SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
โครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อโครงงาน สถิติ CAI การเรียนยุคใหม่ใส่ใจเทคโนโลยี
คณะผู้จัดทา
ชื่อ นาย เอกบดี มอญใต้ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 1
ชื่อ นาย สรวิศ ทิพสิงห์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 2
ชื่อ นาย ชิติพัทธ์ กุลรัตน์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 3
ชื่อ นาย ธนภัทร ไตรรัตนศักดิ์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 4
ชื่อ นาย ณัฐพงศ์ รัศมีภัค ชั้น ม.5/7 เลขที่ 41
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
ครู กิตติภา ดาวัลย์
ครู ฐารวีณ์ กิตติโชติธนารัตน์
นายศราวุฒิ ญาณะคา
นางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ง32252 ภาคเรียนที่ 2
ประจาปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพศิรินทร์
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
ก
โครงงาน เรื่อง สถิติ CAI
ประเภทโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษา
ผู้จัดทาโครงงาน นาย เอกบดี มอญใต้
นาย สรวิศ ทิพสิงห์
นาย ชิติพัทธ์ กุลรัตน์
นาย ธนภัทร ไตรรัตนศักดิ์
นาย ณัฐพงศ์ รัศมีภัค
โรงเรียน เทพศิรินทร์
ครูที่ปรึกษา นางสาว กิตติภา ดาวัลย์
นางสาว ฐารวีณ์ กิตติโชติธนารัตน์
นาย ศราวุฒิ ญาณะคา
นางสาว วนัชนันท์ เอกธนากุล
ปี การศึกษา ๒๕๖๐
บทคัดย่อ
การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สน
ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ส ถิ ติ แ ล ะ ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม
Powerpoint คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ไ
ด้วางแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงาน ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลา
แ ล ะ ทุ ก ส ถ า น ที่ เพื่ อ ใ ห้ เป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ บุ ค ค ล ที่ ส น ใ จ
โดยมีวัตถุประสงค์หลักๆคือ
1.เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Powerpoint
2.เพื่อสร้างสื่อสถิติ CAI
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย:
1. โปแกรม Powerpoint
2. ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้
สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์และคาปรึกษาแนะนาด้วยดีจาก
นางสาวกิตติภา ดาวัลย์ครูที่ปรึกษาโครงงาน
ที่ให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ตลอดจนแก้ไ
ขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนทาให้รายงานโครงงานฉบับนี้ สมบูรณ์
ผู้รายงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษาพิเศษ ได้แก่ครู ฐารวีณ์
กิตติโชติธนารัตน์ที่ให้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบ
ให้คาปรึกษาแนะนาด้านเนื้อหา นางสาวกิตติภา ดาวัลย์ให้คาแนะนา
ปรึกษา ตรวจสอบด้านโปรแกรมการจัดทาสื่อการสอน นางสาวกิตติภา
ดาวัลย์ให้คาปรึกษา แนะนา
ในการจัดทาแบบสารวจการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
ขอขอบคุณเพื่อนร่วมห้องเรียน
ตลอดจนเพื่อนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7
ที่คอยช่วยเหลือและให้กาลังใจตลอดมาและส่งเสริมให้มีวันแห่งความสาเ
ร็จนี้ ซึ่งคุณค่าและความสาเร็จของโครงงานนี้ขอบมอบให้บิดา
มารดาและผู้มีพระคุณ ตลอดจนครู อาจารย์
ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก่ผู้จัดทาโครงงาน
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 ความเป็ นมาและความสาคัญของเรื่อง
1
1.1 ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน
1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1
1.3 ขอบเขตการศึกษา 1
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1
1.5 วิธีดาเนินงาน 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดสร้างโครงงาน
3
2.1 ความรู้เกี่ยวกับ Powerpoint
3
2.2 ความรู้เกี่ยวกับสถิติ 4
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 10
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา
10
3.2 ขั้นตอนการดาเนินโครงงาน
10
บทที่ 4 ผลการดาเนินการโครงงาน 11
บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
12
5.1 สรุปผลการดาเนินโครงงาน
12
5.2 ปัญหาและอุปสรรค 12
5.3 ข้อเสนอแนะ 12
บรรณานุกรม 13
ประวัติผู้จัดทา 14
ค
1
บทที่ 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของเรื่อง
1.1 ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน
ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารได้เจริญก้าวหน้าอย่าง
รวดเร็ว
ในการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์อุปกรณ์สื่อสารและคอมพิวเตอร์ไ
ด้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินกิจกรรมต่างๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาค้นคว้าและการทาธุรกิจ
ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทาให้องค์กรต่างๆ
นาเทคโนโลยีเหล่านี้เข้ามาช่วยในการดาเนินงานขององค์กรให้มีประสิท
ธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์
การทาธุรกิจและให้บริการบนอินเตอร์เน็ต
ตลอดจนการใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการทางาน
ไม่เพียงแต่ในองค์กรต่างๆ เท่านั้นที่นาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน
ผู้ใช้ตามบ้านโดยทั่วไป
ก็ได้จัดหาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ส่วนตัวกันมากขึ้น
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพสูง
รวมทั้งสามารถใช้งานได้ง่ายกว่าในอดีตมาก
จนมีการประมาณการกันว่า
ในอนาคตคอมพิวเตอร์จะเป็นอุปกรณ์พื้นฐานในทุกๆครัวเรือนเหมือนกั
บเครื่องรับโทรทัศน์ด้วยสถานการณ์ดังกล่าว
การเรียนรู้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับเบื้องต้น
จึงเป็นสิ่งที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นในการทางาน, การศึกษาหรือเพื่อความบันเทิง
เราจึงนาความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติมาปรับใช้รวมกันและนาไปต่อ
ยอดได้ในอนาคต
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1) เพื่อนาความรู้เรื่องสถิติไปต่อยอด
2)
เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะกับการศึกษายุคใหม่เครื่องมือที่ใ
ช้ในการวิจัยประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง สถิติ กับ Powerpoint
2 . ระย ะเวลาที่ ใช้ ใ น ก ารด าเนิ น งาน 1 ม ก ราค ม 2 5 6 0 -
22 มกราคม 2560
2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทาให้ทราบถึงวิธีการใช้งานและความสาคัญข อง สถิติ กับ
Powerpoint
2. เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ
1.5 วิธีดาเนินงาน
1. ศึกษาข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ศึกษาข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับสถิติ
3. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องวางแผนการดาเนินการ
4. จัดทาสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับสถิติ
5. จัดทาแบบประเมินผลการใช้งาน
6. สรุปผลการศึกษา
7. นาเสนอโครงงานรูปเล่ม
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดสร้างโครงงาน
การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องนี้ได้นาความรู้หลักๆมาจาก 2
ส่วนดังต่อไปนี้
2.1 ความรู้เกี่ยวกับ Powerpoint
2.2 ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
2.1 ความรู้เกี่ยวกับ Powerpoint
โปรแกรม Microsoft PowerPoint 2007
เป็นโปรแกรมหนึ่งในตระกูล Microsoft Office
เหมาะสาหรับการจัดสร้างงานนาเสนอข้อมูล (Presentation)
สาหรับนาไปประยุกต์ใช้ในงานได้หลายประเภท เช่น
การนาเสนอข้อมูลสินค้าและบริการ การจัดทา Slide Show
การออกแบบแผ่นพับ เป็นต้น หลักการทางานของ PowerPoint
สาหรับ หลักการทางานของ Presentation ที่สร้างจาก PowerPoint
จะสร้างออกเป็น slide ย่อยๆ แต่ละ slide สามารถใส่ข้อมูล รูปภาพ
ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง เพื่อสร้างความน่าสนใจเพิ่มขึ้น
นอกจากนี้เรายังสามารถกาหนดให้ Presentation ของเรา
นาเสนอออกมาแบบในรูปแบบอัตโนมัติได้โดยไม่จาเป็นต้องมีการกดเลื
อกให้แสดงทีละ slideก่อนเริ่มต้นสร้าง Presentation
ควรกาหนดรูปแบบของ Presentation ของเราก่อนว่า
ต้องการให้แสดงออกในรูปแบบใด เช่น ต้องการให้ส่วนด้านบน
แสดงเป็นชื่อหัวข้อ ด้านล่างเป็นชื่อบริษัท
และฉากหลังให้แสดงเป็นสีน้าเงิน เป็นต้น แต่ถ้ายังคิดไม่ออก
สามารถเลือกรูปแบบจาก ตัวอย่าง Themes (เวอร์ชั่นเก่าเรียกว่า
Template) ที่โปรแกรมมีไว้ให้ได้ เช่นเดียวกัน
สรุปความสามารถพื้นฐานของ PowerPoint 2007
สาหรับนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของ ข้อความ รูปภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว สามารถตกแต่งตัวอักษรให้สวยๆ ด้วย WordArt
ที่พิเศษกว่า PowerPoint 2003 การทางานจะแบ่งออกเป็นหน้าๆ
แต่ละหน้าเรียกว่า Slide (คลิกแท็ปเมนู Home เลือก New Slide)
การสร้างจะมี Slide Layout ช่วยในการออกแบบและใส่ข้อมูล?
4
(คลิกแท็ปเมนู Home เลือก Layout) รูปแบบหรือ Themes จะมี
Design สาหรับรูป ช่วยให้สร้าง Presentation ได้สะดวกมากขึ้น
(คลิกแท็ปเมนู Design) รองรับไฟล์ข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น
ตารางจาก Microsoft Excel เป็นต้น รองรับภาพเคลื่อนไหวเช่น?
Flash, Gif Animation, Video เป็นต้น
สามารถสั่งรันแบบอัตโนมัติได้ สามารถสั่งพิมพ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น
พิมพ์แบบ Slide, Handout เป็นต้น ไฟล์ที่จะสร้างจาก Powerpoint
2007 มีนามสกุล .PPTX ถ้าเป็นเวอร์ชั่นเก่า จะมีนามสกุล .PPT
ถ้าไฟล์ที่สร้างเป็นไฟล์ .PPSX จะสามารถรับ Presentation
แบบอัตโนมัติได้
2.2 ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ค ว า ม ห ม าย ข อ งส ถิติ ส ถิติ ห ม า ย ถึง ข้ อ ค ว า ม จ ริง
ที่เก็บรวบรวมมาได้ ซึ่งข้อความจริงนี้ อาจเป็ นตัวเลขหรือข้อความก็ได้
สถิติศาสตร์หรือ วิชาสถิติ หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาข้อมูล
ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (collection of data)
2. การนาเสนอข้อมูล (presentation of data)
3. การวิเคราะห์ข้อมูล (analysis of data)
4. การตีความหมายข้อมูล (interpretation of data)
2.2.1 ข้อมูลทางสถิติ
ข้อมูลทางสถิติ หมายถึง ข้อความจริง หรือสิ่งที่บ่งบอกถึงสภาพ
สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้
2.2.2 ประเภทของข้อมูล
แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ข้ อ มู ล ป ฐ ม ภู มิ ( primary data) คื อ
ข้อ มู ล ที่ เก็ บ ร ว บ ร ว ม จ าก แ ห ล่งที่ ม า ข อ งข้ อ มู ล โด ย ต ร ง
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวม
หรือคัดลอกจากเอกสาร
ลักษณะของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
1. ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ริ ม า ณ ( quantitative data) คื อ
ข้ อ มู ล ที่ มี ลัก ษ ณ ะ เป็ น ตัว เล ข ใ ช้ แ ท น ข น า ด ป ริ ม า ณ
สามารถนามาเปรียบเทียบได้โดยตรง
5
2. ข้ อ มู ล เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ ( qualitative data) คื อ
ข้ อ มู ล ที่ แ ส ด ง ลั ก ษ ณ ะ ห รื อ คุ ณ ส ม บั ติ
ไม่สามารถวัดเป็นค่าตัวเลขได้โดยตรง แต่วัดออกมาเป็น เชิงคุณภาพได้
เช่น อายุ ส่วนสูง รายได้ ราคา เพศ ศาสนา
2.2.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ก า ร ท า ท ะ เ บี ย น ป ร ะ วั ติ ( registration)
เป็นการเก็บข้อมูลจากหลักฐานมีความเชื่อถือสูงโดยต้องมีการปรับปรุงแ
ก้ไขให้ข้อมูลในทะเบียนประวัติเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
2. การสารวจ (survey) เป็ นการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
ก า ร ส อ บ ถ า ม ท า ง
ไปรษณีย์หรือทางโทรศัพท์อาหรือการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง
3. การสังเกต (observation)
4. การทดลอง (experiment)
2.2.4 การนาเสนอข้อมูล
1. การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน
2. การนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน
2.2.5 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล
1. ค่ า ที่ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ( possible value) คื อ
ค่าของตัวแปรที่อาจเป็นไปได้ทั้งหมด
2. ค่ า จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ( observed value) คื อ
ค่าของตัวแปรที่เกิดขึ้นจริง
3. ค ว า ม ถี่ ( frequency) คื อ
จานวนที่แสดงว่าค่าที่เป็ นไปได้แต่ละค่าเกิดขึ้นกี่ครั้ง ผ่านการใช้
ตารางแจกแจงความถี่
4. อันตรภาคชั้น (class interval)
5. ขอบล่าง (lower boundary)
6. ขอบบน (upper boundary)
7. ความกว้างของอันตรภาคชั้น (class width)
8. จุดกึ่งกลางชั้น (midpoint)
2.2.6 การวัดค่ากลางของข้อมูล
การหาค่ากลางของข้อมูลที่เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดเพื่อความ
ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ส รุ ป เรื่ อ ง ร า ว เ กี่ ย ว กั บ ข้ อ มู ล นั้ น ๆ
จ ะ ช่ ว ย ท า ใ ห้ เกิ ด ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ถู ก ต้ อ ง ดี ขึ้ น
6
การหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสีย
แ ล ะ มี ค ว า ม เห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร น า ไ ป ใ ช้ ไ ม่ เห มื อ น กั น
ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลนั้น ๆ
ค่ากลางของข้อมูลที่สาคัญ มี 3 ชนิด คือ
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean)
2. มัธยฐาน (Median)
3. ฐานนิยม (Mode)
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean)
ใช้สัญลักษณ์ คือ x
- การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ ให้
1 2 3, , ,..., Nx x x x เป็นข้อมูล N ค่า ดังสูตรต่อไปนี้
1
N
i
i
x
x
N



หรือ
x
x
N


- ค่าเฉ ลี่ย เลข ค ณิ ต ข องข้อมูลที่แจกแจงค วามถี่ ถ้า
1 2 3, , ,..., kf f f f เป็นความถี่ของการสังเกต 1 2 3, , ,..., kx x x x
1 1 2 2 3 3
1 2 3
...
...
k k
k
f x f x f x f x
x
f f f f
   

   
หรือ 1
1
k
i i
i
k
i
i
f x
fx
x
f
f


 
 

- ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม (Combined Mean)
ถ้า 1 2 3, , ,..., kx x x x เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , … ,
k ตามลาดับถ้า 1 2 3, , ,..., kN N N N
เป็นจานวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1 , 2 ,… , k ตามลาดับ
1 1 2 2 3 3
1 2 3
...
...
k k
k
NxN x N x N x N x
x
N N N N N
   
 
   


2) มัธยฐาน
กาหนดข้อมูลชุดหนึ่งมาให้ มัธยฐานของข้อมูลชุดนั้น
คือข้อมูลที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลทั้งหมด โดยต้องเรียงข้อมูลก่อน
อาจจะเรียงจากมากไปหาน้อยหรือ เรียงจากน้อยไปหามากก็ได้
ในกรณี ที่ข้อมูลมีการแจกแจงค วามถี่แบ่งเป็ น อันต รภาค ชั้ น
ดังสูตรต่อไปนี้
7
2
L
me
N
f
Mdn L I
f
 
 
   
 
 

เมื่อ L คือ ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
I คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้น
Lf คือ
ผลบวกของความถี่ของอันตรภาคชั้นที่มีค่าน้อยกว่าอันตรภาคชั้นที่มีมัธ
ยฐานอยู่
2
N
คือ ตาแหน่งมัธยฐานของข้อมูล
mef คือ ความถี่ของอัตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
3) ฐานนิยมของข้อมูล คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด
2.2.7 การวัดตาแหน่งที่ของข้อมูล
ก า ร วั ด ต า แ ห น่ ง
เป็นการแปลงข้อมูลแต่ละชุดให้อยู่ในลักษณะเดียวกัน เพื่อประโยชน์ใน
ก า ร เป รี ย บ เที ย บ ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง ข้ อ มู ล ค น ล ะ ชุ ด กั น
การแปลงข้อมูลมีลักษณะเป็ นการแบ่งชุดข้อมูลออกเป็ นส่วนย่อย ๆ
มีทั้งแบ่งออกเป็น 4, 10 และ 100 ส่วน
การวัดตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน คือ ควอไทล์
การวัดตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 10 ส่วน คือ เดไซล์
การวัดตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 100 ส่วน คือ เปอร์เซ็นไทล์
ข้ อ มู ล แ ต่ ล ะ ชุ ด มี ลั ก ษ ณ ะ แ ต ก ต่ า ง กั น
ดังนั้นการจะนาคะแนนที่อยู่ต่างชุดกันมาเปรียบเทียบกันจึงจาเป็นต้องน
าข้อมู ลแต่ละชุ ด นั้ น ม าแ ป ลงให้มี ลักษ ณ ะเดี ย วกัน เสี ย ก่อ น
โดยอาจใช้วิธีการทางสถิติชนิดใดชนิดหนึ่งคือ ควอไทล์ เดไซ ล์
หรือเปอร์เซ็นไทล์
ก า ร ห า ต า แ ห น่ ง ที่ แ ล ะ ค่ า ข อ ง ค ว อ ร์ ไ ท ล์ เด ไ ช ล์
และเปอร์เซ็นไทล์ของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ได้มีลาดับขั้นตอนในกา
รหา ดังนี้
ขั้ น ที่ 1 เ รี ย ง ข้ อ มู ล จ า ก น้ อ ย ไ ป ห า ร ม า ก
กาห น ด ให้ข้อ มู ลที่ มี ค่าน้ อย ที่ สุ ด เป็ น ข้อ มู ล ต าแ ห น่ งที่ 1
เรื่ อ ย ไ ป จ น ถึ ง ค่ า สู ง สุ ด เป็ น ข้ อ มู ล ต า แ ห น่ ง ที่ N เมื่ อ N
เป็นจานวนข้อมูลทั้งหมด
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์
โดยใช้สูตร ดังนี้
Med
8
ขั้นที่ 3 ห าค่าข องค วอร์ไท ล์ เด ไช ล์ และเปอร์เซ็ น ไท ล์
ที่ต้องการโดยการนับ ถ้าลงตัวพ อดีข้อมูลตัวนั้นก็จะเป็ นคาต อบ
ถ้าไม่ลงตัวให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์
การหาตาแหน่งที่และค่าของควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์
ของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ของแต่ละค่า (เป็นอันตรภาคชั้น)
มีขั้นตอนในการหาดังนี้
ขั้นที่ 1 สร้างตารางความถี่สะสม
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์
โดยใช้สูตร ดังนี้
ขั้นที่ 3 หาอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์
และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่
ขั้นที่ 4 คานวณหาค่าควอร์ไทล์ เดไชล์
และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการ จากสูตร ดังต่อไปนี้
ตาแหน่งของ )1(
4
 N
r
Qr
ตาแหน่งของ )1(
10
 N
r
Dr
ตาแหน่งของ )1(
100
 N
r
Pr
เมื่อ r แทน ตาแหน่งของควอร์ไทล์ เดไชล์
และเปอร์เซ็นไทล์
N แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด
ตาแหน่งของ )(
4
N
r
Qr 
ตาแหน่งของ )(
10
N
r
Dr 
ตาแหน่งของ )(
100
N
r
Pr 
)
4
( F
rN
f
I
LQr 
)
10
( F
rN
f
I
LDr 
9
เมื่อ rQ คือ ควอร์ไทล์ที่ r
rD คือ เดไซล์ที่ r
rP คือ เปอร์เซ็นไทล์ที่ r
L คือ ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์
และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่
I คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์
และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่
f คือ ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์
และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่
F คื อ
ผลรวมความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นที่ต่ากว่าอันตรภาคชั้นที่ควอร์
ไทล์ เดไชล์
และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่ 1 ชั้น
N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด
ข้อสังเกตและหลักเกณฑ์ที่สาคัญในการใช้ค่ากลางชนิดต่าง ๆ
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็ นค่ากลางที่ได้จากการนาทุก ๆ
ค่าของข้อมูลมาเฉลี่ยมัธยฐานเป็ นค่ากลางที่ใช้ ตาแหน่งที่ของข้อมูล
และฐานนิยมเป็นค่ากลางที่ได้จากข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
2)
ถ้าในจานวนข้อมูลทั้งหมดมีข้อมูลบางค่าที่มีค่าสูงหรือต่ากว่าข้อมูลอื่น ๆ
ม า ก จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ล ข ค ณิ ต
ก ล่ า ว คื อ อ า จ จ ะ ท า ใ ห้ ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ล ข ค ณิ ต
ที่ ไ ด้ มี ค่ า สู ง ห รื อ ต่ า ก ว่ า ข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู่ ส่ ว น ใ ห ญ่
แต่จะไม่มีผลกระทบต่อมัธยฐานหรือฐานนิยม
3)
มัธยฐานและฐานนิยมใช้เมื่อต้องการทราบค่ากลางของข้อมูลทั้งหมดโดย
ประมาณและรวดเร็วทั้งนี้เนื่องจากการหามัธยฐานและฐานนิยมบางวิธีไ
ม่จาเป็นต้องมีการคานวณซึ่งอาจ ใช้เวลามาก
10
4) ถ้าการแจกแจงความถี่ของข้อมูลประกอบด้วยอันตรภาคชั้นที่มี
ช่วงเปิดอาจเป็ นชั้นต่าสุดหรือชั้นสูงสุดชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้งสองชั้น
การห าค่ากล างโด ย ใช้ ค่าเฉ ลี่ย เลข ค ณิ ต ไม่สาม าร ถท าไ ด้
แต่สามารถหามัธยฐานหรือฐานนิยมได้
5) การแจกแจงความถี่ของข้อมูลที่มีความกว้างของแต่ละอันตรภา
คชั้นไม่เท่ากันอาจจะมีผลทาให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือฐานนิยมคลาดเคลื่
อนไปจากที่ควรจะเป็นได้บ้างแต่จะไม่มีผลกระทบต่อมัธยฐาน
6) ใน ก รณี ที่ ข้ อ มู ล เป็ น ป ร ะ เภ ท ข้ อ มู ล คุ ณ ภ า พ
จ ะ ส า ม า ร ถ ห า ค่ า ก ล า ง ไ ด้ เฉ พ า ะ ฐ า น นิ ย ม เ ท่ า นั้ น
แต่ไม่สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือมัธยฐานได้
บทที่ 3
วิธีดาเนินการ
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา
3 . 1 . 1 เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3.1.2 Microsoft Powerpoint สาหรับการสร้างสื่อ CAI
3.1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
เช่น www.facebook.com
11
3.1.4 Microsoft Word ใช้ในการพิมพ์ข้อมูลต่างๆ
3.2 ขั้นตอนการดาเนินโครงงาน
3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ
คือเรื่อง สถิติ และ
Powerpoint ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดและต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติ
มเพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป
3.2.3 ศึกษาเรื่อง สถิติ และ Powerpoint จากเว็บไซต์ต่างๆ
ที่นาเสนอเนื้อหาเรื่อง สถิติ และ Powerpoint
3.2.4 จัดทาโครงร่างโครงงานเรื่อง สถิติ และ
Powerpoint เพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา
3.2.5
นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆโดยแจ้งให้ครูที่ปรึกษาโครงง
านเข้าไปตรวจความก้าวหน้าของโครงงาน
ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่างๆ
เพื่อให้จัดทาเนื้อหาและการนาเสนอที่น่าสนใจต่อไป
ทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุง แก้ไขให้เป็นที่สนใจยิ่งขึ้น
3.2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน
บทที่ 4
ผลการดาเนินการโครงงาน
ก า ร จัด ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เต อ ร์ เรื่ อ ง ส ถิติ แ ล ะ
Powerpoint มี วัต ถุ ป ระ ส ง ค์ เพื่ อ พั ฒ น า สื่ อ เพื่ อ ก า ร ศึก ษ า
เพื่อให้ผู้จัดทาโครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ขอ
งตนเองมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู
12
เพื่ อนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้
ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ง า น เ รื่ อ ง ส ถิ ติ แ ล ะ
Powerpoint ผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เส
นอในบทที่ 3 แล้วทางานออกมาให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ได้วาง
เอาไว้และสามารถนาไปใช้ได้จริงและยังได้ประโยชน์ต่อบุคคลอื่นและตั
ว ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น ก ลุ่ ม
ซึ่งทาให้เกิดการเรียนรู้ยุคใหม่ที่เกิดขึ้นต่อคนส่วนมากอีกด้วย
บทที่ 5
สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
การจัดทาโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ นี้สามารถสรุปผลกา
รดาเนินโครงการ และข้อเสนอแนะ ดังนี้
5.1 สรุปผลการดาเนินโครงงาน
13
ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ง า น เ รื่ อ ง ส ถิ ติ CAI
ผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 จ
า ก นั้ น ไ ด้ น า เ ส น อ เ ผ ย แ พ ร่ ผ ล ง า น
ที่เป็ นประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่เป็นสาคัญและนาไปใช้ได้จริงก่อให้เกิด
ผลที่ประสบความสาเร็จในอนาคตและเป็ นแนวทางในการทางานที่อาจเ
กิดขึ้นในภาคหน้าอีกด้วย
5.2 ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากข้อมูลที่ต้องการศึกษานั้นมีปัญหาด้านการนัดพบผู้เชี่ยวช
า ญ
และเวลาว่างของสมาชิกแต่ละคนไม่ตรงกันจึงมีปัญหาด้านการนัดพบแต่
ก็สามารถดาเนินการผ่านไปได้ด้วยคาแนะนาของครูที่ปรึกษา
5.3 ข้อเสนอแนะ
การทางานนั้นควรมีการทางานอย่างเป็ นระบบควรมีการวางแผนใ
นการทางานและการจัดตารางเวลาของสมาชิกในกลุ่มเพื่อป้องกันปัญหา
เวลานัดทางาน
บรรณานุกรม
สืบค้นเมื่อ วันที่ 16 มกราคม 2560
แหล่งข้อมูลจาก http://xn--computer-
7nzui8cve1fwgqm.blogspot.com
สืบค้นเมื่อ วันที่ 9 ธันวาคม 2560
14
แหล่งข้อมูลจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/pamaisur
i/2011/03/20/entry-1
สืบค้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม 2560
แหล่งข้อมูลจาก https://sites.google.com/site/porkaermp
owerpoint/1
ประวัติผู้จัดทา
15
นาย เอกบดี มอญใต้ สถานที่เกิด จังหวัดสมุทรสาคร ปัจจุบัน
กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพศิรินทร์
นาย สรวิศ ทิพสิงห์ สถานที่เกิด จังหวัดสมุทรสาคร
ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพศิรินทร์
16
นาย ชิติพัทธ์ กุลรัตน์ สถานที่เกิด จังหวัด กรุงเทพมหานคร
ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพศิรินทร์
นาย ธนภัทร ไตรรัตนศักดิ์ สถานที่เกิด จังหวัด กรุงเทพมหานคร
ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพศิรินทร์
17
นาย ณัฐพงศ์ รัศมีภัค สถานที่เกิด จังหวัด ชลบุรี ปัจจุบัน
กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพศิรินทร์

More Related Content

What's hot

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)tangmo77
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
งานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการงานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการPin Ponpimol
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 

What's hot (19)

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
sta
stasta
sta
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
Data
DataData
Data
 
งานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการงานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการ
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
Curriculum2551&2560
Curriculum2551&2560Curriculum2551&2560
Curriculum2551&2560
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
Mai
MaiMai
Mai
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Jakkrapong Bantawang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1dechathon
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มMoomy Momay
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554RMUTT
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อโครงงาน สถิติ CAI การเรียนยุคใหม่ใส่ใจเทคโนโลยี คณะผู้จัดทา ชื่อ นาย เอกบดี มอญใต้ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 1 ชื่อ นาย สรวิศ ทิพสิงห์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 2 ชื่อ นาย ชิติพัทธ์ กุลรัตน์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 3 ชื่อ นาย ธนภัทร ไตรรัตนศักดิ์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 4 ชื่อ นาย ณัฐพงศ์ รัศมีภัค ชั้น ม.5/7 เลขที่ 41 ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู กิตติภา ดาวัลย์ ครู ฐารวีณ์ กิตติโชติธนารัตน์ นายศราวุฒิ ญาณะคา นางสาววนัชนันท์ เอกธนากุล โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 ง32252 ภาคเรียนที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพศิรินทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
  • 2. ก โครงงาน เรื่อง สถิติ CAI ประเภทโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษา ผู้จัดทาโครงงาน นาย เอกบดี มอญใต้ นาย สรวิศ ทิพสิงห์ นาย ชิติพัทธ์ กุลรัตน์ นาย ธนภัทร ไตรรัตนศักดิ์ นาย ณัฐพงศ์ รัศมีภัค โรงเรียน เทพศิรินทร์ ครูที่ปรึกษา นางสาว กิตติภา ดาวัลย์ นางสาว ฐารวีณ์ กิตติโชติธนารัตน์ นาย ศราวุฒิ ญาณะคา นางสาว วนัชนันท์ เอกธนากุล ปี การศึกษา ๒๕๖๐ บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สน ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ส ถิ ติ แ ล ะ ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม Powerpoint คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ไ ด้วางแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงาน ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลา แ ล ะ ทุ ก ส ถ า น ที่ เพื่ อ ใ ห้ เป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ บุ ค ค ล ที่ ส น ใ จ โดยมีวัตถุประสงค์หลักๆคือ 1.เพื่อศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Powerpoint 2.เพื่อสร้างสื่อสถิติ CAI เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย: 1. โปแกรม Powerpoint 2. ความรู้เกี่ยวกับสถิติ ผู้จัดทา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้ สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์และคาปรึกษาแนะนาด้วยดีจาก นางสาวกิตติภา ดาวัลย์ครูที่ปรึกษาโครงงาน ที่ให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ตลอดจนแก้ไ ขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนทาให้รายงานโครงงานฉบับนี้ สมบูรณ์ ผู้รายงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษาพิเศษ ได้แก่ครู ฐารวีณ์ กิตติโชติธนารัตน์ที่ให้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบ ให้คาปรึกษาแนะนาด้านเนื้อหา นางสาวกิตติภา ดาวัลย์ให้คาแนะนา ปรึกษา ตรวจสอบด้านโปรแกรมการจัดทาสื่อการสอน นางสาวกิตติภา ดาวัลย์ให้คาปรึกษา แนะนา ในการจัดทาแบบสารวจการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ขอขอบคุณเพื่อนร่วมห้องเรียน ตลอดจนเพื่อนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 ที่คอยช่วยเหลือและให้กาลังใจตลอดมาและส่งเสริมให้มีวันแห่งความสาเ ร็จนี้ ซึ่งคุณค่าและความสาเร็จของโครงงานนี้ขอบมอบให้บิดา มารดาและผู้มีพระคุณ ตลอดจนครู อาจารย์ ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก่ผู้จัดทาโครงงาน
  • 4. ค สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 ความเป็ นมาและความสาคัญของเรื่อง 1 1.1 ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 1.5 วิธีดาเนินงาน 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดสร้างโครงงาน 3 2.1 ความรู้เกี่ยวกับ Powerpoint 3 2.2 ความรู้เกี่ยวกับสถิติ 4 บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 10 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 10 3.2 ขั้นตอนการดาเนินโครงงาน 10 บทที่ 4 ผลการดาเนินการโครงงาน 11 บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ 12 5.1 สรุปผลการดาเนินโครงงาน 12 5.2 ปัญหาและอุปสรรค 12 5.3 ข้อเสนอแนะ 12 บรรณานุกรม 13 ประวัติผู้จัดทา 14
  • 5.
  • 6. 1 บทที่ 1 ความเป็ นมาและความสาคัญของเรื่อง 1.1 ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารได้เจริญก้าวหน้าอย่าง รวดเร็ว ในการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์อุปกรณ์สื่อสารและคอมพิวเตอร์ไ ด้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาค้นคว้าและการทาธุรกิจ ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทาให้องค์กรต่างๆ นาเทคโนโลยีเหล่านี้เข้ามาช่วยในการดาเนินงานขององค์กรให้มีประสิท ธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกิจและให้บริการบนอินเตอร์เน็ต ตลอดจนการใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการทางาน ไม่เพียงแต่ในองค์กรต่างๆ เท่านั้นที่นาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ผู้ใช้ตามบ้านโดยทั่วไป ก็ได้จัดหาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ส่วนตัวกันมากขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพสูง รวมทั้งสามารถใช้งานได้ง่ายกว่าในอดีตมาก จนมีการประมาณการกันว่า ในอนาคตคอมพิวเตอร์จะเป็นอุปกรณ์พื้นฐานในทุกๆครัวเรือนเหมือนกั บเครื่องรับโทรทัศน์ด้วยสถานการณ์ดังกล่าว การเรียนรู้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับเบื้องต้น จึงเป็นสิ่งที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในการทางาน, การศึกษาหรือเพื่อความบันเทิง เราจึงนาความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติมาปรับใช้รวมกันและนาไปต่อ ยอดได้ในอนาคต 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1) เพื่อนาความรู้เรื่องสถิติไปต่อยอด 2) เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะกับการศึกษายุคใหม่เครื่องมือที่ใ ช้ในการวิจัยประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง สถิติ กับ Powerpoint 2 . ระย ะเวลาที่ ใช้ ใ น ก ารด าเนิ น งาน 1 ม ก ราค ม 2 5 6 0 - 22 มกราคม 2560
  • 7. 2 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทาให้ทราบถึงวิธีการใช้งานและความสาคัญข อง สถิติ กับ Powerpoint 2. เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ 1.5 วิธีดาเนินงาน 1. ศึกษาข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์ 2. ศึกษาข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับสถิติ 3. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องวางแผนการดาเนินการ 4. จัดทาสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับสถิติ 5. จัดทาแบบประเมินผลการใช้งาน 6. สรุปผลการศึกษา 7. นาเสนอโครงงานรูปเล่ม
  • 8. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดสร้างโครงงาน การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องนี้ได้นาความรู้หลักๆมาจาก 2 ส่วนดังต่อไปนี้ 2.1 ความรู้เกี่ยวกับ Powerpoint 2.2 ความรู้เกี่ยวกับสถิติ 2.1 ความรู้เกี่ยวกับ Powerpoint โปรแกรม Microsoft PowerPoint 2007 เป็นโปรแกรมหนึ่งในตระกูล Microsoft Office เหมาะสาหรับการจัดสร้างงานนาเสนอข้อมูล (Presentation) สาหรับนาไปประยุกต์ใช้ในงานได้หลายประเภท เช่น การนาเสนอข้อมูลสินค้าและบริการ การจัดทา Slide Show การออกแบบแผ่นพับ เป็นต้น หลักการทางานของ PowerPoint สาหรับ หลักการทางานของ Presentation ที่สร้างจาก PowerPoint จะสร้างออกเป็น slide ย่อยๆ แต่ละ slide สามารถใส่ข้อมูล รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง เพื่อสร้างความน่าสนใจเพิ่มขึ้น นอกจากนี้เรายังสามารถกาหนดให้ Presentation ของเรา นาเสนอออกมาแบบในรูปแบบอัตโนมัติได้โดยไม่จาเป็นต้องมีการกดเลื อกให้แสดงทีละ slideก่อนเริ่มต้นสร้าง Presentation ควรกาหนดรูปแบบของ Presentation ของเราก่อนว่า ต้องการให้แสดงออกในรูปแบบใด เช่น ต้องการให้ส่วนด้านบน แสดงเป็นชื่อหัวข้อ ด้านล่างเป็นชื่อบริษัท และฉากหลังให้แสดงเป็นสีน้าเงิน เป็นต้น แต่ถ้ายังคิดไม่ออก สามารถเลือกรูปแบบจาก ตัวอย่าง Themes (เวอร์ชั่นเก่าเรียกว่า Template) ที่โปรแกรมมีไว้ให้ได้ เช่นเดียวกัน สรุปความสามารถพื้นฐานของ PowerPoint 2007 สาหรับนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของ ข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว สามารถตกแต่งตัวอักษรให้สวยๆ ด้วย WordArt ที่พิเศษกว่า PowerPoint 2003 การทางานจะแบ่งออกเป็นหน้าๆ แต่ละหน้าเรียกว่า Slide (คลิกแท็ปเมนู Home เลือก New Slide) การสร้างจะมี Slide Layout ช่วยในการออกแบบและใส่ข้อมูล?
  • 9. 4 (คลิกแท็ปเมนู Home เลือก Layout) รูปแบบหรือ Themes จะมี Design สาหรับรูป ช่วยให้สร้าง Presentation ได้สะดวกมากขึ้น (คลิกแท็ปเมนู Design) รองรับไฟล์ข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ตารางจาก Microsoft Excel เป็นต้น รองรับภาพเคลื่อนไหวเช่น? Flash, Gif Animation, Video เป็นต้น สามารถสั่งรันแบบอัตโนมัติได้ สามารถสั่งพิมพ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น พิมพ์แบบ Slide, Handout เป็นต้น ไฟล์ที่จะสร้างจาก Powerpoint 2007 มีนามสกุล .PPTX ถ้าเป็นเวอร์ชั่นเก่า จะมีนามสกุล .PPT ถ้าไฟล์ที่สร้างเป็นไฟล์ .PPSX จะสามารถรับ Presentation แบบอัตโนมัติได้ 2.2 ความรู้เกี่ยวกับสถิติ ค ว า ม ห ม าย ข อ งส ถิติ ส ถิติ ห ม า ย ถึง ข้ อ ค ว า ม จ ริง ที่เก็บรวบรวมมาได้ ซึ่งข้อความจริงนี้ อาจเป็ นตัวเลขหรือข้อความก็ได้ สถิติศาสตร์หรือ วิชาสถิติ หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (collection of data) 2. การนาเสนอข้อมูล (presentation of data) 3. การวิเคราะห์ข้อมูล (analysis of data) 4. การตีความหมายข้อมูล (interpretation of data) 2.2.1 ข้อมูลทางสถิติ ข้อมูลทางสถิติ หมายถึง ข้อความจริง หรือสิ่งที่บ่งบอกถึงสภาพ สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้ 2.2.2 ประเภทของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ข้ อ มู ล ป ฐ ม ภู มิ ( primary data) คื อ ข้อ มู ล ที่ เก็ บ ร ว บ ร ว ม จ าก แ ห ล่งที่ ม า ข อ งข้ อ มู ล โด ย ต ร ง 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวม หรือคัดลอกจากเอกสาร ลักษณะของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ 1. ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ริ ม า ณ ( quantitative data) คื อ ข้ อ มู ล ที่ มี ลัก ษ ณ ะ เป็ น ตัว เล ข ใ ช้ แ ท น ข น า ด ป ริ ม า ณ สามารถนามาเปรียบเทียบได้โดยตรง
  • 10. 5 2. ข้ อ มู ล เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ ( qualitative data) คื อ ข้ อ มู ล ที่ แ ส ด ง ลั ก ษ ณ ะ ห รื อ คุ ณ ส ม บั ติ ไม่สามารถวัดเป็นค่าตัวเลขได้โดยตรง แต่วัดออกมาเป็น เชิงคุณภาพได้ เช่น อายุ ส่วนสูง รายได้ ราคา เพศ ศาสนา 2.2.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ก า ร ท า ท ะ เ บี ย น ป ร ะ วั ติ ( registration) เป็นการเก็บข้อมูลจากหลักฐานมีความเชื่อถือสูงโดยต้องมีการปรับปรุงแ ก้ไขให้ข้อมูลในทะเบียนประวัติเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ 2. การสารวจ (survey) เป็ นการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ก า ร ส อ บ ถ า ม ท า ง ไปรษณีย์หรือทางโทรศัพท์อาหรือการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง 3. การสังเกต (observation) 4. การทดลอง (experiment) 2.2.4 การนาเสนอข้อมูล 1. การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน 2. การนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน 2.2.5 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 1. ค่ า ที่ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ( possible value) คื อ ค่าของตัวแปรที่อาจเป็นไปได้ทั้งหมด 2. ค่ า จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ( observed value) คื อ ค่าของตัวแปรที่เกิดขึ้นจริง 3. ค ว า ม ถี่ ( frequency) คื อ จานวนที่แสดงว่าค่าที่เป็ นไปได้แต่ละค่าเกิดขึ้นกี่ครั้ง ผ่านการใช้ ตารางแจกแจงความถี่ 4. อันตรภาคชั้น (class interval) 5. ขอบล่าง (lower boundary) 6. ขอบบน (upper boundary) 7. ความกว้างของอันตรภาคชั้น (class width) 8. จุดกึ่งกลางชั้น (midpoint) 2.2.6 การวัดค่ากลางของข้อมูล การหาค่ากลางของข้อมูลที่เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดเพื่อความ ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ส รุ ป เรื่ อ ง ร า ว เ กี่ ย ว กั บ ข้ อ มู ล นั้ น ๆ จ ะ ช่ ว ย ท า ใ ห้ เกิ ด ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ถู ก ต้ อ ง ดี ขึ้ น
  • 11. 6 การหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสีย แ ล ะ มี ค ว า ม เห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร น า ไ ป ใ ช้ ไ ม่ เห มื อ น กั น ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลนั้น ๆ ค่ากลางของข้อมูลที่สาคัญ มี 3 ชนิด คือ 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean) 2. มัธยฐาน (Median) 3. ฐานนิยม (Mode) 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean) ใช้สัญลักษณ์ คือ x - การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ ให้ 1 2 3, , ,..., Nx x x x เป็นข้อมูล N ค่า ดังสูตรต่อไปนี้ 1 N i i x x N    หรือ x x N   - ค่าเฉ ลี่ย เลข ค ณิ ต ข องข้อมูลที่แจกแจงค วามถี่ ถ้า 1 2 3, , ,..., kf f f f เป็นความถี่ของการสังเกต 1 2 3, , ,..., kx x x x 1 1 2 2 3 3 1 2 3 ... ... k k k f x f x f x f x x f f f f          หรือ 1 1 k i i i k i i f x fx x f f        - ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม (Combined Mean) ถ้า 1 2 3, , ,..., kx x x x เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , … , k ตามลาดับถ้า 1 2 3, , ,..., kN N N N เป็นจานวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1 , 2 ,… , k ตามลาดับ 1 1 2 2 3 3 1 2 3 ... ... k k k NxN x N x N x N x x N N N N N             2) มัธยฐาน กาหนดข้อมูลชุดหนึ่งมาให้ มัธยฐานของข้อมูลชุดนั้น คือข้อมูลที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลทั้งหมด โดยต้องเรียงข้อมูลก่อน อาจจะเรียงจากมากไปหาน้อยหรือ เรียงจากน้อยไปหามากก็ได้ ในกรณี ที่ข้อมูลมีการแจกแจงค วามถี่แบ่งเป็ น อันต รภาค ชั้ น ดังสูตรต่อไปนี้
  • 12. 7 2 L me N f Mdn L I f              เมื่อ L คือ ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู่ I คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้น Lf คือ ผลบวกของความถี่ของอันตรภาคชั้นที่มีค่าน้อยกว่าอันตรภาคชั้นที่มีมัธ ยฐานอยู่ 2 N คือ ตาแหน่งมัธยฐานของข้อมูล mef คือ ความถี่ของอัตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู่ 3) ฐานนิยมของข้อมูล คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด 2.2.7 การวัดตาแหน่งที่ของข้อมูล ก า ร วั ด ต า แ ห น่ ง เป็นการแปลงข้อมูลแต่ละชุดให้อยู่ในลักษณะเดียวกัน เพื่อประโยชน์ใน ก า ร เป รี ย บ เที ย บ ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง ข้ อ มู ล ค น ล ะ ชุ ด กั น การแปลงข้อมูลมีลักษณะเป็ นการแบ่งชุดข้อมูลออกเป็ นส่วนย่อย ๆ มีทั้งแบ่งออกเป็น 4, 10 และ 100 ส่วน การวัดตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน คือ ควอไทล์ การวัดตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 10 ส่วน คือ เดไซล์ การวัดตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 100 ส่วน คือ เปอร์เซ็นไทล์ ข้ อ มู ล แ ต่ ล ะ ชุ ด มี ลั ก ษ ณ ะ แ ต ก ต่ า ง กั น ดังนั้นการจะนาคะแนนที่อยู่ต่างชุดกันมาเปรียบเทียบกันจึงจาเป็นต้องน าข้อมู ลแต่ละชุ ด นั้ น ม าแ ป ลงให้มี ลักษ ณ ะเดี ย วกัน เสี ย ก่อ น โดยอาจใช้วิธีการทางสถิติชนิดใดชนิดหนึ่งคือ ควอไทล์ เดไซ ล์ หรือเปอร์เซ็นไทล์ ก า ร ห า ต า แ ห น่ ง ที่ แ ล ะ ค่ า ข อ ง ค ว อ ร์ ไ ท ล์ เด ไ ช ล์ และเปอร์เซ็นไทล์ของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ได้มีลาดับขั้นตอนในกา รหา ดังนี้ ขั้ น ที่ 1 เ รี ย ง ข้ อ มู ล จ า ก น้ อ ย ไ ป ห า ร ม า ก กาห น ด ให้ข้อ มู ลที่ มี ค่าน้ อย ที่ สุ ด เป็ น ข้อ มู ล ต าแ ห น่ งที่ 1 เรื่ อ ย ไ ป จ น ถึ ง ค่ า สู ง สุ ด เป็ น ข้ อ มู ล ต า แ ห น่ ง ที่ N เมื่ อ N เป็นจานวนข้อมูลทั้งหมด ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ โดยใช้สูตร ดังนี้ Med
  • 13. 8 ขั้นที่ 3 ห าค่าข องค วอร์ไท ล์ เด ไช ล์ และเปอร์เซ็ น ไท ล์ ที่ต้องการโดยการนับ ถ้าลงตัวพ อดีข้อมูลตัวนั้นก็จะเป็ นคาต อบ ถ้าไม่ลงตัวให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์ การหาตาแหน่งที่และค่าของควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ ของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ของแต่ละค่า (เป็นอันตรภาคชั้น) มีขั้นตอนในการหาดังนี้ ขั้นที่ 1 สร้างตารางความถี่สะสม ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ โดยใช้สูตร ดังนี้ ขั้นที่ 3 หาอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่ ขั้นที่ 4 คานวณหาค่าควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการ จากสูตร ดังต่อไปนี้ ตาแหน่งของ )1( 4  N r Qr ตาแหน่งของ )1( 10  N r Dr ตาแหน่งของ )1( 100  N r Pr เมื่อ r แทน ตาแหน่งของควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ N แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด ตาแหน่งของ )( 4 N r Qr  ตาแหน่งของ )( 10 N r Dr  ตาแหน่งของ )( 100 N r Pr  ) 4 ( F rN f I LQr  ) 10 ( F rN f I LDr 
  • 14. 9 เมื่อ rQ คือ ควอร์ไทล์ที่ r rD คือ เดไซล์ที่ r rP คือ เปอร์เซ็นไทล์ที่ r L คือ ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่ I คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่ f คือ ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ควอร์ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่ F คื อ ผลรวมความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นที่ต่ากว่าอันตรภาคชั้นที่ควอร์ ไทล์ เดไชล์ และเปอร์เซ็นไทล์ที่ต้องการอยู่ 1 ชั้น N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด ข้อสังเกตและหลักเกณฑ์ที่สาคัญในการใช้ค่ากลางชนิดต่าง ๆ 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็ นค่ากลางที่ได้จากการนาทุก ๆ ค่าของข้อมูลมาเฉลี่ยมัธยฐานเป็ นค่ากลางที่ใช้ ตาแหน่งที่ของข้อมูล และฐานนิยมเป็นค่ากลางที่ได้จากข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด 2) ถ้าในจานวนข้อมูลทั้งหมดมีข้อมูลบางค่าที่มีค่าสูงหรือต่ากว่าข้อมูลอื่น ๆ ม า ก จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ล ข ค ณิ ต ก ล่ า ว คื อ อ า จ จ ะ ท า ใ ห้ ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ล ข ค ณิ ต ที่ ไ ด้ มี ค่ า สู ง ห รื อ ต่ า ก ว่ า ข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู่ ส่ ว น ใ ห ญ่ แต่จะไม่มีผลกระทบต่อมัธยฐานหรือฐานนิยม 3) มัธยฐานและฐานนิยมใช้เมื่อต้องการทราบค่ากลางของข้อมูลทั้งหมดโดย ประมาณและรวดเร็วทั้งนี้เนื่องจากการหามัธยฐานและฐานนิยมบางวิธีไ ม่จาเป็นต้องมีการคานวณซึ่งอาจ ใช้เวลามาก
  • 15. 10 4) ถ้าการแจกแจงความถี่ของข้อมูลประกอบด้วยอันตรภาคชั้นที่มี ช่วงเปิดอาจเป็ นชั้นต่าสุดหรือชั้นสูงสุดชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้งสองชั้น การห าค่ากล างโด ย ใช้ ค่าเฉ ลี่ย เลข ค ณิ ต ไม่สาม าร ถท าไ ด้ แต่สามารถหามัธยฐานหรือฐานนิยมได้ 5) การแจกแจงความถี่ของข้อมูลที่มีความกว้างของแต่ละอันตรภา คชั้นไม่เท่ากันอาจจะมีผลทาให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือฐานนิยมคลาดเคลื่ อนไปจากที่ควรจะเป็นได้บ้างแต่จะไม่มีผลกระทบต่อมัธยฐาน 6) ใน ก รณี ที่ ข้ อ มู ล เป็ น ป ร ะ เภ ท ข้ อ มู ล คุ ณ ภ า พ จ ะ ส า ม า ร ถ ห า ค่ า ก ล า ง ไ ด้ เฉ พ า ะ ฐ า น นิ ย ม เ ท่ า นั้ น แต่ไม่สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือมัธยฐานได้ บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 3 . 1 . 1 เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3.1.2 Microsoft Powerpoint สาหรับการสร้างสื่อ CAI 3.1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.facebook.com
  • 16. 11 3.1.4 Microsoft Word ใช้ในการพิมพ์ข้อมูลต่างๆ 3.2 ขั้นตอนการดาเนินโครงงาน 3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่อง สถิติ และ Powerpoint ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดและต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติ มเพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป 3.2.3 ศึกษาเรื่อง สถิติ และ Powerpoint จากเว็บไซต์ต่างๆ ที่นาเสนอเนื้อหาเรื่อง สถิติ และ Powerpoint 3.2.4 จัดทาโครงร่างโครงงานเรื่อง สถิติ และ Powerpoint เพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา 3.2.5 นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆโดยแจ้งให้ครูที่ปรึกษาโครงง านเข้าไปตรวจความก้าวหน้าของโครงงาน ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อให้จัดทาเนื้อหาและการนาเสนอที่น่าสนใจต่อไป ทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุง แก้ไขให้เป็นที่สนใจยิ่งขึ้น 3.2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน บทที่ 4 ผลการดาเนินการโครงงาน ก า ร จัด ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เต อ ร์ เรื่ อ ง ส ถิติ แ ล ะ Powerpoint มี วัต ถุ ป ระ ส ง ค์ เพื่ อ พั ฒ น า สื่ อ เพื่ อ ก า ร ศึก ษ า เพื่อให้ผู้จัดทาโครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ขอ งตนเองมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู
  • 17. 12 เพื่ อนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้ ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ง า น เ รื่ อ ง ส ถิ ติ แ ล ะ Powerpoint ผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เส นอในบทที่ 3 แล้วทางานออกมาให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ได้วาง เอาไว้และสามารถนาไปใช้ได้จริงและยังได้ประโยชน์ต่อบุคคลอื่นและตั ว ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น ก ลุ่ ม ซึ่งทาให้เกิดการเรียนรู้ยุคใหม่ที่เกิดขึ้นต่อคนส่วนมากอีกด้วย บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ นี้สามารถสรุปผลกา รดาเนินโครงการ และข้อเสนอแนะ ดังนี้ 5.1 สรุปผลการดาเนินโครงงาน
  • 18. 13 ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ง า น เ รื่ อ ง ส ถิ ติ CAI ผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 จ า ก นั้ น ไ ด้ น า เ ส น อ เ ผ ย แ พ ร่ ผ ล ง า น ที่เป็ นประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่เป็นสาคัญและนาไปใช้ได้จริงก่อให้เกิด ผลที่ประสบความสาเร็จในอนาคตและเป็ นแนวทางในการทางานที่อาจเ กิดขึ้นในภาคหน้าอีกด้วย 5.2 ปัญหาและอุปสรรค เนื่องจากข้อมูลที่ต้องการศึกษานั้นมีปัญหาด้านการนัดพบผู้เชี่ยวช า ญ และเวลาว่างของสมาชิกแต่ละคนไม่ตรงกันจึงมีปัญหาด้านการนัดพบแต่ ก็สามารถดาเนินการผ่านไปได้ด้วยคาแนะนาของครูที่ปรึกษา 5.3 ข้อเสนอแนะ การทางานนั้นควรมีการทางานอย่างเป็ นระบบควรมีการวางแผนใ นการทางานและการจัดตารางเวลาของสมาชิกในกลุ่มเพื่อป้องกันปัญหา เวลานัดทางาน บรรณานุกรม สืบค้นเมื่อ วันที่ 16 มกราคม 2560 แหล่งข้อมูลจาก http://xn--computer- 7nzui8cve1fwgqm.blogspot.com สืบค้นเมื่อ วันที่ 9 ธันวาคม 2560
  • 19. 14 แหล่งข้อมูลจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/pamaisur i/2011/03/20/entry-1 สืบค้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม 2560 แหล่งข้อมูลจาก https://sites.google.com/site/porkaermp owerpoint/1 ประวัติผู้จัดทา
  • 20. 15 นาย เอกบดี มอญใต้ สถานที่เกิด จังหวัดสมุทรสาคร ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพศิรินทร์ นาย สรวิศ ทิพสิงห์ สถานที่เกิด จังหวัดสมุทรสาคร ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพศิรินทร์
  • 21. 16 นาย ชิติพัทธ์ กุลรัตน์ สถานที่เกิด จังหวัด กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพศิรินทร์ นาย ธนภัทร ไตรรัตนศักดิ์ สถานที่เกิด จังหวัด กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพศิรินทร์
  • 22. 17 นาย ณัฐพงศ์ รัศมีภัค สถานที่เกิด จังหวัด ชลบุรี ปัจจุบัน กาลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพศิรินทร์