SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ประวัติสวนตัว
                                  ่
       ชือนางสาวประภัสสร เจริญภูมิ รหัสนิสต 51010612028 วิชาเอก
         ่                                ิ
นาฏยศิลป์ พื้นเมือง
           ่
       ชือเล่น ปุ๋ ยค่ะ
       เกิดวันที่ 22 มีนาคม 2532
       อายุ 23 ปี คะ    ่
สรุป
เบอร์โทรศัพท์

0850606505
่ ื่   ่
การ์ตูนทีชนชอบทีสุด
ประวัตินาฏศิลป
                                      ์

          นาฏศิลป์ หมายถึงศิลปะการแสดงประกอบดนตรีเช่น ฟ้อน รา
ระบา โขน แต่ละท้องถิ่นจะมีชอเรียกและมีลลาท่าการแสดงที่แตกต่างกันไป
                             ื่        ี
สาเหตุหลักมาจากภูมอากาศ ภูมประเทศของแต่ละท้องถิน ความเชือ
                   ิ            ิ                ่        ่
ศาสนา ภาษา นิสยใจคอของผูคน ชีวตความเป็นอยู่
               ั           ้      ิ
ประเภทของนาฎศิลป
                                          ์

             นาฎศิลป์ คือ การร่ายราที่มนุษย์ได้ปรุงแต่งจากลีลาตามธรรมชาติให้สวยสด
งดงาม โดยมีดนตรีเป็นองค์ประกอบในการร่ายรา
        นาฎศิลป์ของไทย แบ่งออกตามลักษณะของรูปแบบการแสดงเป็นประเภทใหญ่
ๆ 4 ประเภท คือ
     1. โขน เป็นการแสดงนาฎศิลป์ชั้นสูงของไทยที่มีเอกลักษณ์ คือ ผู้แสดงจะต้อง
สวมหัวที่เรียกว่า หัวโขน และใช้ลีลาท่าทางการแสดงด้วยการเต้นไปตามบทพากย์ การ
เจรจาของผู้พากย์และตามทานองเพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์
     2. ละคร เป็นศิลปะการร่ายราที่เล่นเป็นเรื่องราว มีพัฒนาการมาจากการเล่า
นิทาน ละครมีเอกลักษณ์ในการแสดงและการดาเนินเรื่องด้วยกระบวนลีลาท่ารา เข้าบท
ร้อง ทานองเพลงและเพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์มีแบบแผนการเล่นที่เป็นทั้ง
ของชาวบ้านและของหลวงที่เรียกว่า ละครโนรา
3. ระ และ ระบา เป็นศิลปะแห่งการร่ายราประกอบเพลงดนตรีและบทขับร้อง
โดยไม่เล่นเป็นเรื่องราว ในที่นี้หมายถึงราและระบาที่มีลักษณะเป็นการแสดงแบบ
มาตรฐาน
    4. การแสดงพืนเมือง เป็นศิลปะแห่งการร่ายราที่มีทั้งรา ระบา หรือการละเล่นที่
                   ้
เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนตามวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาค
่
                            การแต่งองค์ทรงเครือง
                                    การแต่งกายนาฏศิลปไทย
                                                     ์


      1. เครื่องแต่งตัวพระ คือ เครื่องแต่งกายของผู้แสดงหรือผู้ราที่แสดงเป็นผู้ชาย
ประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกาย
2. เครืองแต่งตัวนาง คือ เครืองแต่งกายของผูแสดงหรือผูราทีแสดงเป็ นหญิงประกอบด้วย
            ่                   ่             ้         ้ ่
                 ่
ส่วนประกอบของเครืองแต่งกาย
3. เครื่องแต่งตัวยักษ์ (ทศกัณฐ์ ) คือ เครื่องแต่งกายของผู้แสดงเป็นตัวยักษ์
ประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกาย
นาฏศิลปกับบทบาททางสังคม
                            ์

        นาฏศิลป์เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่สร้างสรรค์สุนทรียะด้านจิตใจและอารมณ์ให้กับ
คนในสังคมและมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ที่สามารถสะท้อนภาพวิถีชีวิตและ
กิจกรรมของคนในสังคม ทั้งที่เป็นกิจกรรมส่วนตัวและกิจกรรมส่วนรวม ดังพิจารณาได้
จากบทบาทของนาฏศิลป์ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ทางด้านต่าง ๆ เช่น บทบาท
ในพิธีกรรมรัฐพิธีและราชพิธี

More Related Content

Similar to ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม

ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลปpeter dontoom
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์leemeanxun
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003Thidarat Termphon
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 

Similar to ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม (20)

ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลป
 
เอกสารแจกนักเรียน ม.5
เอกสารแจกนักเรียน ม.5เอกสารแจกนักเรียน ม.5
เอกสารแจกนักเรียน ม.5
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
ทช31003
ทช31003ทช31003
ทช31003
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 

ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม

  • 1. ประวัติสวนตัว ่ ชือนางสาวประภัสสร เจริญภูมิ รหัสนิสต 51010612028 วิชาเอก ่ ิ นาฏยศิลป์ พื้นเมือง ่ ชือเล่น ปุ๋ ยค่ะ เกิดวันที่ 22 มีนาคม 2532 อายุ 23 ปี คะ ่
  • 4. ่ ื่ ่ การ์ตูนทีชนชอบทีสุด
  • 5. ประวัตินาฏศิลป ์ นาฏศิลป์ หมายถึงศิลปะการแสดงประกอบดนตรีเช่น ฟ้อน รา ระบา โขน แต่ละท้องถิ่นจะมีชอเรียกและมีลลาท่าการแสดงที่แตกต่างกันไป ื่ ี สาเหตุหลักมาจากภูมอากาศ ภูมประเทศของแต่ละท้องถิน ความเชือ ิ ิ ่ ่ ศาสนา ภาษา นิสยใจคอของผูคน ชีวตความเป็นอยู่ ั ้ ิ
  • 6. ประเภทของนาฎศิลป ์ นาฎศิลป์ คือ การร่ายราที่มนุษย์ได้ปรุงแต่งจากลีลาตามธรรมชาติให้สวยสด งดงาม โดยมีดนตรีเป็นองค์ประกอบในการร่ายรา นาฎศิลป์ของไทย แบ่งออกตามลักษณะของรูปแบบการแสดงเป็นประเภทใหญ่ ๆ 4 ประเภท คือ 1. โขน เป็นการแสดงนาฎศิลป์ชั้นสูงของไทยที่มีเอกลักษณ์ คือ ผู้แสดงจะต้อง สวมหัวที่เรียกว่า หัวโขน และใช้ลีลาท่าทางการแสดงด้วยการเต้นไปตามบทพากย์ การ เจรจาของผู้พากย์และตามทานองเพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ 2. ละคร เป็นศิลปะการร่ายราที่เล่นเป็นเรื่องราว มีพัฒนาการมาจากการเล่า นิทาน ละครมีเอกลักษณ์ในการแสดงและการดาเนินเรื่องด้วยกระบวนลีลาท่ารา เข้าบท ร้อง ทานองเพลงและเพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์มีแบบแผนการเล่นที่เป็นทั้ง ของชาวบ้านและของหลวงที่เรียกว่า ละครโนรา
  • 7. 3. ระ และ ระบา เป็นศิลปะแห่งการร่ายราประกอบเพลงดนตรีและบทขับร้อง โดยไม่เล่นเป็นเรื่องราว ในที่นี้หมายถึงราและระบาที่มีลักษณะเป็นการแสดงแบบ มาตรฐาน 4. การแสดงพืนเมือง เป็นศิลปะแห่งการร่ายราที่มีทั้งรา ระบา หรือการละเล่นที่ ้ เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนตามวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาค
  • 8. การแต่งองค์ทรงเครือง การแต่งกายนาฏศิลปไทย ์ 1. เครื่องแต่งตัวพระ คือ เครื่องแต่งกายของผู้แสดงหรือผู้ราที่แสดงเป็นผู้ชาย ประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกาย
  • 9. 2. เครืองแต่งตัวนาง คือ เครืองแต่งกายของผูแสดงหรือผูราทีแสดงเป็ นหญิงประกอบด้วย ่ ่ ้ ้ ่ ่ ส่วนประกอบของเครืองแต่งกาย
  • 10. 3. เครื่องแต่งตัวยักษ์ (ทศกัณฐ์ ) คือ เครื่องแต่งกายของผู้แสดงเป็นตัวยักษ์ ประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกาย
  • 11. นาฏศิลปกับบทบาททางสังคม ์ นาฏศิลป์เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่สร้างสรรค์สุนทรียะด้านจิตใจและอารมณ์ให้กับ คนในสังคมและมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ที่สามารถสะท้อนภาพวิถีชีวิตและ กิจกรรมของคนในสังคม ทั้งที่เป็นกิจกรรมส่วนตัวและกิจกรรมส่วนรวม ดังพิจารณาได้ จากบทบาทของนาฏศิลป์ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ทางด้านต่าง ๆ เช่น บทบาท ในพิธีกรรมรัฐพิธีและราชพิธี