชการที่สำาคัญ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกและอธิบายเกี่ยวกับวัดไทย และพระพุทธรูป และพระพุทธประวัติได้ ๒. ทำาโครงงานและอธิบายเกี่ยวกับวันสำาคัญทางพระพุทธศาสนาได้ หรือศาสนาอื่นที่ตนนับถือได้ ๓. สนทนา อธิบาย เกี่ยวกับพระธรรมและคำาสอนของศาสนาพุทธ และศาสนาอื่นๆ ได้ ๔. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อ ความศรัทธาในการนับถือศาสนาต่างๆ ได้ ๕. ชื่นชมการประพฤติตนตามศีล ๕ และคำาสั่งสอนของพระพุทธองค์ของตนเอง เพื่อน ครู บุคคลใน ครอบครัว และบุคคลอื่นๆ ๖. สวดมนต์และแผ่เมตตาเป็นประจำาทุกวัน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ภูมิปญญาไทย ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 125 ๓. สาระสำ�คัญ ภูมิปัญญาไทย ประเพณีและวัฒนธรรม ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. นักเรียนร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และช่วยกันอธิบายความหมาย ของเพลงและพระราชกรณียกิจฯและความหมายของทศพิธราชธรรม ๒. ช่วยกันเขียนแผนภูมิเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ซึ่งพระองค์ทรงปฏิบัติตามหลักธรรมใน พระพุทธศาสนาโดยเคร่งครัด ๓. กลุ่มนักเรียนช่วยกันเขียนแผนภูมิการดำ�เนินชีวิตของพ่อแม่ ผู้ที่เราเคารพ นับถือและปู่ย่าตายายตลอดจนกิจวัตรประจำ�วันของนักเรียนเอง เปรียบเทียบ อภิปราย การดำ�เนินชีวิตในอดีตสมัยปู่ ย่า ตา ยาย สภาพแวดล้อมเปลี่ยนไปกิจวัตรประจำ�วันเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง ช่วยกันอภิปรายสรุปว่ากิจกรรมใดที่เราควรยึดปฏิบัติ เพื่อเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้คนทุกคนทำ�ความดี คิดดี คิดชอบ มีชีวิตสงบสุข ในทางสายกลางประกอบอาชีพสุจริตไม่เบียดเบียนผู้อื่น ๔. กลุ่มนักเรียนทำ�โครงการ โครงงาน เกี่ยวกับวันสำ�คัญทางศาสนา เราควร ทำ�กิจกรรมใดบ้าง ควรชักชวนเพื่อนๆ และบุคคลในครอบครัว ทำ�กิจกรรม ร่วมกัน ทำ�อาหาร ทำ�บุญตักบาตร ทำ�ความดี ช่วยเหลืองานพ่อแม่ และ ช่วยผู้อื่นตามสมควร กิจกรรมที่ควรทำ� เช่น ทำ�ความสะอาด ห้องพระ จัดดอกไม้บูชา สวดมนต์ ไหว้พระ ทำ�ความดีต่างๆ ถือศีล ๕ กราบไหว้พ่อ แม่ และผู้ใหญ่ หลังจากปฏิบัติตนตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม ควร แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน – สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๘ และ ๒๙ – พระพุทธรูปปางสำ�คัญที่ พบบ่อย มีลักษณะและ ความหมายเกี่ยวข้องกับ พุทธประวัติ ๑. ปางประสูติ ๒. ปางสมาธิ (วันพฤหัสบดี) ๓. ปางมารวิชัย ๔. ปางถวายเนตร (วันอาทิตย์) ๕. ปางนาคปรก (วันเสาร์) ๖. ปางรำ�พึง (วันศุกร์) ๗. ปางปฐมเทศนา ๘. ปางห้ามสมุทร ๙. ปางอุ้มบาตร (วันพุธ - กลางวัน) ๑๐. ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์ ๑๑. ปางห้ามพระแก่นจันทน์ ๑๒. ปางห้ามญาติ (วันจันทร์) ๑๓. ปางลีลา ๑๔. ปางป่าเลไลยก์ (วันพุธ - กลางคืน) ๑๕. ปางปรินิพพาน หรือ ปางไสยาสน์ (วันอังคาร) * องค์พระพุทธรูปปางต่างๆ (จากสารานุกรมไทยฯ ฉบับ เสริมความรู้ เล่ม ๘) ภาพพระพุทธประวัติ พว. การดำ�เนินชีวิตของพ่อแม่ ประกอบอาหาร ดูแลลูกๆไปทำ�งาน ไปเที่ยวพักผ่อน ไปวัด เยี่ยมเพื่อน และญาติ
  • 3. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 126 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๕. แบ่งกลุ่มศึกษา เรื่อง วัดไทย และพระพุทธรูป ตามสารานุกรมไทยฯ เล่ม ที่ ๒๘ และ ๒๙ เขียนผังความคิด รวบรวมภาพ ความหมาย และศึกษา รายละเอียดต่างๆ(ให้เหมาะสมกับวัย) อภิปรายความหมายของสถานที่ต่างๆ ในเขตพุทธาวาส และสังฆาวาส ยกตัวอย่างวัดที่แบ่งส่วนชัดเจน เช่น วัดโพธิ์ ท่าเตียน กรุงเทพฯ วัดเล็กๆ ในชนบท อาจแบ่งส่วนไม่ชัดเจน ให้นักเรียนช่วยกันเขียนแผนผังวัด ใกล้บ้าน วัดที่นักเรียนรู้จักเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสังเกตความ สำ�คัญและประโยชน์ต่อส่วนรวมของสถานที่นั้นๆ ๖. กลุ่มนักเรียน ช่วยกันศึกษา และรวบรวมพระพุทธรูป ความรู้เกี่ยวกับ พระพุทธรูปเขียนผังความคิด มรดกศิลปกรรมพื้นบ้าน วิบูลย์ ลี้สุวรรณ ๑. โบสถ์ไม้ในภาคกลาง ๒. ธรรมาสน์เมืองเพชรบุรี ๓. โบสถ์ไม้สักวัดกุฏิ บางเค็ม เพชรบุรี ๔. ของดีเมืองพัทลุง ๕. รอยอดีต และของดีเมือง นครชัยศรี ๖. กระดาษพื้นบ้านของไทย ๗. โบสถ์พื้นบ้านที่อุตรดิตถ์ ๘. หอไตรวัดตะคุ นครราชสีมา ๙. จิตรกรรมสกุลช่างปักธงชัย ๑๐. สิมพื้นบ้านอีสาน ๑๑. ธรรมาสน์พื้นบ้านอีสาน ๑๒. หอธรรม หรือหอไตรใน ล้านนา ๑๓. กุฏิร้อยปีที่เมืองนครศรี- ธรรมราช ๑๔. กุฏิร้อยปีที่เมืองปัตตานี ๑๕. ตะโละมาเนาะ : มัสยิด พื้นบ้านที่นราธิวาส *สวดมนต์และแผ่เมตตาเป็น ประจำ�ทุกวัน พว. โบสถ์ วิหาร พระสถูปเจดีย์ และพระปรางค์ หอพระธรรม/ หอไตร อื่นๆเช่น - ระเบียง - กำ�แพงแก้ว - ศาลาราย เขตสังฆาวาส ศาลาการเปรียญ หอกล้อง และหอระฆัง กุฏิ อื่นๆเช่น - ศาลาบาตร - เว็จกุฎี เขตพุทธาวาส วัดไทย พระพุทธรูป สร้างแทนองค์ พระพุทธเจ้า ประดิษฐานไว้ในโบสถ์ วิหารศาลาการเปรียญ ไทยสร้างในพุทธศตวรรษที่ ๘-๙ก่อนทวาราวดี หอพระห้องพระ ตามบ้าน ขนาดต่างๆกัน สร้างตามศิลปะ แต่ละสมัย มีปางต่างๆกัน พว. พระพุทธรูปสร้างด้วย ไม้ ก่ออิฐถือปูน ปูนปั้นทองสำ�ริด ศิลา ดินเผา พว.
  • 4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 127 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง อธิบายพระพุทธรูปปางต่างๆ ตามพุทธประวัติ สนทนาเกี่ยวกับพระ- พุทธประวัติประกอบภาพ(อาจถ่ายวิดีโอภาพตามผนังโบสถ์ประกอบ) ๗. กลุ่มนักเรียนระดมสมอง วางแผน สัมภาษณ์ พ่อ แม่ ครู ผู้ปกครอง ผู้รู้ เรื่องความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา บันทึกผลการสัมภาษณ์ ผู้แทนกลุ่มรายงานหน้าชั้น พร้อมแผนภูมิประกอบ ตอบคำ�ซักถามจาก ชั้นเรียน ถาม: ๑. นักเรียน เรียนรู้อะไรบ้างจากวัดและพระพุทธรูป และพระพุทธ- ศาสนา ๒. พระพุทธศาสนามีความสำ�คัญต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง ๓. พระรัตนตรัยหมายถึงอะไร ๘. ครูนำ�นิทานชาดก เช่น เรื่องสุวัณณสามชาดก วัณณุปถชาดก ฯลฯ เล่า ให้นักเรียนฟังและร่วมกันแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนกัน ถาม:- นักเรียนได้เรียนรู้คุณธรรมอะไรจากชาดกบ้าง นักเรียนนำ�คุณธรรมเหล่านี้ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันอย่างไร อธิบาย ๙. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมพระพุทธศาสนาดังนี้:- – นิมนต์พระสงฆ์เป็นวิทยากรอบรมนักเรียนทุกวันพระ/เดือน – นิมนต์พระสงฆ์บรรยายเกี่ยวกับพุทธศาสนาในห้องเรียน – ศึกษาธรรมะจากหนังสือเทปและบทความ ๑๐. กลุ่มนักเรียนเขียนโครงงาน วันสำ�คัญทางศาสนาต่างๆ แล้วจัดกิจกรรม ตามนั้น ๑๑. จัดบอร์ดนิทรรศการเกี่ยวกับวันสำ�คัญของพระพุทธศาสนา ๑๒. ศึกษาพระราชจริยาวัตร และพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้า- อยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งพระองค์ท่านทรงปฏิบัติตามพระธรรมคำ�สั่งสอน จัดทำ�สมุดภาพ พระราชกรณียกิจฯ ๑๓. ศึกษา “เบญจศีล เบญจธรรม” และรวบรวมการปฏิบัติการประพฤติของ นักเรียน เพื่อนๆ และครู ที่ประพฤติปฏิบัติตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม รวบรวมเป็นสมุดบันทึก พว. พระพุทธรูปปางต่างๆ (ที่สำ�คัญ) ปางปฐมเทศนา ปางสมาธิ ปางมารวิชัย ปางประทานอภัย ปางประทานพร ปางทรงแสดงธรรม
  • 5. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 128 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑๔. รวบรวมข่าวเกี่ยวกับผู้ประกอบคุณงามความดีต่อพ่อแม่ ครอบครัว และ สังคม เช่น เหตุการณ์คลื่นยักษ์ ๖ จังหวัดภาคใต้ แล้วบอกว่า บุคคลเหล่า นั้น ปฏิบัติตนตามศีลธรรม และคำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์ข้อใดบ้าง เป็นผลดีอย่างไรจงอภิปราย ๑๕. สังคมวัตถุ หมายถึง หลักธรรมที่ส่งเสริมให้คนสงเคราะห์หรือช่วยเหลือ กันมีกี่อย่างอะไรบ้างลองตั้งเรื่องให้เด็กอธิบายลองเขียนผังความคิด นักเรียนลองยกตัวอย่างบุคคลที่นักเรียนชอบมากที่สุด เขาปฏิบัติตนตรง กับข้อใดอย่างใด(ดูตัวอย่างเหตุการณ์สึนามิ) ๑๖. ทำ�โครงงานเกี่ยวกับ “ความกตัญญูกตเวที” ต่อบิดามารดา บุคคลใน ครอบครัวและครู ๑๗. ระดม มอง รวบรวมประสบการณ์ที่นักเรียนทำ�สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อ บุคคลอื่นๆ/ที่โรงเรียน ๑๘. เขียนผังความคิด เรื่องที่นักเรียนทำ�ประโยชน์ต่อบุคคลอื่น/ที่โรงเรียน พร้อมจัดป้ายนิเทศ ๑๙. บันทึกการกระทำ�ของตนเอง ที่แสดงถึงการแสดงความกตัญญูกตเวที และทำ�ประโยชน์ต่อบุคคลอื่น และส่วนรวม เป็นเวลา ๑ เดือน และสรุป รายงานให้เพื่อนๆฟังอภิปราย ๒๐. ฝึกสวดมนต์ และเรียนรู้ความหมายของบทสวดมนต์ทุกบท ปฏิบัติจริง ทุกสัปดาห์พร้อมสวดแผ่เมตตา ๒๑. ระดมสมองเกี่ยวกับ – การช่วยเหลือบำ�รุงวัด – การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ – เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก – พุทธศาสนสุภาษิต ๒๒. บันทึกพฤติกรรมวัดผล ประเมินผล พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย ๑. พระพุทธมหามณีรัตน ปฏิมากร (พระแก้วมรกต) วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) กรุงเทพฯ ๒. พระพุทธสิหิงค์ องค์ที่ ๑ ประดิษฐานอยู่ที่ พระที่นั่งพุทไธสวรรค์ ใน พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร องค์ที่ ๒ วัดพระสิงห์ เชียงใหม่ องค์ที่๓หอพระพุทธสิหิงค์ นครศรีธรรมราช สังคหวัตถุ ปิยวาจาทาน อัตถจริยา สมานัตตตา พว.
  • 6. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 129 ภาคผนวก พระพุทธรูปที่สำาคัญในประเทศไทย ๑. พระพุทธรูปศิลาขาว วัดพระปฐมเจดีย์ฯ จ. นครปฐม เป็นพระพุทธรูปสมัยทวาราวดี ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุด ๒. พระเสตังคมณี (พระแก้วขาว) วัดเชียงมั่น อ. เมือง จ. เชียงใหม่ สร้างโดยพระเจ้ารามราช กษัตริย์ครอง กรุงละโว้ พ.ศ. ๗๐๐ ๓. พระศรีศากยมุนี วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ เดิมอยู่ที่วิหารหลวง วัดมหาธาตุ สุโขทัย อัญเชิญลงมา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๑ ๔. พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ. พิษณุโลก สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไท) พ.ศ. ๑๙๐๐ ๕. พระพุทธสุวรรณมหาปฏิมากร (พระสุโขทัยไตรมิตร) วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพฯ เดิมมีปูนหุ้มทั้งองค์ อยู่วัดพระยาไกร สมัยรัชกาลที่ ๓ ๖. พระเจ้าเก้าตื้อ พระอุโบสถวัดบุปผาราม (วัดสวนดอก) จ. เชียงใหม่ พระเมืองแก้ว กษัตริย์เมืองเชียงใหม่ ทรงสร้าง (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๓๘ - ๒๐๖๙) ๗. พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต) สร้างเมื่อ พ.ศ. ๑๘๖๗ ๘. พระมงคลบพิตร พระราชวังโบราณ ศรีอยุธยา สร้างราวรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๙. พระพุทธโลกนาถ ราชมหาสมมติวงศ์ฯ วัดพระเชตุพนฯ เดิมอยู่วัดพระศรีสรรเพชญ์ พระนครศรีอยุธยา ถูกพม่าเผาทำาลาย ๑๐. พระพุทธนิมิต วิชิตมารโมลีฯ วัดหน้าพระเมรุราชิการาม กรุงศรีอยุธยา ๑๑. พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ๑๒. หลวงพ่อโต (พระศรีอาริยเมตไตรย์) วัดอินทรวิหาร กรุงเทพฯ ๑๓. พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ จ. นครปฐม (พ.ศ. ๒๕๒๕) ๑๔. พระพุทธทักษิณมิ่งมงคล จ. นราธิวาส สร้าง พ.ศ. ๒๕๑๒ ๑๕. พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา จ. ชลบุรี (พ.ศ. ๒๕๓๙) w w w w w w w w
  • 7. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 130 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๓/๕ แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาและ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด ป. ๓/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการ พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด ป. ๓/๗ บอกชื่อ ความสำาคัญและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคล ของศาสนาอื่นๆ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น ป. ๓/๒ บอกพฤติกรรมการดำาเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย ป. ๓/๓ อธิบายความสำาคัญของวันหยุดราชการที่สำาคัญ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ และสัญลักษณ์ของชาติไทย ๒. อธิบายและเห็นความสำาคัญของเอกลักษณ์ สัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นไทย ๓. บอกความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณีแต่ละพื้นที่ได้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง เอกลักษณ์ สัญลักษณ์ความเปนไทย ระยะเวลาในการสอน ๒ ชั่วโมงป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 8. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 131 ๓. สาระสำ�คัญ ๑. เอกลักษณ์ของชาติ ๒. สัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นไทย ๓. วัฒนธรรมไทย ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ขั้นนำ�เข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนดูภาพมารยาทไทย ประเพณีต่างๆ อาชีพ แล้วสนทนาถึง ความสัมพันธ์กับการดำ�รงชีวิตอย่างไรแล้วให้ร้องเพลง“ไตรรงค์ธงไทย” ๒. นักเรียนเล่นเกม “ปริศนาซ่อนคำ�” ที่แสดงถึงวัฒนธรรมและประเพณีที่ ซ่อนอยู่ให้ได้อย่างน้อย๔คำ� ๓. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อศึกษาเอกลักษณ์และสัญลักษณ์แสดงความเป็นไทย จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆหรือใบความรู้ที่ครูเตรียมให้ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนเสนอรายงาน ๕. นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น เอกลักษณ์ สัญลักษณ์แสดง ความเป็นไทยครูสรุปเพิ่มเติม ๖. นักเรียนทำ�แบบทดสอบ ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความ สามารถที่สมาชิกในครอบครัว ได้สั่งสมประสบการณ์จาก สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และ วัฒนธรรมในท้องถิ่นของตน อยู่ในทวีปเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ชาติไทย นับถือพุทธศาสนา และอื่นๆ มีศิลปวัฒนธรรม ของเราเอง เก่าแก่ เอกราช พระมหากษัตริย์ เป็นประมุข ประชาธิปไตย ใช้อักษรไทย ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. รูปภาพมารยาทไทย ขนบธรรมเนียมไทย ๒. ใบกิจกรรม ๓. ใบความรู้ ๔. เกมปริศนาซ่อนคำ�
  • 9. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 132 ๕. วีดิทัศน์ ๖. เพลง ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. สังเกตการอภิปราย ๒. การตรวจใบกิจกรรม ๓. สังเกตการเล่นเกม ๔. การนำ�เสนอรายงานกลุ่ม ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. บอกสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นชนชาติไทยได้ ๒. ปฏิบัติตนในการเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ ๓. ดูจากการปฏิบัติตนในการรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร – ควรมีกิจกรรมส่งเสริมมารยาทไทย วัฒนธรรมไทย สมํ่าเสมอ ๙. ภาคผนวก ครูควรเล่าความเป็นมาของชนชาติไทย ที่นักประวัติศาสตร์รุ่นล่าสุดสรุปว่าอยู่แถบอินโดจีน คือระหว่างประเทศ อินเดียกับจีน หรือที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ หรือแหลมทอง ซึ่งปรากฏในชาดกของพระพุทธศาสนา เป็นอาณาจักรที่รับ อารยธรรมจากอินเดียมาปฏิบัติ เป็นคนพื้นเมืองเดิม เป็นรัฐอิสระ เป็นกลุ่มต่างๆ บางรัฐอยู่ใต้อำ�นาจรัฐที่เข้มแข็งกว่า จนถึงอาณาจักรสุโขทัย สุพรรณภูมิ ละโว้ อโยธยา นครศรีธรรมราช เป็นต้น แต่สิ่งสำ�คัญ คือ เป็นรัฐของคนไทย ที่มี ประชาชนคนไทยเป็นองค์ประกอบ อ่อนน้อมถ่อมตน มีสัมมาคารวะ เคารพผู้ใหญ่ ผู้มีพระคุณ ชาติไทย มีลักษณะเฉพาะ เคารพนับถือสถาบัน พระมหากษัตริย์ ใช้อักษรไทย มีวัฒนธรรมของตนเอง มีการแต่งกายประจำ�ชาติ อุปนิสัยรักอิสระ รักสงบ โอบอ้อมอารี ส่วนใหญ่นับถือ พระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ดีงาม มีการละเล่นไทย มีอาหารไทย พว.
  • 10. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 133 ๑. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. สนทนาและอธิบายเกี่ยวกับความเจริญยาวนานของชาติไทย จากกรุงสุโขทัยถึงกรุงเทพฯ (กรุงรัตนโกสินทร์) พร้อมทั้งค้นคว้าหาข้อมูลได้ ๒. สนทนา อธิบาย อภิปราย เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ไทย พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ได้ ๓. สนทนา อธิบาย อภิปราย เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลปัจจุบัน และ รัชกาลที่สำาคัญๆ ได้ ๔. บอก อธิบาย และอภิปราย เกี่ยวกับพระบรมราโชวาท พระราชดำารัส ได้ ๕. บอกและอธิบายได้ว่า พระบารมีปกเกล้าฯ และศูนย์รวมจิตใจของคนไทย หมายความว่าอย่างไร ๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง พระมหากษัตริย์ไทย ระยะเวลาในการสอน ๒ ชั่วโมง กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ ๔ - ๕ คน ๑. นักเรียนร้องเพลง “ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา” พร้อมทั้งดูภาพ ประวัติศาสตร์ วีดิทัศน์ โทรทัศน์ หรือซีดี เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย ภาพพระมหากษัตริย์ตั้งแต่พระราชวงศ์สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี จนถึงกรุงเทพฯ (กรุงรัตนโกสินทร์) เป็นเหตุการณ์สำาคัญๆ และ พระราชกรณียกิจที่สำาคัญๆ ต่อประเทศไทย ๒. สนทนา ซักถาม เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย เช่น – พระมหากษัตริย์ที่สำาคัญๆ ของชาติไทย มีพระองค์ใดบ้าง ตั้งแต่ สมัยใด มีพระราชกรณียกิจที่สำาคัญๆ อย่างไรบ้าง – สมัยสุโขทัยมีเหตุการณ์ที่สำาคัญอะไรบ้าง พระมหากษัตริย์ที่สำาคัญมี กี่พระองค์ พระองค์ใดบ้าง จงอธิบาย – สมัยกรุงศรีอยุธยามีเหตุการณ์สำาคัญอะไรบ้าง พระมหากษัตริย์ที่ทรง มีความสำาคัญต่อบ้านเมืองมีกี่พระองค์ พระองค์ใดบ้าง จงอธิบาย – สมัยกรุงธนบุรีมีเหตุการณ์ที่สำาคัญอย่างไร – ภาพ วีดิทัศน์ โทรทัศน์ หรือซีดี – ภาพ และแผนภูมิ พระมหา- กษัตริย์ไทย พระราชวงศ์ ต่างๆ และพระราชจักรีวงศ์ – ภาพเมืองหลวง และเมือง สำาคัญๆ ของไทย – ภาพกรุงสุโขทัย กรุงศรี- อยุธยา กรุงธนบุรี กรุง รัตนโกสินทร์ – พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 11. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 134 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – ราชวงศ์ใดสร้างกรุงเทพฯ มีพระมหากษัตริย์กี่พระองค์ แต่ละรัชกาล มีเหตุการณ์สำ�คัญอะไรบ้างจงอธิบาย ๓. กลุ่มนักเรียนจัดทำ�โครงงานเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน กลุ่มนักเรียนรายงานหน้าชั้น ผลัดกันซัก ถาม อภิปรายและวิเคราะห์ ให้เหตุผลตามที่ควรจะเป็น โดยใช้หลักคิดแบบ “โยนิโสมนสิการ” จัดทำ�แผนภูมิ ผลงานที่ทำ�โครงงานมาติดป้ายนิเทศ และรวบรวมเป็นสมุดงานไว้ที่มุมห้อง การจัดทำ�โครงงาน ควรได้ค้นคว้า จากห้องสมุดและครูเตรียมหนังสือภาพคู่มือให้หลากหลาย ๔. กลุ่มนักเรียนรวบรวมพระบรมราโชวาท พระราชดำ�รัส ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลปัจจุบัน จัดทำ�สมุดภาพ จัดทำ�แผนภูมิ ป้ายนิเทศ รายงานหน้าชั้น และรายงานหน้าแถว กิจกรรมควรจัดอย่าง ต่อเนื่อง ให้นักเรียนศึกษาความหมายและเข้าใจความหมาย รวมทั้ง นำ�มาปฏิบัติในชีวิตประจำ�วัน เหตุการณ์ประจำ�วัน นำ�ไปอ่านให้ ผู้ปกครองฟัง ๕. เชิญวิทยากรมาพูด อธิบาย เล่า เกี่ยวกับพระราชจริยาวัตร พระ- มหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทยนักเรียนและคนยากจนโดยทั่วไปนักเรียน ร่วมกันอภิปราย ๖. นักเรียนวาดภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมคิดเขียนข้อความ ด้วยความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ จัดทำ�สมุดภาพเป็นกลุ่มเก็บไว้ อ่านในห้องเรียนและแลกเปลี่ยนกันอ่านระหว่างห้องเรียนและชั้นเรียน ๗. กลุ่มนักเรียนอ่านข่าว เก็บข่าว เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระราชวงศ์มีการรายงานข่าวหน้าชั้นทุกวันผลัดเปลี่ยนกัน ๘. แสดงบทบาทสมมติ เรื่อง ประชาชนที่ได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ พระราชดำ�ริฯในโอกาสและในเรื่องต่างๆกันพร้อมทั้งบรรยายสรุป ๙. ร้องเพลงเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ไทย เพลงต้นไม้ของพ่อ สดุดีมหาราชา เพลงสรรเสริญพระบารมีและอธิบายความหมาย ๑๐. เล่นเกม ตอบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน ให้มีการให้คะแนน เพื่อส่งเสริม การคิดวิเคราะห์และคิดชอบดำ�ริชอบ ๑๑. บันทึกพฤติกรรมนักเรียนวัดผลและประเมินผล ๑๒. ข้อเสนอแนะผู้บริหาร – ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่าง สมํ่าเสมอและต่อเนื่องเพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำ�นึก – ควรมีปฏิทิน และตารางกิจกรรม พร้อมรายชื่อคณะครูผู้รับผิดชอบ ร่วมกัน – ควรมีกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครองในวันสำ�คัญ พระบรมราชินีนาถ และ พระราชวงศ์ – พระราชประวัติ พระบาท- สมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช – พระปฐมบรมราชโองการ – ภาพเกี่ยวกับพระราชกรณีย- กิจต่างๆ – พระบรมราโชวาท – พระราชดำ�รัส  – หนังสือพิมพ์ต่างๆ – ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ – การบำ�รุงพระศาสนา – ด้านศิลปวัฒนธรรม และ วรรณคดี – ด้านการพัฒนาชนบท โครงการพระราชดำ�ริต่างๆ – การชลประทาน กับ การเกษตร – โครงการสวนจิตรลดา – การแพทย์ – อัดวีดิทัศน์รายการ “คุณพระ ช่วย” หรือครูดูรายการแล้ว อธิบายให้นักเรียนฟัง – การศึกษา – ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ – ทรงฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ประเพณี
  • 12. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 135 ๑. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ทำาโครงงานและอภิปรายเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีไทย เกี่ยวกับภาษา การแต่งกาย การแสดงความเคารพ (ทักทาย) ฯลฯ ได้ ๒. ทำาโครงงานและอธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในแต่ละภาค แต่ละท้องถิ่นได้ ๓. สนทนา อธิบาย เกี่ยวกับโครงการศิลปาชีพ ตามชุมชนในภาคต่างๆ ได้ ๔. วิเคราะห์ งานศิลปาชีพและผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยได้ ๕. ชื่นชมการทำาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ภูมิปญญาไทย ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. กลุ่มนักเรียน เรียนรู้เกี่ยวกับกิจวัตรประจำาวันของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นที่อยู่อาศัย เกี่ยวกับภาษา การแต่งกาย การทักทาย การแสดงความเคารพ การพูดจา การละเล่นและประเพณีต่างๆ จัดทำา โครงงานเพื่อสืบค้น สังเกตและศึกษา มารายงานหน้าชั้น และร่วมอภิปราย วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน และปัญหา ๒. แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับประเพณีไทยที่แตกต่างกันระหว่างภาคและ ท้องถิ่น พร้อมร้องเพลงกิจกรรมเข้าจังหวะ สรุปเป็นแนวคิดเกี่ยวกับ ปัจจุบันและอดีต ๓. เชิญวิทยากรมาบรรยายในห้องเรียน เพื่อพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง และขนบธรรมเนียม ประเพณี ๔. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของห้องเรียน ชั้นเรียน และ โรงเรียน ตั้งแต่เปิดเทอมอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในสัปดาห์ที่จัดวันเกิด โรงเรียน วันพบผู้ปกครอง (วันประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง) ๕. กลุ่มนักเรียนทำาโครงงานเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีไทยด้านต่างๆ เช่น ด้านการแต่งกาย การพูดจาทักทาย แสดงความเคารพ ความเป็นอยู่ ฯลฯ สารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๑๓ เกี่ยวกับ – เรือนไทย – ชีวิตชนบทไทย – หัตถกรรมพื้นบ้าน – จิตรกรรมไทย – นาฏศิลป์ไทย – ตุ๊กตาไทย – การละเล่นของไทย – อาหารไทย – การประดิษฐ์ผักและผลไม้ – การละเล่นพื้นเมือง – การละเล่นในขณะทำางาน – การละเล่นในเทศกาลสำาคัญ – การละเล่นในงานทำาบุญ ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 13. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 136 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง รายงานหน้าชั้น ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็น ของผู้อื่น(คิดแบบโยนิโสมนสิการ) ๖. เชื่อมั่นในวัฒนธรรมอันดีงาม โดยใช้ข้อมูล สารสนเทศ มาสนับสนุน กลุ่มนักเรียนค้นคว้าจากห้องสมุด และสอบถามจากชุมชน เพื่อทราบ วัฒนธรรมไทย เปรียบเทียบกับอารยธรรมจากต่างประเทศ (นักท่องเที่ยว) ช่วยกันวิเคราะห์ เพื่อเข้าใจความดีงามที่บรรพบุรุษประพฤติ ปฏิบัติ และ สั่งสมมาจนทุกวันนี้โดยใช้คำ�ถามดังนี้ – การแสดงความเคารพของคนไทยด้วยวิธีอย่างไร – ชาวต่างชาติเช่นยุโรปและอเมริกาเขาแสดงการทักทายอย่างไร – คนฝรั่งที่มาเมืองไทยชอบให้คนไทยไหว้หรือไม่เพราะเหตุใด – คนไทยไม่ชอบให้จับศีรษะใช่หรือไม่เพราะเหตุใด – คนไทยไม่ใช้เท้าชี้สิ่งของเพราะเหตุใดนักเรียนคิดว่าเหมาะสมหรือไม่ – คนไทยไม่นิยมแต่งกายเปิดเผยส่วนต่างๆ ของร่างกายใช่หรือไม่ เพราะ เหตุใด – ปัจจุบันนี้วัยรุ่นนิยมแต่งกายเปิดเผยมากขึ้น เหมาะสมหรือไม่ เพราะ เหตุใด – นักเรียนควรแต่งกายอย่างไร เมื่อไปวัดหรือศาสนสถานอื่นๆ วัง และ สถานที่ราชการ – นักเรียนควรทักทายชาวต่างประเทศอย่างไร – ถ้านักเรียนไปเที่ยวประเทศอื่น นักเรียนคาดหวังจะให้เขาแสดงกิริยา อย่างไรต่อเรา – ประเพณีที่แตกต่างกันทำ�ให้เกิดประโยชน์อย่างไร – นักเรียนคิดว่าชาวต่างประเทศเขามาเที่ยวบ้านเมืองเราเพราะเหตุใด ช่วยกันอภิปราย – ถ้านักเรียนไปเที่ยวต่างประเทศนักเรียนคาดหวังจะได้เห็นอะไรบ้าง – ชาติใดในเอเชียที่ได้ชื่อว่ามีวัฒนธรรมแข็งแรงเพราะเหตุใด – ชาติใดในเอเชียที่สามารถเผยแพร่วัฒนธรรมไปเกือบทั่วโลก เพราะ เหตุใด ฯลฯ ๗. ครูให้นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี แล้วจดรวบรวม ไว้ อภิปรายและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน เพื่อให้นักเรียนเห็น คุณค่าของวิถีชีวิตไทย สามารถนำ�มาเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำ�เนินชีวิต ในการอธิบายเหตุผล ควรยกตัวอย่างประกอบ วิเคราะห์ เปรียบเทียบการ ตั้งถิ่นฐาน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พุทธศาสนา ซึ่งเกี่ยวข้องกับการ ตามประเพณี – ภาพต่างๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีไทย – สารานุกรมไทยฯ ฉบับ เสริมการเรียนรู้ เล่ม ๔ – สิ่งของ เครื่องใช้ที่เกี่ยวกับวิถี ชีวิตไทย และหัตถกรรม พื้นบ้าน – อัดเทปเพลงไทยมาเปิดฟัง ใน ห้องเรียน – อัดเทปภาษาไทยที่พูดทักทาย กัน และเพลงพื้นบ้าน เพลง กล่อมเด็ก ฯลฯ – การละเล่นพื้นเมืองของเด็ก ไทย • ภาคกลาง • ภาคเหนือ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ – การละเล่นพื้นเมืองของ ผู้ใหญ่ ๑. การเล่นเพลงและระบำ�รำ� ฟ้อน • การร้องเพลง • การเล่นเพลงในภาคกลาง และภาคตะวันออก • การรำ�ฟ้อนในภาคเหนือ • การร้อง รำ� ฟ้อน เซิ้ง เต้น ในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ • การเล่นเพลงในภาคใต้ ๒. การเล่นเข้าผี ๓. การกีฬาและนันทนาการ
  • 14. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 137 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ดำ�รงชีวิตของประชากรไทยในยุคต่างๆ จากอดีตจนถึงปัจจุบัน อะไรที่ ควรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย แต่บางอย่างหรือหลายอย่างที่เป็นคุณสมบัติที่ ดียังคงรักษาไว้ เพื่อความเหมาะสมและความเป็นไทย ตระหนักในความ สำ�คัญของการเป็นไทย ๘. กลุ่มนักเรียนทำ�โครงงานเกี่ยวกับงานศิลปาชีพจังหวัดใด ชุมชนใด มีงาน ศิลปาชีพใด และเชื่อมโยงจนเกิดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ จนได้รับ รางวัลชนะเลิศ พร้อมภาพ (ถ้ามี) เช่น ประเภทภูมิปัญญาไทย “ผ้าไหม มัดหมี่” ชาวอำ�เภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม เป็นอาชีพ และมีการทอผ้าไหมมัดหมี่ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้าน ลวดลายคิดค้นขึ้นมาตามความนิยม มีสีสันสวยงาม เนื้อผ้าดี ลวดลายที่ คิดขึ้นเอง เรียกว่า “หมี่ขอสนับ” (จาก สุดยอดแห่งภูมิปัญญา ผลิตภัณฑ์ผ้า และสุราแช่ไทยผลิตภัณฑ์ชนะเลิศ๒๕๔๕) ๙. ให้นักเรียนแต่ละคนมีสมุดบันทึกความดี เมื่อใดทำ�ความดี ให้บันทึกลง สมุด โดยมีพ่อ แม่ ครู เซ็นรับรอง รวบรวมได้รายสัปดาห์ รายงานหน้าชั้น อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์ พร้อมทั้งพูดถึง การทำ�ความดีของพ่อ แม่ ครู คนในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เป็น ตัวอย่างที่ดี ๑๐. กลุ่มนักเรียนติดตามข่าว ตัดข่าวเกี่ยวกับงานศิลปาชีพ งานหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย รวบรวมเป็นสมุดภาพ และ มีข้อความประกอบหรืออาจวาดภาพระบายสีประกอบ ๑๑. ให้กลุ่มนักเรียนทำ�โครงงาน ศึกษาปัญหาในครอบครัว หมู่บ้าน ชุมชน และลำ�ดับความสำ�คัญของปัญหา เมื่อทราบปัญหาและสาเหตุของปัญหา ให้อภิปรายร่วมกัน ช่วยกันคิดว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร ครูตั้งคำ�ถาม และ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำ�ถามเช่น – ปัญหาของเราคืออะไรอะไรคือสาเหตุของปัญหา – ปัญหาของครอบครัวคืออะไร(เศรษฐกิจ)อะไรคือสาเหตุของปัญหา – ปัญหาของโรงเรียนเราคืออะไรเพราะอะไรอะไรคือสาเหตุของปัญหา – ปัญหาของชุมชนเราคืออะไร(ด้านเศรษฐกิจ) ๑)..................... ๒)..................... ๓)..................... ๔)..................... – เราควรแก้ปัญหาอย่างไร ๑)..................... ๒)..................... ๓)..................... ๔)..................... – ก่อนแก้ปัญหาควรทำ�อย่างไร(ลำ�ดับความสำ�คัญของปัญหา) – ปัญหาทุกอย่างแก้เหมือนกันหรือไม่เพราะเหตุใด – เด็กๆ(นักเรียน)ช่วยพ่อแม่แก้ปัญหาได้หรือไม่ด้วยวิธีใดบ้าง ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพที่สำ�คัญ – งานถม – งานครํ่า – งานตกแต่งด้วยปีกแมลงทับ – งานเครื่องเงินและเครื่องทอง – ทอผ้าจก – ทอผ้าไหมแพรวา – ทอผ้าไหมมัดหมี่ – จักสานย่านลิเภา – จักสานไม้ไผ่ลายขิด – แกะสลักไม้ – เคลือบดินเผา – สลักหนัง – สลักหิน – งานปัก – ดอกไม้ประดิษฐ์ (จากสารานุกรมไทยฯเล่มที่๒๙) – ความหมายของศิลปาชีพ – ความเป็นมาของแนวพระ ราชดำ�ริ และการดำ�เนินงาน ก่อนตั้งเป็นมูลนิธิ – การดำ�เนินงานภายหลังตั้ง เป็นมูลนิธิแล้ว – การจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพ ๑. โรงฝึกศิลปาชีพ สวนจิตรลดา ๒. ศูนย์ศิลปาชีพ บางไทร ๓. ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านกุดนาขาม ๔. ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านแม่ตํ๋า ๕. ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านจาร ๖. ศูนย์ศิลปาชีพ จ. แม่ฮ่องสอน ๗. ศูนย์ศิลปาชีพ
  • 15. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 138 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – สิ่งที่พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ทำ�มาแต่อดีต มีส่วนใดที่เราควรรักษาไว้ เพราะเหตุใด(เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย) ๑๒. หากในชุมชนมีปัญหาสำ�คัญที่ต้องช่วยแก้ไขมีดังนี้ จะช่วยกันแก้ปัญหา อย่างไร ปัญหา วิธีแก้ปัญหา คนที่เป็นผู้รู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น (จัดทำ�เอกสารตำ�ราเกี่ยวกับภูมิปัญญา มีจำ�นวนลดลงเช่นหมอตำ�แย ท้องถิ่นไว้ให้ลูกหลาน หมอยาแผนโบราณผู้ทำ�พิธีเชิญ – จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ สู่ขวัญฯลฯ ภูมิปัญญาท้องถิ่น – ศึกษาจากสมุดข่อย…) ๑๓. บันทึกพฤติกรรมวัดผลประเมินผล เครื่องปั้นดินเผา พระตำ�หนัก ทักษิณราชนิเวศน์ ๘. ศูนย์ศิลปาชีพ บ้านเนินธัมมัง ศิลปาชีพ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานโครงการ คนไทยภูมิภาคต่างๆ ผลิตงานศิลปหัตถกรรม อาชีพเสริม อาชีพหลัก สมบัติทางวัฒนธรรม ของชาติ ส่งเสริมการตลาด พัฒนาคุณภาพ ภูมิปัญญาไทย อนุรักษ์ศิลปหัตถกรรม พื้นบ้าน พว.
  • 16. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 139 หมายเหตุ : ควรเพิ่มเติมเรื่องวัดไทย จากสารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๘ และพระพุทธรูป จากสารานุกรมไทยฯ เล่มที่ ๒๙ ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพ ที่สำ�คัญ พว. งานเครื่องเงินเครื่องทอง งานจักสาน ย่านลิเภา หวาย ไม้ไผ่ กระจูด งานแกะสลักไม้ หนัง หิน เครื่องปั้นดินเผารูปสัตว์ แจกัน กระถาง งานศิลปประดิษฐ์อื่นๆ ตุ๊กตาชาวเขา ดอกไม้ ปักผ้า แบบไทย ชาวเขา งานทอผ้า ผ้ายกดอก ผ้าแพรวา ผ้าจก ผ้าไหม งานลงยาสี งานครํ่า งานถมทอง w w w w w w w w
  • 17. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 140 ๑. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. สวดมนต์ กราบพระ และปฏิบัติตนเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธที่ดี (หรือศาสนาอื่นที่ตนนับถือ) ๒. ปฏิบัติตน รักษาศีล และฝึกสมาธิได้ ๓. ปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ดีตามพ่อแม่ ครู และพระมหากษัตริย์ไทย ๔. ร่วมกิจกรรมและปฏิบัติศาสนพิธีได้ถูกต้อง ตามวันสำาคัญต่างๆ ของศาสนาที่ตนนับถือ ๕. เขียนรายงาน และทำาโครงงานตามเรื่องที่เรียนได้ ๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ภูมิปญญาไทย ระยะเวลาในการสอน ..... ชั่วโมง กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. สวดมนต์พร้อมๆ กัน และสนทนาความหมายและบทสวดมนต์ ๒. ศึกษา ค้นคว้า เขียนรายงาน เกี่ยวกับวันสำาคัญๆ ทางพระพุทธศาสนาและ กิจกรรมที่นักเรียนควรทำา ๓. รวบรวมข่าว ความรู้ และรายงานหน้าชั้นเกี่ยวกับ วันวิสาขบูชา วัน อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันมาฆบูชา ๔. จัดกลุ่มนักเรียน จัดป้ายนิเทศ รวบรวมจัดทำาสมุดนิทานชาดก รวบรวม หลักฐาน การทำาดีตามวัย ศึกษาหาความหมายของพระรัตนตรัย สำารวจ ตนเอง ฯลฯ ๕. จัดกิจกรรม ตรวจสอบ ความเข้าใจ – เขียนผังมโนทัศน์เกี่ยวกับเบญจศีล เบญจธรรม โอวาท ๓ สังคหวัตถุ ๔ ฆราวาสธรรม ๔ อัตถะ ๓ ๖. ร่วมกันระดมความคิดเกี่ยวกับ – ข้อปฏิบัติที่ให้ประโยชน์แก่ตนเอง – ข้อปฏิบัติที่ให้ประโยชน์แก่ผู้อื่น ๗. สำารวจชุมชนเกี่ยวกับสถานที่สำาคัญทางศาสนา – มีสถานที่สำาคัญทางศาสนาอะไรบ้าง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – ภาพพระพุทธประวัติ – หนังสือสวดมนต์ – นิทานชาดก – ไปวัด - สวดมนต์ในโบสถ์ – ฟังพระเทศน์ – ถวายอาหารพระ – ผังความคิด (นักเรียนช่วยกันคิด) – ฝึกสมาธิทุกวัน พว. วันพระ ทำาความดีถวาย สวดมนต์ ตักบาตร จัดดอกไม้ ถือศีล ๕ ทำาสมาธิ ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 18. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 141 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – สภาพชุมชนมีลักษณะที่พบเห็นเป็นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลง อย่างไรบ้าง – ปัญหาในชุมชนมีเรื่องใดบ้าง – หลักการศึกษา หลักธรรมในศาสนา แล้วมีข้อเสนอแนะในการแก้ไข อย่างไร ๘. ศึกษาเรื่องมงคล ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง มงคล ๓๘ แล้วเลือกเรื่องที่ชอบที่สุด ๑ เรื่อง แล้ว บอกเหตุผลประกอบ ๙. ศึกษาพุทธศาสนสุภาษิต กลุ่มนักเรียนศึกษาแล้วบอกคำ�แปล หาภาพ วาดภาพประกอบ จัดทำ�สมุด เล่มเล็ก ๑๐. ศึกษาเรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก ผลัดเปลี่ยนกันเล่าสู่กันฟังหลังจากศึกษา และรวบรวมข้อมูล ๑๑. ฝึกอ่านภาษาบาลีที่ง่ายๆ คุ้นหู เช่น ความที่ตรงกับความหมายว่า “ตนเป็น ที่พึ่งแห่งตน” ๑๒. จับกลุ่มค้นหาข้อคิด แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ อ่านนิทานชาดก ศึกษาเรื่อง น่ารู้จากพระไตรปิฎกสรุปเนื้อหาโดยย่อพร้อมบอกข้อคิดและนำ�เสนอ ๑๓. ศึกษาวิถีชาวพุทธดังนี้ หน้าที่ชาวพุทธ(การไหว้พระสวดมนต์และแผ่เมตตา) ศาสนพิธี(การกราบพระถวายของใส่บาตรฯลฯ) ชาวพุทธตัวอย่าง(พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระราชวงศ์) สติสัมปชัญญะและสมาธิฝึกสมาธิเบื้องต้น(บอกประโยชน์ได้) ๑๔. อ่านเรื่องชาวพุทธตัวอย่าง (ตามที่ครูเตรียมมาให้) แต่ละกลุ่ม เลือกอ่าน กลุ่มละ ๑ คน บันทึกข้อคิดที่ได้หรือความรู้สึกที่ประทับใจ แล้วนำ�เสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และช่วยกันอภิปรายสรุป รายงาน พร้อมภาพ วาดภาพ ๑๕. ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม ทำ�รายงาน จากห้องสมุดและหนังสือสิ่งพิมพ์ ต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีไทยที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา เช่น พิธีโกนจุก ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ฯลฯ ๑๖. ศึกษา ค้นคว้า เรียบเรียง ความคิด ความเข้าใจ เกี่ยวกับธรรมะและ ประชาธิปไตย (หมายเหตุ : ค้นได้จาก ธรรมาธิปไตยไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ ของ พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต)) ๑๗. ศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียงเกี่ยวกับพระพุทธรูป (หมายเหตุ : จากสารานุกรมไทย สำ�หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเล่มที่๒๙) – สวดมนต์บทต่างๆ ให้คล่อง – ทำ�บุญตักบาตรทุกสัปดาห์/ วัน – ปฏิบัติตามศีล ๕ รวบรวมเกี่ยวกับธรรมะ – เพลงพื้นบ้าน – เพลงร้องเรือ หรือเพลง กล่อมเด็ก – โคลงโลกนิติ – สำ�นวนไทย – ภาษิตและคำ�สอนภาคใต้ – นิทานคติธรรม – นิทาน ๔ ภาค ตัวอย่าง : ประชุมโคลงโลกนิติ อายุยืนร้อยขวบ ปีหมาย ความเกิดทั้งความตาย ไป่รู้ วันเดียวเด็กหญิงชาย เห็นเกิดตายนา เด็กดั่งนั้นยิ่งผู้ แก่ร้อยพรรษา สำ�นวนเก่า ตัวอย่าง : สุภาษิตร้อยแปด เนื้อเน่าเอาเกลือทา คิดว่าเน่าจะจางลง ทั้งเกลือทั้งเนื้อส่ง รสเน่ายิ่งกว่าก่อนก่อน – ประเพณีมงคลต่างๆ – ประเพณีวันสงกรานต์ – ประเพณีลอยกระทง – วันสำ�คัญทางศาสนาต่างๆ – วันมาฆบูชา – วันวิสาขบูชา – วันเข้าพรรษา - ออกพรรษา – วันสารท – พิธีสู่ขวัญ – พิธีบวชนาค ฯลฯ