SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 1 
เรื่อง เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์ 
รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) หมายถึง ภาษาที่ใช้ในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ โดยถูกนำมา เขียนเป็นชุดคำสั่ง (Program) ให้เครื่องทำงานตามคำสั่งของภาษานั้น ในปัจจุบันภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับเขียนโปรแกรม มีมากมายหลายภาษา ซึ่งการจัดแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วนมากในปัจจุบันนิยมแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์เป็นยุค ดังนี้ 
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) 
2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 
3. ภาษาชั้นสูง (High - level Language) 
4. ภาษาชั้นสูงมาก (Very High - level Language) 
5. ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) 
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) 
ในยุคแรกๆ การใช้คอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียนคำสั่งด้วยภาษาของเครื่อง คอมพิวเตอร์ซึ่งเรียกว่า ภาษาเครื่อง คำสั่งของภาษาเครื่องนั้นจะประกอบด้วยกลุ่มของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง เป็นภาษา เดียวเท่านั้นที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดยตรง ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคำสั่งของ ภาษาเครื่องจะประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทำงานอะไร เช่น สั่งให้ทำการบวกเลข สั่งให้ทำการเคลื่อนย้ายข้อมูล เป็นต้น และอีกส่วนเพื่อ บอกแหล่งข้อมูลที่จะนำมาทางานตามที่ระบุในตอนแรก 
• โครงสร้างของคำสั่งในภาษาเครื่อง คำสั่งในภาษาเครื่องจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ 
o โอเปอเรชันโคด (Operation Code) เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เช่น การบวก (Addition) การลบ (Subtraction) เป็นต้น 
o โอเปอแรนด์ (Operands)เป็นตัวที่ระบุตำแหน่งที่เก็บของข้อมูลที่จะเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อนำไป ปฏิบัติการตาม คำสั่งในโอเปอเรชันโคด
2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 
เป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ (mnemonic codes) แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและ การจดจำมากกว่าภาษาเครื่อง ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ 
A ย่อมาจาก ADD หมายถึงการบวก C ย่อมาจาก COMPLARE หมายถึงการเปรียบเทียบ 
S ย่อมาจาก SUBTRACT หมายถึงการลบ MP ย่อมาจาก MULTIPLY หมายถึงการคูณ 
ลักษณะของภาษานี้จะเป็นการใช้ตัวอักษรมาเรียงกันเป็นคำ แทนเลขฐานสอง โดยคำที่กำหนดขึ้นจะมีความหมายที่ สามารถเข้าใจและจำได้ง่าย เช่น จะใช้คำสั่ง ADD แทนการบวก คำสั่ง SUB แทนการลบ เป็นต้น ขณะเดียวกัน ส่วนที่ใช้บอก แหล่งข้อมูลก็จะแทนด้วยชุดของตัวอักษรที่เรียกว่าตัวแปร เช่น คำสั่ง ADD A,B จะหมายถึงให้นำข้อมูลที่ตำแหน่ง A และ ตำแหน่ง B มาบวกรวมกันแล้วนำผลลัพธ์ไปเก็บที่ตำแหน่ง A เป็นต้น อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าภาษานี้จะง่ายกว่าการเขียนด้วย ภาษาเครื่อง แต่ก็ยังถือว่าเป็นภาษาชั้นต่ำที่ยังยากต่อการเขียนและการเรียนรู้มากสำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์ 
3. ภาษาชั้นสูง (High - level Language) 
สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าเป็นภาษารุ่นที่ 3 (3rd Generation Languages หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สำคัญคือผู้เขียน โปรแกรมไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ได้แก่ 
• ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN- FORmula TRANslator) เป็นภาษาที่เก่าแก่ของโลกเหมาะกับงานด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ใช้ในงานค้นคว้าวิจัยและวิเคราะห์ปัญหาต่างทางวิทยาศาสตร์ 
• ภาษาโคบอล (COBOL-Common Business Oriented Language) เป็นภาษาที่เหมาะสำหรับงานด้านธุรกิจ ที่มี ข้อมูลจำนวนมากๆ หรืองานด้านการจัดการฐานข้อมูล แต่ไม่เหมาะสำหรับงานด้านคำนวณ 
• ภาษาเบสิก (BASIC- Beginner's All-purpose Symbolic Instruction) เป็นภาที่พัฒนาขึ้นมา โดยที่ผู้ใช้ไม่ จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และผู้เริ่ม ศึกษาภาษาคอมพิวเตอร์ 
• ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่ใช้สอนหลักการเขียนโปรแกรมได้ดีที่สุด เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมต่างๆ เพื่อการเรียนการสอน 
• ภาษาซี (C) เป็นภาษาที่ได้รับความนิยมในการเขียนโปรแกรมการทำงานขนาดใหญ่ และใช้ในการเขียน โปรแกรมควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ด้วย
อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูกเขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทำงานได้ ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่ง วิธีการแปลงจากภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จะทำได้โดยใช้โปรแกรมที่เรียกว่า คอมไพเลอร์ (Compiler) หรือ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยภาษาชั้นสูงแต่ภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะเป็นของตัวเอง 
o คอมไพเลอร์ (Compiler) จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการ ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้นก็จะแจ้งให้ทราบ 
o อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็น ภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไป ถ้าในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดที่บรรทัดใดก็จะฟ้องให้ทำการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันที 
4. ภาษาระดับสูงมาก (Very high - Level Language) 
สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs: Fourth Generation Languages) ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับ ที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วยในเรื่องของการสร้าง แบบฟอร์มบนหน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงานซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่น ที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres , SQL, QBE เป็นต้น 
5. ภาษาธรรมชาติ 
เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ใน รูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่ คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อง ภาษาธรรมชาตินี้ถูกสร้าง ขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) ในการที่พยายามทำให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งที่สามารถคิดและตัดสินใจได้ เช่นเดียวกับมนุษย์ แต่ระบบผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถนำมาแทนที่การทำงานของผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ได้ เนื่องจากทั้งระบบ ผู้เชี่ยวชาญและมนุษย์จะต้องทำงานร่วมกัน จึงทำให้ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นเพียงคลื่นแห่งอนาคตที่จะใช้เป็นเครื่องมือช่วย ตัดสินใจการทำงานของมนุษย์เท่านั้น

More Related Content

What's hot

สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาคnakorndon
 
งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1Naynoyjolii
 
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์Chitanan Seehanon
 
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภนางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภpiraya suklap
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาคttangmooo
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาคMart Supanatt
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบpp pp
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคSmart H Der
 
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2Thanakrit Singhsa
 
ภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนfoampalm
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคThitima Kpe
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยาJiJee Pj
 

What's hot (19)

Work
WorkWork
Work
 
work
workwork
work
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1
 
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
 
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภนางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
 
ทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาคทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาค
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
1236363
12363631236363
1236363
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาค
 
1
11
1
 
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
 
ภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรน
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยา
 

Viewers also liked

Viewers also liked (16)

content 2
content 2content 2
content 2
 
Plural of nouns
Plural of nounsPlural of nouns
Plural of nouns
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
content 3
content 3content 3
content 3
 
lesson 2
lesson 2lesson 2
lesson 2
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
Multi touch table by vinay jain
Multi touch table by vinay jainMulti touch table by vinay jain
Multi touch table by vinay jain
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
Google Docs
Google DocsGoogle Docs
Google Docs
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
Web2 0
Web2 0Web2 0
Web2 0
 
Expression Language 3.0
Expression Language 3.0Expression Language 3.0
Expression Language 3.0
 
Plural of nouns
Plural of nounsPlural of nouns
Plural of nouns
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 

Similar to content1

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)พัน พัน
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)พัน พัน
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์Nattawat Cjd
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)Non Thanawat
 
การสอบกลางภาค
การสอบกลางภาคการสอบกลางภาค
การสอบกลางภาคmuksasiwan
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Inam Chatsanova
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Primprapa Palmy Eiei
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคDai Punyawat
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาThanyalak Aranwatthananon
 

Similar to content1 (19)

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
 
สอบ.Pdf
สอบ.Pdfสอบ.Pdf
สอบ.Pdf
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
การสอบกลางภาค
การสอบกลางภาคการสอบกลางภาค
การสอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
Test.m52 no.22
Test.m52 no.22Test.m52 no.22
Test.m52 no.22
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งาน Pbl 1
งาน Pbl 1งาน Pbl 1
งาน Pbl 1
 

content1

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์ รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) หมายถึง ภาษาที่ใช้ในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ โดยถูกนำมา เขียนเป็นชุดคำสั่ง (Program) ให้เครื่องทำงานตามคำสั่งของภาษานั้น ในปัจจุบันภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับเขียนโปรแกรม มีมากมายหลายภาษา ซึ่งการจัดแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วนมากในปัจจุบันนิยมแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์เป็นยุค ดังนี้ 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) 2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 3. ภาษาชั้นสูง (High - level Language) 4. ภาษาชั้นสูงมาก (Very High - level Language) 5. ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) ในยุคแรกๆ การใช้คอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียนคำสั่งด้วยภาษาของเครื่อง คอมพิวเตอร์ซึ่งเรียกว่า ภาษาเครื่อง คำสั่งของภาษาเครื่องนั้นจะประกอบด้วยกลุ่มของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง เป็นภาษา เดียวเท่านั้นที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดยตรง ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคำสั่งของ ภาษาเครื่องจะประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทำงานอะไร เช่น สั่งให้ทำการบวกเลข สั่งให้ทำการเคลื่อนย้ายข้อมูล เป็นต้น และอีกส่วนเพื่อ บอกแหล่งข้อมูลที่จะนำมาทางานตามที่ระบุในตอนแรก • โครงสร้างของคำสั่งในภาษาเครื่อง คำสั่งในภาษาเครื่องจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ o โอเปอเรชันโคด (Operation Code) เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เช่น การบวก (Addition) การลบ (Subtraction) เป็นต้น o โอเปอแรนด์ (Operands)เป็นตัวที่ระบุตำแหน่งที่เก็บของข้อมูลที่จะเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อนำไป ปฏิบัติการตาม คำสั่งในโอเปอเรชันโคด
  • 2. 2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ (mnemonic codes) แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและ การจดจำมากกว่าภาษาเครื่อง ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ A ย่อมาจาก ADD หมายถึงการบวก C ย่อมาจาก COMPLARE หมายถึงการเปรียบเทียบ S ย่อมาจาก SUBTRACT หมายถึงการลบ MP ย่อมาจาก MULTIPLY หมายถึงการคูณ ลักษณะของภาษานี้จะเป็นการใช้ตัวอักษรมาเรียงกันเป็นคำ แทนเลขฐานสอง โดยคำที่กำหนดขึ้นจะมีความหมายที่ สามารถเข้าใจและจำได้ง่าย เช่น จะใช้คำสั่ง ADD แทนการบวก คำสั่ง SUB แทนการลบ เป็นต้น ขณะเดียวกัน ส่วนที่ใช้บอก แหล่งข้อมูลก็จะแทนด้วยชุดของตัวอักษรที่เรียกว่าตัวแปร เช่น คำสั่ง ADD A,B จะหมายถึงให้นำข้อมูลที่ตำแหน่ง A และ ตำแหน่ง B มาบวกรวมกันแล้วนำผลลัพธ์ไปเก็บที่ตำแหน่ง A เป็นต้น อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าภาษานี้จะง่ายกว่าการเขียนด้วย ภาษาเครื่อง แต่ก็ยังถือว่าเป็นภาษาชั้นต่ำที่ยังยากต่อการเขียนและการเรียนรู้มากสำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์ 3. ภาษาชั้นสูง (High - level Language) สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าเป็นภาษารุ่นที่ 3 (3rd Generation Languages หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สำคัญคือผู้เขียน โปรแกรมไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ได้แก่ • ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN- FORmula TRANslator) เป็นภาษาที่เก่าแก่ของโลกเหมาะกับงานด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ใช้ในงานค้นคว้าวิจัยและวิเคราะห์ปัญหาต่างทางวิทยาศาสตร์ • ภาษาโคบอล (COBOL-Common Business Oriented Language) เป็นภาษาที่เหมาะสำหรับงานด้านธุรกิจ ที่มี ข้อมูลจำนวนมากๆ หรืองานด้านการจัดการฐานข้อมูล แต่ไม่เหมาะสำหรับงานด้านคำนวณ • ภาษาเบสิก (BASIC- Beginner's All-purpose Symbolic Instruction) เป็นภาที่พัฒนาขึ้นมา โดยที่ผู้ใช้ไม่ จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และผู้เริ่ม ศึกษาภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่ใช้สอนหลักการเขียนโปรแกรมได้ดีที่สุด เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมต่างๆ เพื่อการเรียนการสอน • ภาษาซี (C) เป็นภาษาที่ได้รับความนิยมในการเขียนโปรแกรมการทำงานขนาดใหญ่ และใช้ในการเขียน โปรแกรมควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ด้วย
  • 3. อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูกเขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทำงานได้ ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่ง วิธีการแปลงจากภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จะทำได้โดยใช้โปรแกรมที่เรียกว่า คอมไพเลอร์ (Compiler) หรือ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยภาษาชั้นสูงแต่ภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะเป็นของตัวเอง o คอมไพเลอร์ (Compiler) จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการ ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้นก็จะแจ้งให้ทราบ o อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็น ภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไป ถ้าในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดที่บรรทัดใดก็จะฟ้องให้ทำการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันที 4. ภาษาระดับสูงมาก (Very high - Level Language) สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs: Fourth Generation Languages) ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับ ที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วยในเรื่องของการสร้าง แบบฟอร์มบนหน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงานซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่น ที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres , SQL, QBE เป็นต้น 5. ภาษาธรรมชาติ เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ใน รูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่ คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อง ภาษาธรรมชาตินี้ถูกสร้าง ขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) ในการที่พยายามทำให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งที่สามารถคิดและตัดสินใจได้ เช่นเดียวกับมนุษย์ แต่ระบบผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถนำมาแทนที่การทำงานของผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ได้ เนื่องจากทั้งระบบ ผู้เชี่ยวชาญและมนุษย์จะต้องทำงานร่วมกัน จึงทำให้ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นเพียงคลื่นแห่งอนาคตที่จะใช้เป็นเครื่องมือช่วย ตัดสินใจการทำงานของมนุษย์เท่านั้น