SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
เปรียบเทียบ
พุทธจริยศาสตร์
กับลัทธิค้านท์
นำเสนอโดย กลุ่มพุทธจริยศำสตร์ ที่มีหัวใจ
ประวัติของค้านท์
อิมมานูเอิล คานท์ (Immanuel Kant) เกิดเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2267 มีชีวิตอยู่ในระหว่างรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ สมัย
อยุธยา และรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมัยรัตนโกสินทร์ คานท์ ถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 80 ปี เป็นนักปรัชญาชาว
เยอรมัน เกิดและตายที่เมืองโคนิกสเบิร์ก ทางตะวันออกของเมืองปรัสเซีย ปัจจุบันคือเมืองคาลินินกราดของรัสเซีย และดารงตาแหน่ง
ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยโคนิกสเบิร์กที่นั่น ทั้งชีวิตของเขาไม่เคยออกนอกเมืองดังกล่าวเลย แนวคิดของเขาส่งผ่านไปทั่วโลกโดย
ทางจดหมาย หลักศีลธรรมของเขาไม่เพียงแต่ปรากฏในแผ่นกระดาษเท่านั้น แต่เขายังถือปฏิบัติอย่างจริงจังอีกด้วย มีความเป็นอยู่อย่าง
สมถะ เป็นโสดตลอดชีวิต และไม่โอ้อวดในทางวิชาการ นอกจากนี้เขายังเป็นคนที่ตรงเวลามากอีกด้วย ทุก ๆ วันเขาจะออกจากบ้าน
เวลาเดียวกันเสมอ กระทั่งมีคากล่าวว่า หากเห็นเขาออกจากบ้านเมื่อใดก็สามารถนาเวลานั้นมาตั้งหน้าปัดนาฬิกาของตนเองได้
คานท์ ได้รับการยกย่องและยอมรับว่าเป็นผู้ทรงอิทธิพลสูงสุดในยุโรป ยังเป็นนักปรัชญาคนสาคัญและคนสุดท้ายของยุคแสงสว่างแห่ง
ปัญญา
(ยุคแสงสว่างแห่งปัญญา คือยุคการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วง
คริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจาก
พระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้าน
ความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนาให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล)
ผลงานของค้านท์
“Critique of Pure Reason” (1781, 1787) (บทวิพากษ์ของการใช้เหตุผล) นาเสนอเนื้อหาของหลักทางจริยศาสตร์ที่ยังคงมีอิทธิพล
ต่อแนวความคิดด้านจริยธรรมของโลกตะวันตกมาจนถึงปัจจุบัน
“Prolegomena to Any Future Metaphysics” (1783)(เกริ่นนาแก่อภิปรัชญาในอนาคต)
“Principles of Metaphysics of Ethics” (1785)(หลักการแห่งอภิปรัชญาของจริยศาสตร์)
“Metaphysical First Principles of Natural Sciences” (1786)(หลักการแรกทางอภิปรัชญาของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ)
“Critique of Practical Reason” (1788) (บทวิพากษ์ว่าด้วยการใช้เหตุผลเชิงปฏิบัติ)
“Critique of Judgement” (1790)(บทวิพากษ์ว่าด้วยการตัดสินความยุติธรรม)
“Religion within the Limits of Mere Reason”(1793)(ศาสนาภายใต้ขอบเขตของเหตุผลแท้)
“Perpetual Peace” (1795)(สันติภาพที่ยั่งยืน) ว่าด้วยเรื่องสันติภาพถาวรของเขาได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศขึ้นเพื่อยุติ
ความขัดแย้งและความโหดร้ายของสงครามกระทั่งสันนิบาตชาติและตามด้วยสหประชาชาติได้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน
แนวคิดของค้านท์
จงทาตามหน้าที่
ลัทธินี้บางทีก็เรียกว่า Rigorism หมายถึง ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ
Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่
เป็นหลัก เพราะเขาเป็นคนตรงต่อเวลาเสมอ ระบบจริยศาสตร์ของเขาก็เข้มงวดและเด็ดขาดเหมือนระบบ
ชีวิตของเขา โดยวางอยู่บนฐานที่ว่า มนุษย์มีร่างกายทาให้ตกเป็นทาสอารมณ์อันเป็นความต้องการทาง
กายภาพในขณะเดียวกันมนุษย์ก็มีจิตใจอันทาให้เป็นผู้ที่มีเหตุผล ดังนั้น ความต้องการของร่างกายจึง
ขัดแย้งกับเหตุผลอยู่เสมอ ศีลธรรมของเขาจึงอยู่ที่การเอาชนะอารมณ์และตั้งอยู่บนเหตุผล นอกจากนั้น
แนวคิดหลักทางจริยศาสตร์ของเขาอีก 2 ข้อ คือ
1. จงทาสิ่งที่ท่านจงใจให้เป็นกฎสากล
2. อย่าใช้มนุษย์เป็นบันไดไปสู่เป้าหมายของตน
เพื่อความเข้าใจแนวคิดของค้านท์ ต้องวิเคราะห์เรื่องเจตนา
๑.เจตนาที่ดีคือหลักการ
ค้านท์ถือว่าเจตนาคือหลักการเป็นตัวตัดสินการกระทา ดี ชั่ว ถูก ผิด เป็นค่าทางศีลธรรมที่มีความตายตัว
ตัวอย่างเช่น การพูดความจริง เป็นความดีก็จะดี ทุกเวลา ทุกสถานที่ และทุกสิ่งแวดล้อม เหมือน 1+1 = 2
เป็นความจริงที่ตายตัวเสมอ สิ่งที่ใช้เป็นตัวตัดสินค่าทางศีลธรรมว่าเป็นสิ่งที่ถูกคือเจตนาที่ดี โดยค้านท์ได้
ให้คาตอบไว้ว่า
ไม่มีอะไรในโลกนี้หรือนอกโลก ที่เรำจะคิดว่ำดีโดยปรำศจำกเงื่อนไข นอกจำกเจตนำดี
เจตนาเป็นตัวการให้เกิดการกระทา ไม่ว่าการกระทานั้นจะก่อให้เกิดผลที่ดีหรือชั่วก็ตาม ล้วนมาจาก
เจตนาเป็นตัวสั่งการ ดังนั้น สิ่งสาคัญที่สุดก็คือเจตนา สาหรับค้านท์ เขาถือว่าการกระทาที่ถูกต้องคือ
การกระทาที่เกิดจากเจตนาที่ดี สิ่งที่ต้องทาความเข้าใจก็คือคาว่าเจตนาดีคืออะไร?
๒.เจตนาที่ดีคือการทาหน้าที่
เจตนาที่ดีนั้นสาหรับค้านท์ หมายถึงการกระทาตามหน้าที่โดยไม่มีอารมณ์ทั้งบวกและลบมาเกี่ยวข้อง
ตารวจทาการจับบิดาผู้เป็นโจรก็ถือว่าทาหน้าที่ เพราะตารวจจะต้องเกิดความขัดแย้งระหว่างความสงสาร
พ่อกับหน้าที่ความเป็นตารวจ บางครั้งอารมณ์ฝ่ายบวกอย่าง กรุณา ความสงสารอาจมาตรงกับสิ่งที่เป็น
หน้าที่ก็ได้แต่เราก็ไม่ถือว่าเป็นหน้าที่
ค้านท์ถือว่าเป็นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะต้องช่วยเหลือกัน ถ้านายสมศักดิ์ล้มละลายมาขอความช่วยเหลือ
จากเรา เราเกิดความสงสารจึงช่วยเหลือ การช่วยเหลือของเรานั้นเป็นการช่วยเหลือเพราะความสงสาร
อันเป็นอารมณ์ฝ่ายบวกแต่ไม่ใช่เป็นหน้าที่ เพราะถ้าเราไม่สงสารคือเกลียดเราอาจไม่ช่วยก็ได้ แต่ถ้าเรา
ถือว่าเป็นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะต้องช่วยเหลือกัน
๒.เจตนาที่ดีคือการทาหน้าที่
การกระทาตามหน้าที่เป็นเรื่องเดียวกับการกระทาด้วยเจตนาที่ดี ค้านต์รังเกียจอารมณ์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ฝ่ายบวก
หรือฝ่ายลบ เนื่องจากเขาเล็งเห็นว่าอารมณ์เป็นเรื่องของความรู้สึกไม่ได้ตั้งอยู่บนฐานของเหตุผล
การกระทาตามหน้าที่ ไม่ได้มุ่งเป้าไปที่ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นผลดีหรือผลร้าย เช่น ความซื่อสัตย์ของพ่อค้า
ค้านท์ถามว่า พ่อค้าซื่อสัตย์เพราะอะไร ถ้าซื่อสัตย์เพราะความซื่อสัตย์เป็นสิ่งที่ดี อย่างนี้ถือว่าพ่อค้าคนนั้นเป็นคนดี แต่
ถ้าซื่อสัตย์เพราะคิดว่าด้วยความซื่อสัตย์จะทาให้การค้าเจริญรุ่งเรืองทาการค้าได้กาไร แบบนี้ค้านท์ถือว่าไม่มีค่าทาง
ศีลธรรมที่น่าสรรเสริญ ไม่ใช่เป็นการทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ แต่เป็นการทาหน้าที่เพื่อเป้าหมาย
การกระทาตามหน้าที่จะต้องไม่คานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าผลนั้นจะให้ผลดีหรือผลร้ายก็ตาม แพทย์มีหน้าที่ต้องช่วย
คนไข้ แต่สงสารคนไข้ทาการฆ่าคนไข้เพื่อให้คนไข้พ้นจากความทรมาน ถือว่าแพทย์ผิดที่ไม่ทาหน้าที่ตนเองให้ถูกต้อง
ในทางกลับกันเพชฌฆาตมีหน้าที่ฆ่านักโทษประหาร แต่กลับฆ่าไม่ลงเพราะสงสารนักโทษ เนื่องจากนักโทษมีพ่อแม่แก่ชรา
ที่จะต้องคอยเลี้ยงดู มีเมียที่ป่วยเป็นอัมพาต มีลูกที่ป่วยเป็นโรคปัญญาอ่อนต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด ถ้าเพชฌฆาตไม่
ยอมประหารชีวิตค้านท์ถือว่าเป็นความผิด
หน้าที่กับกฏศีลธรรม
การทาตามหน้าที่คือการทาตามเหตุผล ได้แก่การทาตามกฎโดยไม่คานึงถึงความรู้สึกใด ๆ ทั้งสิ้น กฎในที่นี้หมายถึง กฎทางศีลธรรมคือกฎที่มีลักษณะเป็นคาสั่ง เช่น
จงพูดคาสัตย์ จงอย่าทาลายชีวิต
คาสั่งมี 2 แบบ คือ 1. คาสั่งที่มีเงื่อนไข เช่น ถ้าคุณขยันคุณจะสอบไล่ผ่าน ถ้าคุณซื่อสัตย์ คุณจะขายของได้กาไร
2. คาสั่งเด็ดขาด เช่น จงซื่อสัตย์เพราะความซื่อสัตย์เป็นความดี
คาสั่งเด็ดขาดหรือกฎทางศีลธรรมที่ตายตัวในจริยศาสตร์ของค้านท์ก็คือ
“จงทำตำมหลักซึ่งท่ำนจงใจที่จะให้เป็นกฎสำกล”
“จงปฏิบัติต่อมนุษย์โดยถือว่ำเขำเป็นจุดหมำยในตัวเอง อย่ำถือเขำเป็นเพียงเครื่องมือไม่ว่ำจะเป็นตัวท่ำนเองหรือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน”
ค้านท์ถือว่า “กำรกระทำตำมกฎศีลธรรมจะเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์หลุดพ้นจำกกระแสควำมรู้สึกมำสู่ปัญญำเท่ำนั้น”
สรุป
การกระทาที่ถูก คือการกระทาที่เกิดจากเจตนาดี การกระทาที่เกิดจากเจตนาดี คือ
การกระทาที่สานึกในหน้าที่ การกระทาที่เกิดจากหน้าที่ คือการกระทาที่เกิดจาก
เหตุผล การกระทาที่ตั้งอยู่บนเหตุผลคือการกระทาที่เกิดจากกฎศีลธรรม
วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์
จุดเด่น
1. สอนให้คนสานึกในหน้าที่ โดยปรกติมนุษย์จะมีข้อบกพร่องในหน้าที่ มักจะทาหน้าที่ได้ไม่เต็มกาลัง เพราะความเกียจ
คร้านบ้าง เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวบ้าง แต่สาหรับค้านท์ไปไกลกว่านั้น เขาสอนให้มนุษย์เคร่งครัดต่อหน้าที่โดยไม่สนใจ
แม้กระทั่งอารมณ์ฝ่ายบวก เราทาดีเพราะว่ามันเป็นความดีแต่ไม่ใช่ทาดีเพราะหวังผลประโยชน์
2. ไม่ให้อภิสิทธิ์ชนอยู่เหนือกฎศีลธรรม ทุกคนเท่าเทียมกันภายใต้กฎทางศีลธรรม แนวคิดแบบนี้ช่วยทาให้สังคมเกิดความ
สงบอันเกิดมาจากความยุติธรรม
3. มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีอย่าใช้คนเป็นเครื่องมือ แนวคิดของค้านท์ข้อนี้เป็นเครื่องยืนยันว่า ค้านท์เคารพสิทธิมนุษยชน
มองมนุษย์ทุกคนแบบให้เกียรติ เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยถือว่ามนุษย์ ทุกคนมีเป้าหมายในตัวเอง ไม่ใช้คนเป็น
บันไดไปสู่เป้าหมาย
วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์
ข้อบกพร่อง
1. ดูถูกความรู้สึกของมนุษย์มากไป
แนวคิดของค้านต์ดูจะผิดธรรมดาสามัญจากความเข้าใจของมนุษย์ปกติ การที่ค้านต์ไม่ให้ความสาคัญกับอารมณ์
ฝ่ายลบ เช่น ความโกรธ ความริษยา ความโลภ ก็นับว่าสมเหตุผลอยู่ แต่การที่ค้านต์ไม่ให้ความสาคัญกับ
อารมณ์ฝ่ายบวกเลย เช่น ความเมตตา ความสงสาร ดูเหมือนว่าจะเป็นสิ่งที่ยากจะทาให้วิญญูชนทาใจให้
ยอมรับได้ยาก มารดาทาการเลี้ยงลูกด้วยความสานึกในหน้าที่ โดยไม่มีความรักให้แก่ลูกเลย ฉันจะทาหน้าที่ของ
แม่อย่างเดียว ท่านคิดว่าโลกนี้จะเป็นอย่างไร
ค้านต์ไม่ให้ความสาคัญแก่ความรู้สึกของมนุษย์ เน้นความดีตรงที่การต่อสู้กันระหว่างความสานึกในหน้าที่กับ
ความรู้สึก คนเลวแต่กลับตัวมาเป็นดี ชาวโลกนิยมสรรเสริญ แต่สาหรับค้านท์ถือว่าหมดโอกาสทาดี เรามีเพื่อน
อยู่ 2 คน คนหนึ่งดีกับเราเสมอ อีกคนหนึ่งจะคอยคิดฆ่าท่านอยู่เสมอแต่พยายามหักห้ามใจ ถ้าจะให้ท่านเลือก
คบท่านจะเลือกคบคนไหน แต่สาหรับค้านท์คงจะต้องคบคนหลังอย่างแน่นอน
วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์
ข้อบกพร่อง
2. เป็นจริยศาสตร์ที่มีความเถรตรงมากเกินไป
ทาให้เกิดความขัดแย้งกันเอง เช่น อาจารย์มีหน้าที่ต้องสอนนิสิต แต่ในขณะก่อนจะไปสอนหนังสือเกิด
ลูกชายป่วยกะทันหันต้องรีบนาไปส่งโรงพยาบาล ถ้าตัดสินใจไปสอนนิสิตก็จะได้รับการยกย่องว่าเป็น
อาจารย์ที่ดี แต่บกพร่องหน้าที่ความเป็นพ่อที่ดี แต่ถ้าเลือกความเป็นพ่อที่ดี รีบพาลูกไปส่งโรงพยาบาล
จะบกพร่องหน้าที่ความเป็นอาจารย์ที่ดี ถ้าค้านท์อยู่ในสภาวะขัดแย้งแบบนี้ ค้านท์จะแก้ปัญหานี้
อย่างไร?
วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์
3. ค้านท์บอกไม่ให้ใช้มนุษย์เป็นเครื่องมือ เป็นสิ่งที่ดีเพราะเป็นการให้มนุษย์เคารพสิทธิมนุษยชน แต่ใน
ความเป็นจริงมันเป็นเรื่องที่ลาบากมาก ถ้าค้านท์ตกอยู่ในสถานการณ์แบบเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์อดีต
นายกรัฐมนตรีของอังกฤษในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เหตุเกิดเมื่อ ค.ศ.1940 เชอร์ชิลล์ได้รับการรายงาน
จากหน่วยข่าวกรองชื่ออัลตร้าว่าเยอรมันจะทาการโจมตีเมืองโคเวนทรี ถ้าเขาสั่งให้อพยพชาวเมือง เยอรมัน
จะต้องรู้โดยทันทีว่าอังกฤษสามารถดักข่าวถอดรหัสของพวกเยอรมันได้สาเร็จและจะต้องเปลี่ยนรหัสใหม่ ซึ่ง
จะทาให้อังกฤษต้องใช้เวลาอีกนานกว่าจะถอดรหัสได้ จะทาให้คนอังกฤษอีกมากมายต้องตาย
ในที่สุด เชอร์ชิลล์ตัดสินใจไม่บอกให้ชาวเมืองรู้ ปรากฏว่าชาวเมืองโคเวนทรีถูกพวกเยอรมันทิ้งระเบิดตายไป
ถึง 400 คน บาดเจ็บและไร้ที่อยู่หลายพันคน เชอร์ชิลล์อยู่ในสภาวะที่ลาบากระหว่างการพูดความจริงทาให้
หน่วยข่าวกรองอัลตร้าหมดประสิทธิภาพกับการช่วยชีวิตชาวเมืองโคเวนทรี สุดท้ายเขาก็ต้องยอมใช้หลักการ
ของพวกประโยชน์นิยม คือการรักษาชีวิตคนอังกฤษส่วนมากเอาไว้ดีกว่ารักษาชีวิตของคนแค่เมืองเดียว
เปรียบเทียบแนวคิดของค้านท์และประโยชน์นิยม
ควำมเหมือน
1. กฎศีลธรรมจะต้องมีลักษณะสากล ใครจะละเมิดมิได้
2. ไม่ให้อภิสิทธิ์แก่ผู้ใด
3. การคานึงถึงผลประโยชน์ตนผิด
ควำมแตกต่ำง
1. กฎศีลธรรมของค้านท์ ได้มาจากเหตุผลหรือปัญญาที่บริสุทธิ์ในฐานะที่มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีศีลธรรม โดยไม่ต้องคานึงถึง
ความสุขที่จะเกิดขึ้นในโลก และเป็นกฎที่ไม่เปลี่ยนไปตามกาลเวลา
2. กฎศีลธรรมของกฎประโยชน์นิยมได้มาจากการคานึงถึงผล กฎที่ถูกคือกฎที่ก่อให้เกิดความสุขมากที่สุดถ้าทุกคนปฏิบัติ
ตาม สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา
เปรียบเทียบแนวคิดของค้านท์และพุทธจริยศาสตร์
เป้าหมายสูงสุดของค้านท์ คือ ศีลธรรม เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ พระนิพพาน
ลัทธิค้านท์
กฏทางศีลธรรม->หน้าที่->เจตนาดี->การกระทาที่ดี ->การกระทาที่ดีมีเจตนาเป็นตัวแปร
ความรู้สึก ค้านท์ ไม่สนใจเรื่องความรู้สึก
หน้าที่ต้องอยู่ในกรอบศีลธรรม
คุณค่าทางศีลธรรม เกิดขึ้นต้องเกิดความขัดแย้ง
ความจงใจให้เป็นหลักสากล (เป็นอุดมคติ) ไม่ได้ดูเรื่องธรรมชาติของความเป็นมนุษย์
จุดแข็งของค้านท์ เคารพสิทธิความเป็นมนุษย์
-ศำสนำ
-ปรัชญำ
-ปรัชญำศำสนำ
-พุทธปรัชญำ
เกณฑ์การตัดสินของพุทธจริยศาสตร์
๑. เจตนำ (กุศล/อกุศล) ๒. วิธีกำร ๓. ผลลัพธ์
กำรทำดีให้ถูกดี
ถูกที่ ถูกเวลำ
กลุ่มพุทธจริยศาสตร์
ที่มีใจอยู่ในหัว
พระอัถดิษฐ์ ฐิตธมฺโม
พระจันทร์ศรี อินฺทโชโต
พระสมพร สุทธญาโณ
นายภาณุวัชร พัทธาดนย์
ขอขอบคุณ อำจำรย์ (ว่ำที่ ดร.) เกรียงไกร พินยำรัก

More Related Content

What's hot

วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)Milky' __
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาThaiway Thanathep
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 

What's hot (20)

วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 

Viewers also liked

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and ArchivesUX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and ArchivesNed Potter
 
Visual Design with Data
Visual Design with DataVisual Design with Data
Visual Design with DataSeth Familian
 
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkTEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkVolker Hirsch
 

Viewers also liked (6)

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and ArchivesUX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
 
Visual Design with Data
Visual Design with DataVisual Design with Data
Visual Design with Data
 
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkTEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
 

พุทธจริยศาสตร์VSลัทธิค้านท์

  • 2. ประวัติของค้านท์ อิมมานูเอิล คานท์ (Immanuel Kant) เกิดเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2267 มีชีวิตอยู่ในระหว่างรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ สมัย อยุธยา และรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมัยรัตนโกสินทร์ คานท์ ถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 80 ปี เป็นนักปรัชญาชาว เยอรมัน เกิดและตายที่เมืองโคนิกสเบิร์ก ทางตะวันออกของเมืองปรัสเซีย ปัจจุบันคือเมืองคาลินินกราดของรัสเซีย และดารงตาแหน่ง ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยโคนิกสเบิร์กที่นั่น ทั้งชีวิตของเขาไม่เคยออกนอกเมืองดังกล่าวเลย แนวคิดของเขาส่งผ่านไปทั่วโลกโดย ทางจดหมาย หลักศีลธรรมของเขาไม่เพียงแต่ปรากฏในแผ่นกระดาษเท่านั้น แต่เขายังถือปฏิบัติอย่างจริงจังอีกด้วย มีความเป็นอยู่อย่าง สมถะ เป็นโสดตลอดชีวิต และไม่โอ้อวดในทางวิชาการ นอกจากนี้เขายังเป็นคนที่ตรงเวลามากอีกด้วย ทุก ๆ วันเขาจะออกจากบ้าน เวลาเดียวกันเสมอ กระทั่งมีคากล่าวว่า หากเห็นเขาออกจากบ้านเมื่อใดก็สามารถนาเวลานั้นมาตั้งหน้าปัดนาฬิกาของตนเองได้ คานท์ ได้รับการยกย่องและยอมรับว่าเป็นผู้ทรงอิทธิพลสูงสุดในยุโรป ยังเป็นนักปรัชญาคนสาคัญและคนสุดท้ายของยุคแสงสว่างแห่ง ปัญญา (ยุคแสงสว่างแห่งปัญญา คือยุคการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจาก พระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้าน ความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนาให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล)
  • 3. ผลงานของค้านท์ “Critique of Pure Reason” (1781, 1787) (บทวิพากษ์ของการใช้เหตุผล) นาเสนอเนื้อหาของหลักทางจริยศาสตร์ที่ยังคงมีอิทธิพล ต่อแนวความคิดด้านจริยธรรมของโลกตะวันตกมาจนถึงปัจจุบัน “Prolegomena to Any Future Metaphysics” (1783)(เกริ่นนาแก่อภิปรัชญาในอนาคต) “Principles of Metaphysics of Ethics” (1785)(หลักการแห่งอภิปรัชญาของจริยศาสตร์) “Metaphysical First Principles of Natural Sciences” (1786)(หลักการแรกทางอภิปรัชญาของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ) “Critique of Practical Reason” (1788) (บทวิพากษ์ว่าด้วยการใช้เหตุผลเชิงปฏิบัติ) “Critique of Judgement” (1790)(บทวิพากษ์ว่าด้วยการตัดสินความยุติธรรม) “Religion within the Limits of Mere Reason”(1793)(ศาสนาภายใต้ขอบเขตของเหตุผลแท้) “Perpetual Peace” (1795)(สันติภาพที่ยั่งยืน) ว่าด้วยเรื่องสันติภาพถาวรของเขาได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศขึ้นเพื่อยุติ ความขัดแย้งและความโหดร้ายของสงครามกระทั่งสันนิบาตชาติและตามด้วยสหประชาชาติได้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน
  • 4. แนวคิดของค้านท์ จงทาตามหน้าที่ ลัทธินี้บางทีก็เรียกว่า Rigorism หมายถึง ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่ เป็นหลัก เพราะเขาเป็นคนตรงต่อเวลาเสมอ ระบบจริยศาสตร์ของเขาก็เข้มงวดและเด็ดขาดเหมือนระบบ ชีวิตของเขา โดยวางอยู่บนฐานที่ว่า มนุษย์มีร่างกายทาให้ตกเป็นทาสอารมณ์อันเป็นความต้องการทาง กายภาพในขณะเดียวกันมนุษย์ก็มีจิตใจอันทาให้เป็นผู้ที่มีเหตุผล ดังนั้น ความต้องการของร่างกายจึง ขัดแย้งกับเหตุผลอยู่เสมอ ศีลธรรมของเขาจึงอยู่ที่การเอาชนะอารมณ์และตั้งอยู่บนเหตุผล นอกจากนั้น แนวคิดหลักทางจริยศาสตร์ของเขาอีก 2 ข้อ คือ 1. จงทาสิ่งที่ท่านจงใจให้เป็นกฎสากล 2. อย่าใช้มนุษย์เป็นบันไดไปสู่เป้าหมายของตน
  • 5. เพื่อความเข้าใจแนวคิดของค้านท์ ต้องวิเคราะห์เรื่องเจตนา ๑.เจตนาที่ดีคือหลักการ ค้านท์ถือว่าเจตนาคือหลักการเป็นตัวตัดสินการกระทา ดี ชั่ว ถูก ผิด เป็นค่าทางศีลธรรมที่มีความตายตัว ตัวอย่างเช่น การพูดความจริง เป็นความดีก็จะดี ทุกเวลา ทุกสถานที่ และทุกสิ่งแวดล้อม เหมือน 1+1 = 2 เป็นความจริงที่ตายตัวเสมอ สิ่งที่ใช้เป็นตัวตัดสินค่าทางศีลธรรมว่าเป็นสิ่งที่ถูกคือเจตนาที่ดี โดยค้านท์ได้ ให้คาตอบไว้ว่า ไม่มีอะไรในโลกนี้หรือนอกโลก ที่เรำจะคิดว่ำดีโดยปรำศจำกเงื่อนไข นอกจำกเจตนำดี เจตนาเป็นตัวการให้เกิดการกระทา ไม่ว่าการกระทานั้นจะก่อให้เกิดผลที่ดีหรือชั่วก็ตาม ล้วนมาจาก เจตนาเป็นตัวสั่งการ ดังนั้น สิ่งสาคัญที่สุดก็คือเจตนา สาหรับค้านท์ เขาถือว่าการกระทาที่ถูกต้องคือ การกระทาที่เกิดจากเจตนาที่ดี สิ่งที่ต้องทาความเข้าใจก็คือคาว่าเจตนาดีคืออะไร?
  • 6. ๒.เจตนาที่ดีคือการทาหน้าที่ เจตนาที่ดีนั้นสาหรับค้านท์ หมายถึงการกระทาตามหน้าที่โดยไม่มีอารมณ์ทั้งบวกและลบมาเกี่ยวข้อง ตารวจทาการจับบิดาผู้เป็นโจรก็ถือว่าทาหน้าที่ เพราะตารวจจะต้องเกิดความขัดแย้งระหว่างความสงสาร พ่อกับหน้าที่ความเป็นตารวจ บางครั้งอารมณ์ฝ่ายบวกอย่าง กรุณา ความสงสารอาจมาตรงกับสิ่งที่เป็น หน้าที่ก็ได้แต่เราก็ไม่ถือว่าเป็นหน้าที่ ค้านท์ถือว่าเป็นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะต้องช่วยเหลือกัน ถ้านายสมศักดิ์ล้มละลายมาขอความช่วยเหลือ จากเรา เราเกิดความสงสารจึงช่วยเหลือ การช่วยเหลือของเรานั้นเป็นการช่วยเหลือเพราะความสงสาร อันเป็นอารมณ์ฝ่ายบวกแต่ไม่ใช่เป็นหน้าที่ เพราะถ้าเราไม่สงสารคือเกลียดเราอาจไม่ช่วยก็ได้ แต่ถ้าเรา ถือว่าเป็นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะต้องช่วยเหลือกัน
  • 7. ๒.เจตนาที่ดีคือการทาหน้าที่ การกระทาตามหน้าที่เป็นเรื่องเดียวกับการกระทาด้วยเจตนาที่ดี ค้านต์รังเกียจอารมณ์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ฝ่ายบวก หรือฝ่ายลบ เนื่องจากเขาเล็งเห็นว่าอารมณ์เป็นเรื่องของความรู้สึกไม่ได้ตั้งอยู่บนฐานของเหตุผล การกระทาตามหน้าที่ ไม่ได้มุ่งเป้าไปที่ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นผลดีหรือผลร้าย เช่น ความซื่อสัตย์ของพ่อค้า ค้านท์ถามว่า พ่อค้าซื่อสัตย์เพราะอะไร ถ้าซื่อสัตย์เพราะความซื่อสัตย์เป็นสิ่งที่ดี อย่างนี้ถือว่าพ่อค้าคนนั้นเป็นคนดี แต่ ถ้าซื่อสัตย์เพราะคิดว่าด้วยความซื่อสัตย์จะทาให้การค้าเจริญรุ่งเรืองทาการค้าได้กาไร แบบนี้ค้านท์ถือว่าไม่มีค่าทาง ศีลธรรมที่น่าสรรเสริญ ไม่ใช่เป็นการทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ แต่เป็นการทาหน้าที่เพื่อเป้าหมาย การกระทาตามหน้าที่จะต้องไม่คานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าผลนั้นจะให้ผลดีหรือผลร้ายก็ตาม แพทย์มีหน้าที่ต้องช่วย คนไข้ แต่สงสารคนไข้ทาการฆ่าคนไข้เพื่อให้คนไข้พ้นจากความทรมาน ถือว่าแพทย์ผิดที่ไม่ทาหน้าที่ตนเองให้ถูกต้อง ในทางกลับกันเพชฌฆาตมีหน้าที่ฆ่านักโทษประหาร แต่กลับฆ่าไม่ลงเพราะสงสารนักโทษ เนื่องจากนักโทษมีพ่อแม่แก่ชรา ที่จะต้องคอยเลี้ยงดู มีเมียที่ป่วยเป็นอัมพาต มีลูกที่ป่วยเป็นโรคปัญญาอ่อนต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด ถ้าเพชฌฆาตไม่ ยอมประหารชีวิตค้านท์ถือว่าเป็นความผิด
  • 8. หน้าที่กับกฏศีลธรรม การทาตามหน้าที่คือการทาตามเหตุผล ได้แก่การทาตามกฎโดยไม่คานึงถึงความรู้สึกใด ๆ ทั้งสิ้น กฎในที่นี้หมายถึง กฎทางศีลธรรมคือกฎที่มีลักษณะเป็นคาสั่ง เช่น จงพูดคาสัตย์ จงอย่าทาลายชีวิต คาสั่งมี 2 แบบ คือ 1. คาสั่งที่มีเงื่อนไข เช่น ถ้าคุณขยันคุณจะสอบไล่ผ่าน ถ้าคุณซื่อสัตย์ คุณจะขายของได้กาไร 2. คาสั่งเด็ดขาด เช่น จงซื่อสัตย์เพราะความซื่อสัตย์เป็นความดี คาสั่งเด็ดขาดหรือกฎทางศีลธรรมที่ตายตัวในจริยศาสตร์ของค้านท์ก็คือ “จงทำตำมหลักซึ่งท่ำนจงใจที่จะให้เป็นกฎสำกล” “จงปฏิบัติต่อมนุษย์โดยถือว่ำเขำเป็นจุดหมำยในตัวเอง อย่ำถือเขำเป็นเพียงเครื่องมือไม่ว่ำจะเป็นตัวท่ำนเองหรือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน” ค้านท์ถือว่า “กำรกระทำตำมกฎศีลธรรมจะเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์หลุดพ้นจำกกระแสควำมรู้สึกมำสู่ปัญญำเท่ำนั้น”
  • 9. สรุป การกระทาที่ถูก คือการกระทาที่เกิดจากเจตนาดี การกระทาที่เกิดจากเจตนาดี คือ การกระทาที่สานึกในหน้าที่ การกระทาที่เกิดจากหน้าที่ คือการกระทาที่เกิดจาก เหตุผล การกระทาที่ตั้งอยู่บนเหตุผลคือการกระทาที่เกิดจากกฎศีลธรรม
  • 10. วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์ จุดเด่น 1. สอนให้คนสานึกในหน้าที่ โดยปรกติมนุษย์จะมีข้อบกพร่องในหน้าที่ มักจะทาหน้าที่ได้ไม่เต็มกาลัง เพราะความเกียจ คร้านบ้าง เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวบ้าง แต่สาหรับค้านท์ไปไกลกว่านั้น เขาสอนให้มนุษย์เคร่งครัดต่อหน้าที่โดยไม่สนใจ แม้กระทั่งอารมณ์ฝ่ายบวก เราทาดีเพราะว่ามันเป็นความดีแต่ไม่ใช่ทาดีเพราะหวังผลประโยชน์ 2. ไม่ให้อภิสิทธิ์ชนอยู่เหนือกฎศีลธรรม ทุกคนเท่าเทียมกันภายใต้กฎทางศีลธรรม แนวคิดแบบนี้ช่วยทาให้สังคมเกิดความ สงบอันเกิดมาจากความยุติธรรม 3. มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีอย่าใช้คนเป็นเครื่องมือ แนวคิดของค้านท์ข้อนี้เป็นเครื่องยืนยันว่า ค้านท์เคารพสิทธิมนุษยชน มองมนุษย์ทุกคนแบบให้เกียรติ เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยถือว่ามนุษย์ ทุกคนมีเป้าหมายในตัวเอง ไม่ใช้คนเป็น บันไดไปสู่เป้าหมาย
  • 11. วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์ ข้อบกพร่อง 1. ดูถูกความรู้สึกของมนุษย์มากไป แนวคิดของค้านต์ดูจะผิดธรรมดาสามัญจากความเข้าใจของมนุษย์ปกติ การที่ค้านต์ไม่ให้ความสาคัญกับอารมณ์ ฝ่ายลบ เช่น ความโกรธ ความริษยา ความโลภ ก็นับว่าสมเหตุผลอยู่ แต่การที่ค้านต์ไม่ให้ความสาคัญกับ อารมณ์ฝ่ายบวกเลย เช่น ความเมตตา ความสงสาร ดูเหมือนว่าจะเป็นสิ่งที่ยากจะทาให้วิญญูชนทาใจให้ ยอมรับได้ยาก มารดาทาการเลี้ยงลูกด้วยความสานึกในหน้าที่ โดยไม่มีความรักให้แก่ลูกเลย ฉันจะทาหน้าที่ของ แม่อย่างเดียว ท่านคิดว่าโลกนี้จะเป็นอย่างไร ค้านต์ไม่ให้ความสาคัญแก่ความรู้สึกของมนุษย์ เน้นความดีตรงที่การต่อสู้กันระหว่างความสานึกในหน้าที่กับ ความรู้สึก คนเลวแต่กลับตัวมาเป็นดี ชาวโลกนิยมสรรเสริญ แต่สาหรับค้านท์ถือว่าหมดโอกาสทาดี เรามีเพื่อน อยู่ 2 คน คนหนึ่งดีกับเราเสมอ อีกคนหนึ่งจะคอยคิดฆ่าท่านอยู่เสมอแต่พยายามหักห้ามใจ ถ้าจะให้ท่านเลือก คบท่านจะเลือกคบคนไหน แต่สาหรับค้านท์คงจะต้องคบคนหลังอย่างแน่นอน
  • 12. วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์ ข้อบกพร่อง 2. เป็นจริยศาสตร์ที่มีความเถรตรงมากเกินไป ทาให้เกิดความขัดแย้งกันเอง เช่น อาจารย์มีหน้าที่ต้องสอนนิสิต แต่ในขณะก่อนจะไปสอนหนังสือเกิด ลูกชายป่วยกะทันหันต้องรีบนาไปส่งโรงพยาบาล ถ้าตัดสินใจไปสอนนิสิตก็จะได้รับการยกย่องว่าเป็น อาจารย์ที่ดี แต่บกพร่องหน้าที่ความเป็นพ่อที่ดี แต่ถ้าเลือกความเป็นพ่อที่ดี รีบพาลูกไปส่งโรงพยาบาล จะบกพร่องหน้าที่ความเป็นอาจารย์ที่ดี ถ้าค้านท์อยู่ในสภาวะขัดแย้งแบบนี้ ค้านท์จะแก้ปัญหานี้ อย่างไร?
  • 13. วิจารณ์จริยศาสตร์ของค้านท์ 3. ค้านท์บอกไม่ให้ใช้มนุษย์เป็นเครื่องมือ เป็นสิ่งที่ดีเพราะเป็นการให้มนุษย์เคารพสิทธิมนุษยชน แต่ใน ความเป็นจริงมันเป็นเรื่องที่ลาบากมาก ถ้าค้านท์ตกอยู่ในสถานการณ์แบบเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์อดีต นายกรัฐมนตรีของอังกฤษในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เหตุเกิดเมื่อ ค.ศ.1940 เชอร์ชิลล์ได้รับการรายงาน จากหน่วยข่าวกรองชื่ออัลตร้าว่าเยอรมันจะทาการโจมตีเมืองโคเวนทรี ถ้าเขาสั่งให้อพยพชาวเมือง เยอรมัน จะต้องรู้โดยทันทีว่าอังกฤษสามารถดักข่าวถอดรหัสของพวกเยอรมันได้สาเร็จและจะต้องเปลี่ยนรหัสใหม่ ซึ่ง จะทาให้อังกฤษต้องใช้เวลาอีกนานกว่าจะถอดรหัสได้ จะทาให้คนอังกฤษอีกมากมายต้องตาย ในที่สุด เชอร์ชิลล์ตัดสินใจไม่บอกให้ชาวเมืองรู้ ปรากฏว่าชาวเมืองโคเวนทรีถูกพวกเยอรมันทิ้งระเบิดตายไป ถึง 400 คน บาดเจ็บและไร้ที่อยู่หลายพันคน เชอร์ชิลล์อยู่ในสภาวะที่ลาบากระหว่างการพูดความจริงทาให้ หน่วยข่าวกรองอัลตร้าหมดประสิทธิภาพกับการช่วยชีวิตชาวเมืองโคเวนทรี สุดท้ายเขาก็ต้องยอมใช้หลักการ ของพวกประโยชน์นิยม คือการรักษาชีวิตคนอังกฤษส่วนมากเอาไว้ดีกว่ารักษาชีวิตของคนแค่เมืองเดียว
  • 14. เปรียบเทียบแนวคิดของค้านท์และประโยชน์นิยม ควำมเหมือน 1. กฎศีลธรรมจะต้องมีลักษณะสากล ใครจะละเมิดมิได้ 2. ไม่ให้อภิสิทธิ์แก่ผู้ใด 3. การคานึงถึงผลประโยชน์ตนผิด ควำมแตกต่ำง 1. กฎศีลธรรมของค้านท์ ได้มาจากเหตุผลหรือปัญญาที่บริสุทธิ์ในฐานะที่มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีศีลธรรม โดยไม่ต้องคานึงถึง ความสุขที่จะเกิดขึ้นในโลก และเป็นกฎที่ไม่เปลี่ยนไปตามกาลเวลา 2. กฎศีลธรรมของกฎประโยชน์นิยมได้มาจากการคานึงถึงผล กฎที่ถูกคือกฎที่ก่อให้เกิดความสุขมากที่สุดถ้าทุกคนปฏิบัติ ตาม สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา
  • 15. เปรียบเทียบแนวคิดของค้านท์และพุทธจริยศาสตร์ เป้าหมายสูงสุดของค้านท์ คือ ศีลธรรม เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ พระนิพพาน ลัทธิค้านท์ กฏทางศีลธรรม->หน้าที่->เจตนาดี->การกระทาที่ดี ->การกระทาที่ดีมีเจตนาเป็นตัวแปร ความรู้สึก ค้านท์ ไม่สนใจเรื่องความรู้สึก หน้าที่ต้องอยู่ในกรอบศีลธรรม คุณค่าทางศีลธรรม เกิดขึ้นต้องเกิดความขัดแย้ง ความจงใจให้เป็นหลักสากล (เป็นอุดมคติ) ไม่ได้ดูเรื่องธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ จุดแข็งของค้านท์ เคารพสิทธิความเป็นมนุษย์ -ศำสนำ -ปรัชญำ -ปรัชญำศำสนำ -พุทธปรัชญำ
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. เกณฑ์การตัดสินของพุทธจริยศาสตร์ ๑. เจตนำ (กุศล/อกุศล) ๒. วิธีกำร ๓. ผลลัพธ์ กำรทำดีให้ถูกดี ถูกที่ ถูกเวลำ
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. กลุ่มพุทธจริยศาสตร์ ที่มีใจอยู่ในหัว พระอัถดิษฐ์ ฐิตธมฺโม พระจันทร์ศรี อินฺทโชโต พระสมพร สุทธญาโณ นายภาณุวัชร พัทธาดนย์ ขอขอบคุณ อำจำรย์ (ว่ำที่ ดร.) เกรียงไกร พินยำรัก