SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
บทที่ 6
แบบจำลองพัฒนำหลักสูตร
แบบจำลองกำรพัฒนำหลักสูตร คือกำรนำเสนอภำพควำมคิดที่ได้จำกกำรวิเครำะห์เชื่อมโยง
ข้อมูลพื้นฐำนที่ใช้ในกำรพัฒนำหลักสูตร โดยมีควำมมุ่งหมำยที่จะนำเสนอควำมสัมพันธ์ของ
ควำมคิดต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในสำขำวิชำของตน แบบจำลองที่เป็นที่รู้จักกันดีในสำขำวิชำหลักสูตร
ได้แก่ แบบจำลองที่ถือเหตุผลของไทเลอร์ แบบจำลองนี้ บำงครั้งเรียกว่ำ แบบจำลอง
จุดประสงค์/เหตุผล/วิธีกำรและควำมมุ่งหมำย
(objectives/classical/means-end models) ในกระบวนกำร
ของหลักสูตรแบบจำลองกำรพัฒนำหลักสูตรจะเน้นที่องค์ประกอบของหลักสูตร เริ่มจำก
จุดประสงค์ตำมด้วยเนื้อหำ วิธีกำรเรียนกำรสอนหรือกำรจัดกำรเรียนรู้ และกำรประเมินผล
ผลกำรเรียนรู้((Learning Outcome)
1. มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับแบบจำลองกำรพัฒนำ
หลักสูตร
2. สำมำรถนำควำมรู้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูลพื้นฐำนมำ
ประยุกต์ใช้ในกำรพัฒนำหลักสูตรได้ถูกต้อง
แบบจำลองพัฒนำหลักสูตร
“แบบจำลอง (Model) บำงแห่งเรียกว่ำ รูปแบบ โอลิวำ เป็นคนแรกที่ใช้คำนี้
ในสำขำวิชำกำรพัฒนำหลักสูตร” เป็นกำรนำเสนอภำพควำมคิดที่ได้จำกกำรวิเครำะห์
เชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐำนที่ใช้ในกำรพัฒนำหลักสูตร ตั้งแต่เริ่มต้น กระบวนกำร และย้อนกลับ
มำเริ่มต้น เป็นวัฎจักร ซึ่งเป็นรูปแบบที่จำเป็นในกำรให้บริกำรในลักษณะของข้อแนะในกำร
ปฏิบัติ ซึ่งสำมำรถพบได้ในเกือบจะทุกแบบของกิจกรรมทำงกำรศึกษำ ในเชิงวิชำชีพแล้วมี
แบบจำลองจำนวนมำก เช่น
แบบจำลองกำรเรียนกำรสอน (models of instruction)
แบบจำลองกำรบริหำร (models of administration)
แบบจำลองกำรประเมินผล (models of evaluation) และ
แบบจำลองกำรนิเทศ (models of supervision) เป็นต้น
1. แบบจำลองของไทเลอร์
ไทเลอร์ (Tyler) มีแนวคิดเกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงผู้เรียนในกำรกำหนดควำมมุ่งหมำยของ
หลักสูตร และใช้ในสังคมปัจจุบันเป็นพื้นฐำน โดยพิจำรณำจำกกฎเกณฑ์ของสังคมควำมต้องกำรทำงด้ำน
ควำมสงบสุข กฎเกณฑ์และกฎหมำย ระเบียบแบบแผน รูปแบบและควำมประพฤติของแต่ละครอบครัว
กำรแต่งกำย ควำมประพฤติและกำรพูดจำ ไทเลอร์ได้กระตุ้นให้คิดถึงบทบำทของนักพัฒนำหลักสูตรใน
กำรใช้สิ่งดังกล่ำว เพื่อประโยชน์ในกำรพัฒนำหลักสูตรและกำรสอน ในเรื่องกำรประเมินผล ไทเลอร์
ชี้ให้เห็นว่ำจะต้องสอดคล้องกับควำมมุ่งหมำยที่กำหนดไว้ ปรัชญำกำรพัฒนำหลักสูตรของไทเลอร์ คือ
กำรเรียนรู้เป็นกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน และครูจะกำหนดจุดประสงค์อย่ำงไรให้สนองควำม
ต้องกำรของบุคคล ไทเลอร์ได้กล่ำวว่ำ กำรพัฒนำหลักสูตรเป็นควำมจำเป็นที่จะต้องกระทำอย่ำงมีเหตุผล
และอย่ำงมีระบบโดยได้พยำยำมที่จะอธิบำย “…..เหตุผลในกำรมอง กำรวิเครำะห์และกำรตีควำม
หลักสูตร และโปรแกรมกำรเรียนกำรสอนของสถำบันกำรศึกษำ” ต่อจำกนั้นยังได้โต้แย้งอีกด้วยว่ำในกำร
พัฒนำหลักสูตรใด ๆ
ในหนังสือจำนวนหลำยเล่มที่ทำบำ (Taba) ได้เขียนเกี่ยวกับ
หลักสูตรเล่มที่เป็นที่รู้จักมำกที่สุดและมีอิทธิพลต่อกำรพัฒนำหลักสูตรคือ
(Curriculum Development: Theory and
Practice) ในหนังสือ เล่มนี้ทำบำได้กำหนดหัวเรื่องเกี่ยวกับกระบวนกำรของ
กำรพัฒนำหลักสูตรโดยทำบำได้ขยำยแบบจำลองพื้นฐำนแบบไทเลอร์ จนกลำยเป็น
ตัวแทนของสิ่งที่ใช้พัฒนำหลักสูตรในโรงเรียนมำกขึ้น
แบบจำลองวงจร (Cyclical models) อยู่ระหว่ำง
แบบจำลองพลวัต (dynamic models) โดยพื้นฐำนแล้วแบบจำลองนี้
ขยำยมำจำกแบบจำลองเชิงเหตุผล นั่นคือ ใช้วิธีกำรเกี่ยวกับเหตุผลและขั้นตอน
อย่ำงไรก็ตำมก็ยังมีควำมแตกต่ำงคงอยู่และที่สำคัญที่สุดแบบจำลองวงจรมองว่ำ
กระบวนกำรหลักสูตรเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่อง ไม่รู้จักหยุดกับภำวะของกำร
เปลี่ยนแปลงสำรสนเทศใหม่ๆ หรือกำรปฏิบัติใหม่ๆ ที่มีประโยชน์
ควำมกดดันจำกสังคม เช่น ควำมจำเป็นในกำร
ปรับปรุงสุขภำพกำย อำจจะต้องกำรปรับปรุงจุดประสงค์ และเนื้อหำ
วิธีกำรและกำรประเมินผล ในวิธีกำรนี้แบบจำลองวงจรรับผิดชอบ
ต่อควำมจำเป็นและในควำมเป็นจริงแล้ว มีข้อโต้แย้งว่ำควำมจำเป็น
เหล่ำนี้เป็นสิ่งจำเป็นในกำรทำให้กระบวนกำรหลักสูตรทันสมัยอยู่
เสมอ
3.1 แบบจำลองของวีลเลอร์
ในหนังสือของวีลเลอร์ (wheeler) ชื่อ curriculum process วีลเลอร์ได้อ้ำง
เหตุผลสำหรับผู้พัฒนำหลักสูตรที่จะใช้กระบวนกำรวงจร ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีควำมสัมพันธ์กันและขั้น
ต่อกัน วิธีกำรสร้ำงหลักสูตรของวีลเลอร์ เหตุผลก็ยังมีควำมจำเป็นอยู่แต่ละระยะเป็นกำรพัฒนำที่มีเหตุผล
ของระยะที่มีมำก่อนหน้ำนั้น โดยปกติกำรทำงำนในระยะใดระยะหนึ่งจะเป็นไปไม่ได้จนกระทั่งงำนในระยะ
ก่อนหน้ำนั้นได้เสร็จลงแล้ว วีลเลอร์ซึ่งเป็นสมำชิกคนหนึ่งของมหำวิทยำลัยออสเตรเลียตะวันตกได้พัฒนำ
และขยำยควำมคิดของไทเลอร์และทำบำโดยแนะนำระยะที่มีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกันระยะของ
กระบวนกำรพัฒนำหลักสูตร ซึ่งเมื่อพัฒนำอย่ำงมีเหตุผลและเป็นกำรชั่วครำวจะให้เกิดหลักสูตรที่มี
ประสิทธิภำพ วีลเลอร์ได้รวบรวมองค์ประกอบที่จำเป็นที่กล่ำวโดยไทเลอร์และทำบำ และนำเสนอใน
ลักษณะที่แตกต่ำงออกไป ระยะทั้งห้ำที่กล่ำวถึงคือ
1. กำรเลือกควำมมุ่งหมำยของเป้ำประสงค์และ
2. กำรเลือกประสบกำรณ์กำรเรียนรู้เพื่อช่วยให้ประสบควำมสำเร็จตำมควำมมุ่ง
หมำย เป้ำประสงค์และจุดประสงค์
3. กำรเลือกเนื้อหำ กำรเรียนรู้โดยอำจจะนำเสนอประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ที่เป็นที่
แน่ใจ
4. กำรจัดและบูรณำกำรประสบกำรณ์กำรเรียนรู้และเนื้อหำวิชำ โดยอำศัย
กระบวนกำรเรียน กำรสอน
5. กำรประเมินผล ทุกระยะและกำรประเมินผลกำรบรรลุเป้ำประสงค์
กำรสนับสนุนที่สำคัญต่อกำรพัฒนำหลักสูตรของวีลเลอร์ คือ กำรเน้นวงจร
ธรรมชำติของกระบวนกำรหลักสูตร
3.2 แบบจำลองนิวโคลส์
แบบจำลองของนิโคลส์เน้นวิธีกำรเชิงเหตุผลในกำรพัฒนำ
หลักสูตร โดยเฉำพะอย่ำงยิ่งควำมจำเป็นต่อกำรเปิดหลักสูตรใหม่จำกสถำนกำรณ์
ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วยกำรสนับสนุนว่ำควรมีกำรวำงแผนสำหรับกำรเปลี่ยนแปลง
และนำเข้ำสู่เหตุผลและพื้นฐำนที่เหมำะสมตำมกระบวนกำรเชิงเหตุผล
นิโคลส์ ได้แก้ไขงำนของไทเลอร์ ทำบำ และวีลเลอร์ โดยเน้น
วงจรธรรมชำติของกระบวนกำรหลักสูตร และควำมจำเป็นสำหรับขั้นตอนเบื้องต้น
คือ กำรวิเครำะห์ สถำนกำรณ์ (Situational analysis) และยืนยัน
ว่ำ ก่อนที่จะดำเนินกำรเกี่ยวกับองค์ประกอบต่ำงๆ ในกระบวนกำรหลักสูตร
ต้องกำรพิจำรรำอย่ำงจริงจังกับรำยละเอียดของบริบทหรือสถำนกำรณ์หลักสูตร
ดังนั้น กำรวิเครำะห์สถำนกำรคือ ขั้นตอนเบื้องต้นซึ่งทำให้ผู้พัฒนำหลักสูตรมีควำม
เข้ำใจในปัจจัยที่มีผลกระทบต่อหลักสูตรที่กำลังสร้ำงอยู่
วอคเกอร์ไม่เห็นด้วยกับแบบจำลองจุดประสงค์หรือแบบจำลองเชิง
เหตุผลของกระบวนกำรหลักสูตร และเห็นว่ำแบบจำลองจุดประสงค์ไม่เป็นที่นิยม
และไม่ประสบควำมสำเร็จ วอคเกอร์กล่ำวว่ำผู้พัฒนำหลักสูตรไม่ได้ทำตำมวิธีกำร
ที่พรรณนำขั้นตอนเหตุผลขององค์ประกอบของหลักสูตร เมื่อมีกำรสร้ำงหลักสูตร
นักพัฒนำหลักสูตรเหล่ำนั้นดำเนินกำรด้วยขั้นตอน 3 ขั้นตำมธรรมชำติ ดัง
ภำพประกอบ 20
ข้อสรุปดังกล่ำวข้ำงต้นมำจำกกำรวิเครำะห์รำยงำนโครงกำร
หลักสูตรและกำรเข้ำร่วมโครงกำรหลักสูตรของวอคเกอร์ กำรวิเครำะห์นี้นำไปสู่
กำรพรรณนำว่ำอะไรคือสิ่งที่วอคเกอร์เห็นว่ำเป็นแบบจำลอง “ธรรมชำติ” ของ
กระบวนกำรหลักสูตรเป็นแบบจำลองธรรมชำติในควำม รู้สึกที่ว่ำ สร้ำงขึ้นเพื่อเป็น
ตัวแทนของประสบกำรณ์และควำมสัมพันธ์ที่สังเกตได้ในโครงกำร หลักสูตรที่
เป็นอยู่ในเวลำนั้นด้วยควำมศรัทธำในหลักกำรเท่ำที่จะเป็นไปได้
แบบจำลองปฏิสัมพันธ์หรือแบบจำลองที่ไม่หยุดนิ่งที่กำหนด
โดยสกิลเบคซึ่งเป็นอดีตผู้อำนวยกำรศูนย์พัฒนำหลักสูตรของประเทศออสเตรเลีย
เป็นนักกำรศึกษำที่เป็นที่รู้จักกันดีในปี ค.ศ.1976 ได้แนะนำวิธีกำรสร้ำง
หลักสูตรระดับโรงเรียนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในกำรสนับสนุนกำรพัฒนำหลักสูตรโดย
อำศัยโรงเรียนเป็นฐำน สกิลเบคจัดเตรียมแบบจำลองที่ทำให้ครูสำมำรถพัฒนำ
หลักสูตรที่เหมำะสมบนพื้นฐำนของควำมเป็นจริง แบบจำลองดังกล่ำวนี้อำจได้รับ
กำรพิจำรณำว่ำเคลื่อนไหวไปตำมธรรมชำติซึ่งเป็นควำมตั้งใจอันแน่วแน่ของสกิล
เบค
6. แบบจำลองของเซเลอร์และอเล็กซำนเดอร์
ในกำรทำควำมเข้ำใจกับแบบจำลองกำรพัฒนำหลักสูตรของ เซ
เลอร์ และอเล็กซำนเดอร์ก่อนอื่นกำรวิเครำะห์มโนทัศน์ของ “หลักสูตร” และ “กำร
วำงแผนหลักสูตร” เสียก่อนในตอนต้นของบทนี้ได้มีกำรกล่ำวถึงนิยำมและมโน
ทัศน์ของหลักสูตรในหลำยทัศนะ และมีอยู่ทัศนะหนึ่งที่กล่ำวว่ำ หลักสูตร เป็น
“แผนกำรสำหรับกำรจัดเตรียมชุดของโอกำสในกำรเรียนรู้สำหรับบุคลที่จะเข้ำรับ
กำรศึกษำ”
7. แบบจำลองของพริ้นท์
แบบจำลองกำรพัฒนำหลักสูตรของ พริ้นท์ (print) เป็นควำม
พยำยำมที่จะจัดเตรียมวิธีกำรพัฒนำหลักสูตร โดยกำรรับเอำขั้นตอน เหตุผลและ
ควำมเหมำะสมต่อควำมจำเป็นของผู้พัฒนำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งบทบำทในกำร
แสดงออกของครู เช่น แบบจำลองที่ใช้วิธีกำรแนะนำว่ำ กำรพัฒนำหลักสูตรควรทำ
อย่ำงไร และควำมจำเป็นในวิธีกำรแต่ละขั้นเป็นอย่ำงไร
ระยะที่หนึ่ง : กำรจัดกำร จุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับ
กำรพัฒนำหลักสูตรใดๆ ขึ้นอยู่กับวิธีกำรที่เป็นทำงกำรของ
หลักสูตร หรือกล่ำวอีกในหนึ่งว่ำ ในกำรเริ่มต้นพัฒนำหลักสูตรต้อง
มองดูก่อนว่ำใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในกำรพัฒนำ
ระยะที่สอง : กำรพัฒนำ ระยะนี้เกี่ยวข้องกับกลุ่มกำร
ประชุมเพื่อพัฒนำหลักสูตรในขั้นของกำรสร้ำงเอกสำรหลักสูตร วัสดุหรือ
โครงกำร ไม่ว่ำธรรมชำติของงำนพัฒนำหลักสูตรจะอย่ำงไร เป็นกำร
รับผิดชอบของกลุ่มกำรพัฒนำที่จะสร้ำงผลิตผลที่ใช้ได้ในระยะนี้ กลุ่มกำร
พัฒนำไม่จำเป็นต้องเป็นกลุ่มเดียวกันเสมอไป เมื่อไม่ใช่กลุ่มเดียวกัน บำง
ทีในระดับที่เป็นเรื่องของระบบ เป็นควำมสำคัญที่กลุ่มจะต้องทำงำนร่วมกัน
อย่ำงใกล้ชิด
เกิดขึ้นหลังจำกที่ได้มีกำรพัฒนำวัตถุทำงด้ำนกำยภำพ (หลักสูตร โครงกำร
และชุดต่ำงๆ ของวัสดุหลักสูตร) แล้ว แต่ละบุคคลต่ำงก็รับรู้กันว่ำอะไรได้
เกิดขึ้นเมื่อหลักสูตร โครงกำรและวัสดุหลักสูตรเหล่ำนั้นได้รับกำรนำไปใช้
กับนักเรียน สิ่งเหล่ำนี้จะปรำกฏอยู่ในระยะที่สำม กำรนำไปใช้ซึ่ง
ประกอบด้วยกิจกรรมสำมอย่ำงคือ 1. กำรนำหลักสูตรไปใช้ 2. กำร
เฝ้ำระวังติดตำม และรับข้อมูลป้อนกลับของหลักสูตร และ 3. จัดเตรียม
ข้อมูลป้อนกลับให้กลุ่มพัฒนำหลักสูตร
8. แบบจำลองของโอลิวำ
โอลิวำ (oliva) ได้แสดงแบบจำลองกำรพัฒนำหลักสูตรของ
ตน เพื่อให้บรรลุเกณฑ์สำมประกำรคือ ประกำรแรก แบบจำลองจะต้องเรียบง่ำย
มีควำมครอบคลุมกว้ำงขวำงและมีควำมเป็นระเบียบ ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน
คือ หนึ่งประพจน์ของปรัชญำ สองประพจน์ของเป้ำประสงค์ (สำมประพจน์ของ
จุดประสงค์ สี่กำรออกแบบของแผน ห้ำนำไปใช้ปฏิบัติ และสุดท้ำยกำร
ประเมินผล
กำรแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงองค์ประกอบที่จำเป็นของหลักสูตรในกระบวนกำร
ของกำรพัฒนำหลักสูตรส่วนที่จำเป็นของหลักสูตร คือจุดประสงค์/ผลที่ได้รับ
เนื้อหำวิชำ วิธีกำรสอนและกำรประเมินผล
แบบจำลองกำรพัฒนำหลักสูตรประกอบด้วย แบบจำลองเชิงเหตุผล ของ
ไทเลอร์และบำทำ แบบจำลองวงจรของวีลเลอร์และนิโคลส์ และแบบจำลองที่ไม่
หยุดนิ่ง หรือแบบจำลองปฏิสัมพันธ์ ของวอคเกอร์และสกิลเบค และแบบจำลอง
กำรพัฒนำหลักสูตรของ นักกำรศึกษำอื่นๆ เช่น แบบจำลองของเซเลอร์ และอเล็ก
ซำนเดอร์ พริ้นท์ และ โอลิวำ
END

More Related Content

Similar to บทที่ 6

6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444gam030
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6benty2443
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nattawad147
 
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่DrDanai Thienphut
 
Chapter 12.2
Chapter 12.2Chapter 12.2
Chapter 12.2patcha535
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6nay220
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”Namphon Srikham
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีmansupotyrc
 

Similar to บทที่ 6 (20)

6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
 
Chapter 12.2
Chapter 12.2Chapter 12.2
Chapter 12.2
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 

More from Pateemoh254

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9Pateemoh254
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pateemoh254
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Pateemoh254
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4Pateemoh254
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Pateemoh254
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5Pateemoh254
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Pateemoh254
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Pateemoh254
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10Pateemoh254
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญาPateemoh254
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Pateemoh254
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรPateemoh254
 

More from Pateemoh254 (12)

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 

บทที่ 6