SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | i
ปี ที่ 3 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2560
วิกฤติการณ์ ซาอุฯ—กาต้าร์:
ใครจะเป็นคนกลางในการเจรจา?
WORLD
MONITOR
เมื่อเอเชียกลาง
รวมตัวกัน
อาเซียนกับ
OBOR
THINKTANK
i | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ปลายฟ้า บุนนาค
ปาณัท ทองพ่วง
อุสมาน วาจิ
อุสมาน วาจิ
https://businessclass.today/wp-
content/uploads/2017/05/
GCC.jpg
http://www.iranreview.org/file/
contentImage/I1/34d9872e-c7cc
-41f6-9036-e02ed804de23.jpg
มิถุนายน 2560
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
http://rsu-brain.com/
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
บรรณาธิการ
ผู้ช่วยกอง
บรรณาธิการ
ออกแบบปก
และรูปเล่ม
ภาพปก
ภาพปกใน
เผยแพร่
CONTACT US
WORLD
MONITOR
THINKTANK
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | ii
หน้า
วิกฤติการณ์ ซาอุฯ - กาต้าร์: 1
ใครจะเป็นคนกลางในการเจรจา ?
เมื่อเอเชียกลางรวมตัวกัน… 4
อาเซียนกับ OBOR ไปกันได้ไหม 8
สารบัญ
iii | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
วิกฤติการณ์ทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ถูกจับตามองมากที่สุดในปัจจุบันคงหนีไม่พ้น
ความขัดแย้งระหว่างซาอุดิอาระเบียที่ร่วมกับชาติพันธมิตรในการตัดความสัมพันธ์กับกาต้าร์ วิกฤตินี้
ได้ส่งผลกระทบต่อชาติในกลุ่มอ่าวอาหรับพอสมควร และหลายฝ่ายคาดหวังว่าปัญหานี้จะยุติลงได้บน
โต๊ะเจรจา ซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีชาติที่เป็นคนกลางในการเจรจาที่เหมาะสม ส่วนชาติที่เหมาะสมจะ
มีคุณสมบัติเช่นใดสามารถติดตามได้จากวารสารฉบับนี้
ในส่วนเรื่องราวในเชิงความร่วมมือก็มีอยู่เช่นกัน เช่นความพยายามของจีนที่จะเชื่อมเศรษฐกิจ
ของตนเข้ากับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียกลาง ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของ
ยุทธศาสตร์ Belt & Road โดยผู้อ่านสามารถติดตามความคืบหน้าได้จากวารสารนี้เช่นกันค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
บทบรรณาธิการ
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 1
ในปัจจุบันภูมิภาคตะวันออกกลาง
กลายเป็นภูมิภาคที่เกิดความขัดแย้งขึ้นบ่อยครั้ง
ไม่ว่าจะเป็นในระดับรัฐต่อรัฐ รัฐต่อองค์กรมิใช่รัฐ
และองค์กรมิใช่รัฐต่อองค์กรมิใช่รัฐ โดยเฉพาะ
ภายหลังเหตุการณ์วินาศกรรม 9/11 เป็นต้นมา
ซึ่งเกิดจาก [1] สหรัฐฯ ได้เริ่มทาสงครามต่อต้าน
การก่อการร้าย แม้จะมีกลุ่มที่อ่อนกาลังลง เช่น
อัล-กออิดะห์ แต่ประจักษ์ชัดว่าอุดมการณ์ที่เอื้อ
ต่อการก่อการร้ายนั้นยังคงผลิบานอยู่เช่นเดิม
หรือมากกว่าเดิมภายใต้กลุ่มก่อการร้ายใหม่ ๆ
เช่น ขบวนการรัฐอิสลาม (IS) [2] สงครามอิรักที่
สงบลงพร้อมกับความปราชัยของ ซัดดัม ฮุสเซน
วิกฤติการณ์ ซาอุฯ - กาต้าร์:
ใครจะเป็ นคนกลางในการเจรจา ?
ที่มา : https://media.licdn.com/mpr/mpr/AAEAAQAAAAAAAAe6AAAAJDAzOTU5YzEzLTViMTItNDQzMC05OWI5LTgxMjA3MzBiOTgwMg.jpg
ที่มาภาพ http://www.capitalfm.co.ke/news/files/2017/06/
e9cd9d007963aa2e67b8090c7326ab57e7314b16.jpg
2 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
อดีตผู้นาอิรักซึ่งถูกกล่าวหาว่าครอบครองอาวุธ
ท า ล า ย ล้ า ง สู ง ( A weapon of mass
destruction: WMD) ไ ด้ทาใ ห้ห ล าย ฝ่าย มี
ความหวังว่าภูมิภาคตะวันออกกลางจะสงบขึ้น
แต่ผลลัพธ์ของความปราชัยนี้ใช่ว่าจะนามาซึ่ง
ความสงบสุขแก่ประชาชนชาวอิรักไม่ หากสร้าง
สุญญากาศในทางการเมืองและสังคมของอิรักจน
กระทั้งเป็นช่องทางให้กลุ่มก่อการร้ายต่าง ๆ
เติบโต รวมถึงการเปลี่ยนถ่ายผู้ถือครองอานาจ
ทางการเมืองจาก “ซุนนี่” ไปสู่ “ชีอะห์” และ
[3] อาหรับสปริงส์ซึ่งเป็นความหวังแห่งการเบ่ง
บานของประชาธิปไตยในตะวันออกกลางได้จบ
ลงพร้อมกับความล้มเหลวและโครงสร้างอานาจ
ของภูมิภาคที่ไม่มั่นคง และเช่นเดียวกับสงคราม
อิรัก ผลของอาหรับสปริงส์เอื้อให้กลุ่มก่อการร้าย
ใหม่ ๆ ได้เติบโต และอิหร่านในฐานะผู้นาโลก
ชีอะห์ได้ขยายอานาจของตนไปยังประเทศใน
ตะวันออกกลางมากขึ้นจากการที่โครงสร้าง
อานาจเดิมมีช่องว่าง
กล่าวโดยสรุป การก่อการร้าย การ
สั่นคลอนของโครงสร้างอานาจเดิม และการแผ่
อิทธิพลของชีอะห์เข้ามายังดินแดนซุนนี่ 3
ประการนี้คือเหตุผลสาคัญที่ทาให้ซาอุดิอาระเบีย
และชาติพันธมิตรประกาศตัดสัมพันธ์กับกาต้าร์
โดยกล่าวหาว่ากาต้าร์เกี่ยวพันกับ 3 ประเด็น
ดังกล่าวจากการที่ [1] Al-Jazeera ซึ่งเป็นสื่อ
สมัยใหม่ในตะวันออกกลางที่มีท่าทีสนับสนุนการ
เรียกร้องประชาธิปไตยตั้งอยู่ในประเทศกาต้าร์
[2] กลุ่ม Muslim Brotherhood และ Hamas ถือ
เป็นกลุ่มที่ถูกต้องตามกฎหมายของกาต้าร์ ทั้งที่
ซาอุดิอาระเบียและพันธมิตรถือว่าสองกลุ่ม
ดังกล่าวเป็นกลุ่มก่อการร้าย และ [3] อิหร่านซึ่ง
เป็นชาติผู้นาของโลกชีอะห์มีสัมพันธ์ทางการทูต
ที่ดีกับกาต้าร์ ด้วยเหตุนี้ซาอุดิอาระเบียและชาติ
พันธมิตรจึงร่วมกันคว่าบาตรเพื่อเรียกร้องให้
หยุดกระทาเช่นนั้นมิฉะนั้นแล้วการคว่าบาตรก็ยัง
เกิดขึ้นต่อไป ซึ่งการคว่าบาตรในลักษณะนี้เคย
เกิดขึ้นมาแล้วในปี 2014 ในระดับที่ไม่รุนแรงนัก
โดยในครั้งนั้นเหตุการณ์ได้เข้าสู่ภาวะปกติ
ภายหลังเวลาผ่านไป 9 เดือนด้วยฝีมือการเป็น
ตัวกลางเจรจาของคูเวตเป็นสาคัญ
ปัจจัยที่เอื้อต่อการเจรจา
ในการเจรจาเพื่อประนีประนอมระหว่าง
ฝ่ายที่ขัดแย้งกันนั้นมิใช่เรื่องง่ายที่จะหาคนกลาง
ได้ ซึ่งโดยธรรมเนียมแล้ววิธีการหนึ่งคือให้ชาติที่
อยู่ในภูมิภาคเดียวกันและไม่เป็นคู่ขัดแย้งกับทั้ง
สองฝ่ายเป็นผู้เสนอแนวทางไกล่เกลี่ย เช่นที่
คูเวตได้แสดงบทบาทเมื่อปี 2014
ปัจจัยต่อมาคือการเข้าใจในวัฒนธรรม
เผ่านิยม (tribalism) อันเป็นลักษณะจาเพาะของ
รัฐในตะวันออกกลาง แต่เดิมนั้นพื้นที่ในอนุ
ภูมิภาคอ่าวอาหรับ มิได้แบ่งเป็นประเทศดังที่
เห็นในปัจจุบัน แต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
บรรดาเผ่าเร่ร่อนต่าง ๆ ที่มีกาลังเข้มแข็งได้
รวบรวมดินแดนให้กลายเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ได้
สาเร็จ แต่ทั้งนี้วัฒนธรรมเผ่านิยมมิได้หายไป
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 3
เสียทีเดียว ซึ่งโดยวัฒนธรรมแล้วผู้ที่
มี“บารมี”เพียงพอในการเป็นคนกลางคือผู้อาวุโส
นั่นเองที่บรรดาผู้ปกครองที่มีอายุน้อยกว่าแม้จะ
อยู่ต่างเผ่าจะต้องรับฟัง โดยเฉพาะในปัจจุบันที่
เจ้าชายรุ่นใหม่เริ่มมีอานาจในการปกครองและ
อาจจะเป็นผู้ริเริ่มนโยบายที่ก่อความขัดแย้งด้วย
และสุดท้ายคือปัจจัยด้านความเชื่อ ผู้นา
ชาติในอ่าวอาหรับล้วนเป็นมุสลิมด้วยกันทั้งสิ้น
การใช้แง่คิดทางศาสนาและการมีอัตลักษณ์
ร่วมกันในความเชื่อย่อมสามารถเป็นปัจจัยที่เอื้อ
ต่อการประนีประนอมได้
ฉะนั้น จากที่กล่าวมาข้างต้น ชาติ
(มหาอานาจ)อื่น ๆ ภายนอกอ่าวอาหรับอาจมี
ส่วนบ้างในการเสนอความคิดเห็นและแนวทางสู่
สันติภาพ แต่ไม่สามารถเป็นตัวกลางหลักได้
อย่างแน่นอน จะเห็นว่าคุณสมบัติของการมีที่ตั้ง
ในภูมิภาคเดียวกัน การมีวัฒนธรรมอาหรับ
ร่วมกันและเป็นมุสลิมเหมือนกัน ทาให้เจ้าผู้ครอง
นครคูเวต Sheikh Sabah al-Sabah ได้รับการ
จับตามองในฐานะคนกลางอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่
ประสบความสาเร็จในการเจรจาเมื่อปี 2014
มาแล้ว อย่างไรก็ตามย่อมไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะ
การคว่าบาตรในครั้งนี้นั้นมีความซับซ้อนและมี
ตัวแสดงที่เกี่ยวข้องมากกว่ามาก แต่ใช่ว่าจะไม่มี
ความเป็นไปได้เสียทีเดียว
Sheikh Sabah al-Sabah เจ้าผู้ครองนครคูเวต
ที่มาภาพ: http://sundiatapost.com/wp-content/uploads/
2016/10/Kuwaiti-Emir-Sabah-Al-Ahmed.jpg
อ้างอิง
"GCC crisis: How to resolve the diplomatic rift.
June 15, 2017. https://www.brookings.edu/blog/
markaz/2017/06/15/gcc-crisis-how-to-resolve-the-
diplomatic-rift/
4 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
ผู้ใดได้ติดตามความเป็นไปในระยะหลัง
ของเอเชียกลางมักจะมีความรู้สึกว่าเป็นภูมิภาค
ที่เป็น “ฝ่ายรับ” ทุกสิ่งทุกอย่างจากอานาจ
ภายนอกเสมอ ดังเช่นที่เป็นมาในอดีต อย่างน้อย
ตั้งแต่ยุคจักรวรรดิรัสเซีย ยุคโซเวียต ยุครัสเซีย
สมัยปูติน สหรัฐอเมริกา มาจนถึงยุคจีน ไม่ว่า
เงินทุน สินค้า แผนการพัฒนา ความริเริ่ม เช่น
OBOR EEU หรือ SCO ก็เป็นความริเริ่มโดย
อานาจภายนอกเสมอ ทาให้อดสงสัยไม่ได้ว่าฝ่าย
เอเชียกลางเองมีการกระทาหรือตอบสนองต่อสิ่ง
เหล่านี้อย่างไร “เสียง” จากเอเชียกลางว่าอย่างไร
หรือการฝากชะตากรรมของตนไว้ในมือผู้ยิ่งใหญ่
จากภายนอกจะเป็น “แบบแผน” ของประเทศ
ต่างๆ ในภูมิภาคนี้
ในบทความเรื่อง Central Asia: All
Together Now ซึ่งเผยแพร่ออนไลน์ในเว็บไซต์
ข อ ง The American Interest นั้น Bilahari
Kausikan เอกอัครราชทูตประจากระทรวง
(ambassador at large) และที่ปรึกษาด้าน
นโยบาย กระทรวงการต่างประเทศสิงคโปร์
ร่วมกับ S. Frederick Starr. ประธานสถาบัน
เมื่อเอเชียกลางรวมตัวกัน…
ผู้นำชำติเอเชียกลำง รัสเซีย และจีน (จำกซ้ำยไปขวำ) ผู้นำเคอร์กีซสถำน คำซัคสถำน
จีน รัสเซีย อุซเบกิสถำน และทำจิกิสถำน
ที่มาภาพ https://bishkekproject.com/uploads//articles/russia%E2%80%99s_strategy_for_regional
_organizations_in_central_asia/8f48a451a893c4e41f3a16054f1b7e2c.jpg
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 5
Central Asia - Caucasus Institute แ ห่ ง
American Foreign Policy Council ณ
กรุงวอชิงตัน และ ศาสตราจารย์ Yang Cheng
แห่ง School of International Relations and
Public Affairs Shanghai International Studies
University เขียนในบทความดังกล่าวว่า ขณะนี้
เริ่มรู้สึกได้ถึงกระแสภูมิภาคนิยมที่กาลังก่อตัวขึ้น
ในเอเชียกลาง มีปัจจัยหลายอย่างที่ชี้ว่าพวกเขา
กาลังรวมตัวกันสร้างความร่วมมือภายในภูมิภาค
ของตนขึ้นมา (อีกครั้ง)
บทความนี้เทียบระหว่างเอเชียกลางกับ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งสองภูมิภาคถูกเข้า
หาโดยอานาจภายนอก ทั้งสหรัฐอเมริกา ยุโรป
รัสเซีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฯลฯ แต่ในขณะที่
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีอาเซียน (ซึ่งปัจจุบัน
เป็นโมเดลสาคัญหนึ่งในการศึกษาเรื่องการ
รวมกลุ่มระดับภูมิภาค เพราะสามารถประสาน
ความร่วมมือเป็นหนึ่งเดียวกันได้พอสมควร โดย
ที่ยังคงรักษาอัตวินิจฉัยของแต่ละประเทศไว้
อย่างสมบูรณ์) เอาไว้เป็นเวทีเฉพาะที่จะพูดคุย
ปรึกษา ถกเถียง วาระสาคัญต่างๆ ของภูมิภาค
กาหนดท่าทีร่วมและเพิ่มอานาจต่อรองกับ
มหาอานาจภายนอก ทว่าเอเชียกลางไม่มีสิ่งนี้
เมื่อเราเห็นผู้นาของประเทศสถานทั้ง 5 แห่ง
เอเชียกลาง (คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิ
สถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน) มายืน
ร่วมกันครั้งใด จะต้องปรากฏภาพของไม่ผู้นา
รัสเซียก็ผู้นาจีน มายืนตรงกลางเสมอ ไม่ว่า
กรอบความร่วมมือพหุภาคีที่เอเชียกลางเป็น
สมาชิกที่เราเห็นในทุกวันนี้อย่าง Common-
wealth of Independent States (CIS) Shang-
hai Cooperation Organization (SCO) ห รื อ
Eurasian Economic Union (EEU) นั้น ต่างก็
“ริเริ่ม” และ “นา” โดยมหาอานาจภายนอกทั้งสิ้น
ณ ขณะนี้ พวกเขาไม่มี “วงภายใน” ไว้กาหนด
ชะตากรรมของตนเอง
อันที่จริง เอเชียกลางเคยมีการรวมกลุ่ม
ระดับภูมิภาคของตนที่ประสบความสาเร็จพอตัว
นั่นคือ Central Asia Economic Union (CAEU)
ที่ตั้งขึ้นในปี 1996 โดยประเทศเอเชียกลางทุก
ประเทศ ยกเว้นเติร์กเมนิสถาน เป็นเวทีที่ชาติ
เอเชียกลางมาพูดคุยกันอย่างจริงจังในประเด็นที่
เป็นวาระสาคัญของภูมิภาค เช่น การจัดการน้าที่
ขาดแคลน การปรามปรามขบวนการยาเสพติด
และความมั่นคง แม้กลุ่มจะประสบปัญหาด้าน
การเงิน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม CAEU หายไป
เมื่อรัสเซียขอเข้าร่วมกลุ่ม ยุบกลุ่มนี้ และรวม
ประเทศสมาชิกเข้ากับองค์กรซึ่งต่อมาพัฒนาเป็น
EEU ที่นาโดยรัสเซีย ทุกวันนี้ สิ่งที่เอเชียกลางมี
ใกล้เคียงกับการรวมกลุ่มภูมิภาคของตนมาก
ที่สุดเห็นจะได้แก่ปฏิญญาร่วมระหว่างห้าประเทศ
ว่าด้วยการเป็นเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์
(Declaration of Nuclear Free Zone) ปี 2011
และ ความริเริ่มทะเลอารัล (Aral Sea Initiative)
แต่ทั้งสองก็เป็นการรวมกลุ่มเฉพาะประเด็น
อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ กระแสใหม่ในการ
6 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
รวมกลุ่มภูมิภาคของตนเองกาลังก่อตัวขึ้นและ
รู้สึกได้ในทุกประเทศแห่งเอเชียกลาง สัญญาณ
หลายอย่างในระยะหลังของประเทศต่างๆ
ในภูมิภาคกาลังบ่งบอกถึงสิ่งนี้ ไม่ว่าการรื้อฟื้น
ร่องรอยความเชื่อมโยง มรดกร่วมใน
ประวัติศาสตร์และความคิด การผลักดันและ
วางแผนความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และกระชับ
ความสัมพันธ์ทางการทูตของประเทศต่างๆ ใน
ภูมิภาค ไม่ว่า “ความเปิด” ของประธานาธิบดีคน
ใหม่ของอุซเบกิสถาน Shafkat Mirziyoyev ที่
เมื่อขึ้นมาสืบตาแหน่งประธานาธิบดีต่อจาก
อิสลาม คาริมอฟ (Islam Karimov) ที่ถึงแก่
อสัญกรรมไปเมื่อปีที่แล้ว ก็ได้เปิดเส้นทางบิน
ประจาจากประเทศของเขาไปยังเมืองหลวงดูชาน
เบ (Dushanbe) ของเพื่อนบ้านทาจิกิสถานใน
รอบ 21 ปี และส่งรัฐมนตรีต่างประเทศของเขา
ไปยังเพื่อนบ้านเคอร์กีซสถานเพื่อฟื้นฟู
ความสัมพันธ์ระหว่างกัน
ฝ่า ย นู ร์สุ ล ต่ า น น า ซ า ร์บ า เ ย ฟ
(Nursultan Nazarbayev) ประธานาธิบดีตลอด
กาลของคาซัคสถาน ประเทศพี่ใหญ่ของเอเชีย
กลาง ก็ลุกขึ้นมาพูดภาษา “ภูมิภาคนิยม” โดย
กล่าวถึงความสาคัญของเอเชียกลางในฐานะ
ภูมิภาคที่มีความสาคัญและรุ่งเรืองในอดีต มี
อัตลักษณ์และประวัติศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ร่วมกัน ทั้ง
ด้านค่านิยม วัฒนธรรม และความรุ่งเรืองทาง
ศิลปวิทยาการในยุคทองของภูมิภาคนี้เมื่อพันปีที่
แล้ว และผลประโยชน์ที่มีร่วมกันในปัจจุบัน
ขณะที่สองปีที่แล้ว อดีตประธานาธิบดีคาริมอฟ
แห่งอุซเบกิสถานก็ได้กล่าวถึงสิ่งคล้ายๆ กันนี้
โดยจัดประชุม เรียกผู้เข้าร่วมกว่า 300 คนจาก
40 ประเทศ มาพูดคุยกันถึงนักคิดเรืองนามใน
อดีตของเอเชียกลางที่เป็นที่รู้จักในฐานะนักคิด
ชั้นนาของโลก ไม่ว่า Ibn Sina (Avicenna)
Al Farabi และ Biruni โดยในปาฐกถากล่าวเปิด
งาน คาริมอฟกล่าวถึงนักคิดเหล่านี้ในฐานะ
มรดกร่วมของเอเชียกลาง และก่อนหน้านั้น
ประธานาธิบดี Berdymukhamedov ของเติร์กเม
นิสถาน ได้เปิดสวนสาธารณะกลางกรุงอัชกาบัต
เมืองหลวงของประเทศ โดยมีอนุสาวรีย์ของนัก
คิดเหล่านี้ตั้งอยู่ และเขาก็กล่าวเช่นเดียวกับคาริ
มอฟว่านักคิดผู้ยิ่งใหญ่เหล่านี้เป็น “สมบัติร่วมกัน
ของเรา (เอเชียกลาง)” นอกจากสามประเทศใหญ่
แห่งเอเชียกลางจะมีท่าทีเช่นนี้แล้ว อีกสอง
ประเทศเล็กคือเคอร์กีซสถานและทาจิกิสถานก็
ได้จัดการประชุมพบปะหารือร่วมกันอยู่บ่อยครั้ง
ไม่เพียงห้าประเทศนี้เท่านั้น อีกประเทศ
หนึ่งที่ขาดไม่ได้สาหรับภูมิภาคนิยมของเอเชีย
กลางก็คืออัฟกานิสถาน แม้วันนี้อัฟกานิสถานจะ
ไม่ถูกจัดเป็นประเทศเอเชียกลาง และถูกมอง
เป็นอีกโลกหนึ่งที่ไม่ใช่ภูมิภาคนี้ แต่ 3,000 ปี
มาแล้วที่อัฟกานิสถานเป็นอู่อารยธรรมสาคัญ
ของเอเชียกลางใหญ่ หรือ Greater Central Asia
(คาที่ใช้เรียกเอเชียกลางที่รวมอัฟกานิสถานเข้า
ไว้ด้วย) มีลักษณะทางชาติพันธุ์ ภาษา
วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แยกได้ยากจาก
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 7
ส่วนที่เหลือของเอเชียกลาง และสัญญาณที่
เอเชียกลางกาลังเชื่อมโยงตัวเองกับ
อัฟกานิสถานมากขึ้นก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่แสดงให้
เห็นถึงอารมณ์ของภูมิภาคนิยมที่กาลังกลับมาก่อ
ตัวในเอเชียกลาง เพียงในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา
ประธานาธิบดีคาซัคสถานและ อุซเบกิสถาน
สองประเทศใหญ่สุดของเอเชียกลาง ไปเยือน
อัฟกานิสถาน และประธานาธิบดี Ashraf Ghani
แห่งอัฟกานิสถานก็บินขึ้นมาเยี่ยมเพื่อนบ้านทาง
เหนือของตนครบทั้ง 5 ประเทศ ในทางเศรษฐกิจ
เติร์กเมนิสถานกาลังเป็นหัวหอกในการทา
โครงการสาคัญอันหนึ่งที่จะเชื่อมเอเชียกลางเข้า
กับอัฟกานิสถานและภูมิภาคใกล้เคียง คือ
โค ร งกา รว า งท่อ ก๊ าซ ธ รร มชา ติ TAPI
(Turkmenistan-Afghanistan-Pakistan-India
gas pipeline) ขณะที่อุซเบกิสถาน ซึ่งส่งออก
กระแสไฟฟ้าให้อัฟกานิสถานอยู่แล้ว ก็กาลัง
วางแผนสร้างทางรถไฟในอัฟกานิสถาน ขณะที่
ธนาคารโลกก็กาลังดาเนินโครงการ CASA-1000
ที่จะส่งกระแสไฟฟ้าจากเคอร์กีซสถานและ
ทาจิกิสถานมายังอัฟกานิสถานและปากีสถาน
โดยสรุป ทุกวันนี้จิตวิญญาณที่จะสร้าง
การรวมกลุ่มภายในภูมิภาคได้เกิดขึ้นแล้วใน
ประเทศต่างๆ ของเอเชียกลาง ก้าวต่อไปคือการ
พูดคุยถึงการสร้างการรวมกลุ่มนั้นขึ้นมาอย่าง
เป็นทางการ เร็วๆนี้ เหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศ
ของเอเชียกลางได้พบกันเพื่อเตรียมการประชุม
สาหรับเหล่าประธานาธิบดีของพวกเขาเพื่อหารือ
แนวทางการจัดตั้งการรวมกลุ่มภูมิภาคภายใน
ของเอเชียกลางต่อไป โดยพวกเขากาลังศึกษา
ตัวอย่างของการรวมกลุ่มระดับภูมิภาคอื่นของ
โลก หนึ่งในนั้น คือ อาเซียน Nordic Council
และ Arab-Maghreb Union เป็นต้น
แม้สิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจะเป็นเพียง
จุดเริ่มต้นที่ยังห่างไกลจากความสาเร็จ แต่เมื่อ
คานึงว่าประเทศเอเชียกลางนั้นล้วนเป็น
“ประเทศ” มาเพียง 25 ปีในปัจจุบัน การก่อตัว
ของกระแสที่ต้องการสร้างการรวมกลุ่มภายใน
ภูมิภาคของตนเองก็อาจจะไม่ได้มาช้าเลยสาหรับ
พัฒนาการของพวกเขา บทความนี้ตั้งข้อสังเกต
ว่า คาซัคสถานและอุซเบกิสถานอาจเป็นหัวเรี่ยว
หัวแรงในการสร้างกลุ่มภูมิภาคของเอเชียกลาง
ได้ เช่นเดียวกับที่เยอรมันและฝรั่งเศสเป็นกาลัง
และจิตวิญญาณหลักในการสรรค์สร้างสหภาพ
ยุโรป และเมื่ออัฟกานิสถานมีเสถียรภาพ ก็ไม่แน่
ว่าเราอาจจะได้เห็นการเข้าร่วมของอัฟกานิสถาน
ในเอเชียกลาง ในทานองเดียวกับที่ประเทศอินโด
จีนเข้าร่วมอาเซียนเมื่อสงครามเย็นสงบก็เป็นได้
และเมื่อมีกลุ่มภูมิภาคของตนเอง เอเชียกลางก็
จะมีสิทธิมีเสียงในการกาหนดชะตากรรมของตน
ได้มากขึ้น ในวันที่อานาจภายนอกต่างรุมกันเข้า
อ้างอิง
Bilahari Kausikan, S. Frederick Starr and Yang
Cheng. Central Asia: All Together Now. The
American Interest. ออนไลน์ https://www.the-
american-interest.com/2017/06/16/central-asia-all-
together-now/.
8 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
Lucio Blanco Pitlo III สมาชิกสมาคม
จีนศึกษาแห่งประเทศฟิลิปปินส์ ได้เขียน
บทความเรื่อง ASEAN Connectivity and
China’s ‘One Belt, One Road’ Could there
be a convergence of interests between
these two grand projects? ซึ่งในเนื้อหาได้
กล่าวถึงแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียน
(ASEAN Master Plan for Connectivity :
AMPC) และโครงการ One Belt, One Road
(OBOR) ของจีนว่ามีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก
ทั้งสองโครงการต้องการที่จะเชื่อมโยงการ
คมนาคมขนส่งในอาเซียน เพื่อที่จะทาให้ประเทศ
สมาชิกอาเซียนใกล้ชิดกัน มีความสะดวกในการ
เข้าถึงการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และเกิด
การแลกเปลี่ยนระหว่างผู้คนมากขึ้น ทั้งโครงการ
OBOR และแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียน
ต่างต้องการให้มีระบบถนนและราง รวมไปถึง
ท่าเรือต่างๆ เพื่อเชื่อมประเทศอาเซียนทางบก
และทางทะเล ซึ่งการที่ทั้งสองโครงการมี
จุดมุ่งหมายที่คล้ายกัน จะทาให้ทั้งสองโครงการ
ส่งเสริมกันได้ในหลายๆ ทาง พร้อมกันนั้น อาจมี
บางประเด็นที่เป็นอุปสรรคหรือความท้าทายต่อ
กันได้
อาเซียนกับ OBOR ไปกันได้ไหม
ที่มาภาพ: httpswww.shutterstock.comimage-photoshanghai-container-terminal
-twilight-ablaze-lights-166070336src=N-duGVRLFKlKvnMFCLmTOw-1-1
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 9
จีนกลายเป็นมาคู่ค้าอันดับหนึ่งของ
อาเซียนตั้งแต่ปี 2009 และอาเซียนก็กลายเป็นคู่
ค้ากับอันสามของจีนตั้งแต่ปี 2011 แนวโน้ม
ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการค้าระหว่างจีนและ
อาเซียนมีแต่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ยิ่งหาก
แผนปรับปรุงการเชื่อมโยงทั้งหมดในอาเซียน
สาเร็จจะช่วยกระตุ้นการค้า และจะทาให้ทั้งจีน
และอาเซียนได้ประโยชน์ร่วมกัน
จีนนั้นให้ความสาคัญต่อนโยบายการทูต
กับประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งการขยายการ
ลงทุน และการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา
อย่างเป็นทางการ (ODA-Official Development
Assistance เป็นความช่วยเหลือที่มีให้แก่
ประเทศกาลังพัฒนา) โดยจีนจะให้เงินทุนสาหรับ
โครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นหนึ่ง
ในวิธีการสนับสนุนและแสดงความเป็นมิตรของ
จีนต่อประเทศเพื่อนบ้านที่เป็นประเทศกาลัง
พัฒนา ดังนั้น จากมุมมองนี้ ผลประโยชน์ร่วม
ของสองโครงการนั้นชัดเจนมาก อย่างไรก็ตาม
แม้อาเซียนและจีนมีความปรารถนาร่วมกันที่จะ
ปรับปรุงและยกระดับการการเชื่อมโยงด้านการ
คมนาคมขนส่งในอาเซียน แต่ก็ต้องดูอีกทีว่าแผน
แม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนและ OBOR ของจีน
จะสอดคล้องกันมากน้อยเพียงใด
เมื่อพิจารณาแล้ว พบว่าแผนแม่บทการ
เชื่อมโยงอาเซียนนั้นก้าวหน้าและสมบูรณ์กว่า
OBOR ของจีน ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุม
ระดับสูงในกลุ่มงานทางเทคนิคตั้งแต่ปี 2009
ในทางตรงกันข้าม เส้นทางสายไหมทางทะเล
(Maritime Silk Road : MSR) กลับมีแค่เพียง
การประกาศอย่างเป็นทางการในปี 2013 เท่านั้น
และเห็นความแตกต่างได้ชัดเจนจากการที่แผน
แม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนนั้น ได้มีการวางโครง
ร่างของโครงการเสร็จไปหลายอย่างแล้ว แต่ของ
เส้นทางสายไหมทะเลยังไม่สมบูรณ์และจีนยัง
ต้องการพันธมิตรอีกมากเพื่อให้มันสาเร็จ ดังนั้น
ตอนนี้จีนจึงพยายามอย่างมากที่จะให้ความ
ช่วยเหลือในการดาเนินแผนโครงการการ
เชื่อมโยงอาเซียน เพื่อหาพันธมิตร และหากมอง
มุมอาเซียนก็จะเป็นผลดี เพราะการดาเนินการ
ของแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนนี้มี
ค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ดังนั้นอาเซียนจึงควรต้อนรับ
ผู้บริจาคและผู้ที่ให้ความช่วยเหลือด้านการเงิน
ซึ่งจีนก็ถือเป็นหนึ่งในรายใหญ่นั่นเอง จีนได้
พัฒนาศักยภาพในการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน
เช่น ท่าเรือ อาคารผู้โดยสาร และรถไฟความเร็ว
สูง และจีนสามารถสนับสนุนทางด้านเทคโนโลยี
และผู้เชี่ยวชาญให้แก่แผนการเชื่อมโยงของ
อาเซียนได้ ในทางกลับกัน แผนแม่บทการ
เชื่อมโยงอาเซียนยังอาจจะเป็นโอกาสในการ
ดึงดูดกลุ่มธุรกิจด้านโครงสร้างพื้นฐานของจีนเข้า
มาลงทุนร่วมกับทุนเอกชนท้องถิ่นของอาเซียน
อีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้ ผู้เขียนเห็นว่าเป็นการได้
ผลประโยชน์ร่วมกัน จีนได้ลงทุนในอาเซียนและ
ได้พันธมิตร ส่วนอาเซียนได้รับความช่วยเหลือ
ทั้งทางด้านการเงิน เทคโนโลยี และผู้เชี่ยวชาญ
จากจีน
10 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
หากดูสถานการณ์ตอนนี้ สามารถพูดได้
ว่า ความร่วมมือกันระหว่างจีนและอาเซียนใน
การทาแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนกาลัง
เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างคือ การรวมกันของสอง
เส้นทาง คือ เส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์
ที่มีระยะทาง 7,000 กิโลเมตร กับแผนการ
เชื่อมต่อทางรถไฟของอาเซียนทางบก หาก
สาเร็จ ทาให้เส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์
ที่เชื่อมระหว่างคุนหมิง เมืองหลวงของมณฑล
ยูนนานของจีน เข้ากับเมืองหลวงของประเทศ
อาเซียนที่อยู่บนแผ่นดินใหญ่ทั้งหมด (ยกเว้น
เพียงมาเลเซีย ที่ไม่ได้เข้ากัวลาลัมเปอร์เพราะ
เส้นทางจะแยกเข้าสู่สิงคโปร์ก่อน) และสิ้นสุดที่
สิงคโปร์ได้สาเร็จ
อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ความร่วมมือ
ระหว่างจีนกับอาเซียนในด้านการสร้างทางรถไฟ
และถนนกาลังเพิ่มสูงขึ้น แต่การเชื่อมโยงทาง
ทะเลนั้นยังไม่ค่อยมีอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ในเดือน
มีนาคม 2013 มีรายงาน ระบุเส้นทางต่างๆ
สาหรับการเชื่อมโยงทางทะเล ASEAN RO-RO
Network (ARN) โดยมี 3 เส้นทางที่ถูกจัดเป็น
priority สาคัญในการดาเนินการในปี 2015 คือ 1.
Dumai อินโดนีเซีย – มะละกา มาเลเซีย 2.
Belawan อินโดนีเซีย – ปีนัง มาเลเซีย – ภูเก็ต
ไทย และ 3. Daval/General SanTos ฟิลิปปินส์
– Bitung อินโดนีเซีย
ผู้เขียนสนับสนุนการสร้างกรอบความ
ร่วมมือ Brunei Darussalam, Indonesia, Ma-
laysia, and the Philippines-East ASEAN
Growth Area (BIMP-EAGA) ซึ่งอาเซียนจะ
ได้รับประโยชน์หากการเชื่อมโยงทางทะเลของ
อาเซียนสาเร็จ และมันจะช่วยกระตุ้นการค้าทาง
ทะเลภายในภูมิภาคและการพาณิชย์ในประเทศที่
มีศักยภาพแต่ไม่ได้รับการใส่ใจเท่าที่ควร แต่การ
มีโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ จะสามารถเปิดพื้นที่
เหล่านี้เพื่อการลงทุนในอนาคตและสร้างโอกาส
ทางเศรษฐกิจในพื้นที่ดังกล่าว เช่น พื้นที่ทาง
ตอนใต้ของเกาะมินดาเนาและหมู่เกาะซูลู
นอกจากสร้างกรอบความร่วมมือแล้ว ยังต้อง
ร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิด
สิทธิ์ทางทะเล การก่อการร้าย การลักลอบนาเข้า
และการก่อการร้ายในทะเล เพื่อรักษาความ
ปลอดภัยในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทาง
ทะเลและป้องกันการเดินเรือในเส้นทางดังกล่าว
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา จีนได้วางเงินในการ
ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางบกของอาเซียน
เป็นจานวนมาก อย่างไรก็ตาม จีนไม่ได้ให้
ความสาคัญกับการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ทางทะเลของประเทศอาเซียนสักเท่าไรนัก
ประเด็นนี้อธิบายได้ด้วยหลายปัจจัย อย่างแรก
คือ การขาดการเชื่อมโยงโดยตรงระหว่างจีนกับ
การเชื่อมโยงทางทะเลของอาเซียน ซึ่งต่างกับ
การเชื่อมโยงทางบกผ่านทางรถไฟจากคุนหมิง
มาบรรจบกับท่าเรือของอาเซียนผ่านเส้นทาง
รถไฟคุนหมิง-สิงคโปร์ การเชื่อมโยงทางทะเล
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 11
ของอาเซียนนั้นมีระยะทางไกลจากท่าเรือจีนส่วน
ใหญ่ทาให้เชื่อมโยงกันได้ยาก หากมองจาก
มุมมองทางเศรษฐกิจ การเชื่อมโยงทางทะเลของ
อาเซียนอาจจะไม่สาคัญพอ และไม่ได้สร้างมูลค่า
มากพอสาหรับจีน แต่การที่แผนแม่บทการ
เชื่อมโยงอาเซียนรวมเอาทั้งการเชื่อมโยงทางบก
และทางทะเลเข้าด้วยกัน ทาให้การเชื่อมโยงทาง
ทะเลดังกล่าวกลายเป็นโอกาสสาหรับจีนที่จะ
แสดงให้เห็นนโยบายการทูตที่เป็นมิตรต่อ
ประเทศเพื่อนบ้าน ดังนั้น สาหรับประเทศจีน
การสนับสนุนเส้นทางการเชื่อมโยงทางทะเลของ
อาเซียนอาจทาให้ได้รับการยอมรับจากประเทศ
อาเซียนทางทะเลเช่นเดียวกับประเทศอาเซียน
ทางบก
สถาบันคลังปัญญาฯ ขอเสนอในมุมของ
ไทย เพราะต้องเกี่ยวข้องกับไทยอย่างแน่นอน
โดยเฉพาะในประเด็นเส้นทางรถไฟที่ต้องผ่าน
ไทย อยากให้มองถึงประโยชน์ที่ไทยจะได้จริงๆ
หากมีการก่อสร้างเกิดขึ้น แต่หากมองในมุมของ
จีน จีนได้แน่นอน โดยเฉพาะรถไฟสายคุนหมิง-
สิงคโปร์ จีนจะได้ประโยชน์จากการสร้างถึง 85%
แต่ประโยชน์จากการใช้จริงมีน้อย จึงอยากให้
ฝ่ายที่เกี่ยวข้องศึกษาให้ชัดเจนว่าจริงๆ แล้ว
หากมีการก่อสร้างทางรถไฟ เราจะได้ใช้
ประโยชน์มากน้อยเพียงใด อะไรที่ไม่ใช่
ผลประโยชน์ของเรา เราต้องหนักแน่น ต้องแสดง
จุดยืนให้ชัดเจน แต่ก็ควรคานึงถึงความสัมพันธ์
ระหว่างไทยกับจีนด้วย เพราะไทยกับจีนมี
ความสัมพันธ์อันดีมาอย่างยาวนาน และตอนนี้
จีนเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย รวมถึงการ
ท่องเที่ยวที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทย
จีนก็เป็นแหล่งนักท่องเที่ยวใหญ่เช่นกัน
อ้างอิง
Lucio Blanco Pitlo III. ASEAN
Connectivity and China’s ‘One Belt, One Road’.
The Diplomat. http://thediplomat.com/2015/03/
asean-connectivity-and-chinas-one-belt-one-road/
12 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
ขบวนการรัฐอิสลาม
(Islamic State)
อ.อาทิตย์ ทองอินทร์
เอนกทรรศน์
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
เพ่งประชาธิปไตยโลก
พิศประชาธิปไตยไทย
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
บูรพาภิวัตน์
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
สั่งซื้อได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
CPWI Bookstore
WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของศาสตราจารย์ ดร.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไร
รัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ต้องการให้เป็น
คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจดังนี้
1. สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ชี้นาแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างมีสุข
ภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์
2. หนุนเสริมพลังความคิดและความรู้ทางวิชาการ ระหว่างสถาบันทางวิชาการต่างๆ ใน
ประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์
3. เป็นแหล่งรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มีประสบการณ์ เพื่อ
ร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย
4. เปิดพื้นที่ทางความคิดและเชื่อมโยงภาคีต่างๆ ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้และแลกเปลี่ยน
ความคิดอย่างสร้างสรรค์
5. เป็นสื่อกลางเผยแพร่ความรู้จากนักคิด นักยุทธศาสตร์ และนักวิชาการ ผ่าน
ช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้กับสังคมในวงกว้าง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ
ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีความ
ปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มีประสบการณ์
มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวทีการประชุมต่างๆ เช่น
เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง
สถาบันคลังปั ญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
14 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.rsu-brain.org
Tel. 02-938-8826 Fax. 02-938-8864

More Related Content

More from Klangpanya

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
 

World Think Tank Monitor ฉบับที่ 23 ประจำเดือนมิถุนายน 2560

  • 1. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | i ปี ที่ 3 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2560 วิกฤติการณ์ ซาอุฯ—กาต้าร์: ใครจะเป็นคนกลางในการเจรจา? WORLD MONITOR เมื่อเอเชียกลาง รวมตัวกัน อาเซียนกับ OBOR THINKTANK
  • 2. i | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 ยุวดี คาดการณ์ไกล ปลายฟ้า บุนนาค ปาณัท ทองพ่วง อุสมาน วาจิ อุสมาน วาจิ https://businessclass.today/wp- content/uploads/2017/05/ GCC.jpg http://www.iranreview.org/file/ contentImage/I1/34d9872e-c7cc -41f6-9036-e02ed804de23.jpg มิถุนายน 2560 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 http://rsu-brain.com/ Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 บรรณาธิการ ผู้ช่วยกอง บรรณาธิการ ออกแบบปก และรูปเล่ม ภาพปก ภาพปกใน เผยแพร่ CONTACT US WORLD MONITOR THINKTANK
  • 3. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | ii หน้า วิกฤติการณ์ ซาอุฯ - กาต้าร์: 1 ใครจะเป็นคนกลางในการเจรจา ? เมื่อเอเชียกลางรวมตัวกัน… 4 อาเซียนกับ OBOR ไปกันได้ไหม 8 สารบัญ
  • 4. iii | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 วิกฤติการณ์ทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ถูกจับตามองมากที่สุดในปัจจุบันคงหนีไม่พ้น ความขัดแย้งระหว่างซาอุดิอาระเบียที่ร่วมกับชาติพันธมิตรในการตัดความสัมพันธ์กับกาต้าร์ วิกฤตินี้ ได้ส่งผลกระทบต่อชาติในกลุ่มอ่าวอาหรับพอสมควร และหลายฝ่ายคาดหวังว่าปัญหานี้จะยุติลงได้บน โต๊ะเจรจา ซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีชาติที่เป็นคนกลางในการเจรจาที่เหมาะสม ส่วนชาติที่เหมาะสมจะ มีคุณสมบัติเช่นใดสามารถติดตามได้จากวารสารฉบับนี้ ในส่วนเรื่องราวในเชิงความร่วมมือก็มีอยู่เช่นกัน เช่นความพยายามของจีนที่จะเชื่อมเศรษฐกิจ ของตนเข้ากับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียกลาง ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของ ยุทธศาสตร์ Belt & Road โดยผู้อ่านสามารถติดตามความคืบหน้าได้จากวารสารนี้เช่นกันค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ บทบรรณาธิการ
  • 5. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 1 ในปัจจุบันภูมิภาคตะวันออกกลาง กลายเป็นภูมิภาคที่เกิดความขัดแย้งขึ้นบ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นในระดับรัฐต่อรัฐ รัฐต่อองค์กรมิใช่รัฐ และองค์กรมิใช่รัฐต่อองค์กรมิใช่รัฐ โดยเฉพาะ ภายหลังเหตุการณ์วินาศกรรม 9/11 เป็นต้นมา ซึ่งเกิดจาก [1] สหรัฐฯ ได้เริ่มทาสงครามต่อต้าน การก่อการร้าย แม้จะมีกลุ่มที่อ่อนกาลังลง เช่น อัล-กออิดะห์ แต่ประจักษ์ชัดว่าอุดมการณ์ที่เอื้อ ต่อการก่อการร้ายนั้นยังคงผลิบานอยู่เช่นเดิม หรือมากกว่าเดิมภายใต้กลุ่มก่อการร้ายใหม่ ๆ เช่น ขบวนการรัฐอิสลาม (IS) [2] สงครามอิรักที่ สงบลงพร้อมกับความปราชัยของ ซัดดัม ฮุสเซน วิกฤติการณ์ ซาอุฯ - กาต้าร์: ใครจะเป็ นคนกลางในการเจรจา ? ที่มา : https://media.licdn.com/mpr/mpr/AAEAAQAAAAAAAAe6AAAAJDAzOTU5YzEzLTViMTItNDQzMC05OWI5LTgxMjA3MzBiOTgwMg.jpg ที่มาภาพ http://www.capitalfm.co.ke/news/files/2017/06/ e9cd9d007963aa2e67b8090c7326ab57e7314b16.jpg
  • 6. 2 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 อดีตผู้นาอิรักซึ่งถูกกล่าวหาว่าครอบครองอาวุธ ท า ล า ย ล้ า ง สู ง ( A weapon of mass destruction: WMD) ไ ด้ทาใ ห้ห ล าย ฝ่าย มี ความหวังว่าภูมิภาคตะวันออกกลางจะสงบขึ้น แต่ผลลัพธ์ของความปราชัยนี้ใช่ว่าจะนามาซึ่ง ความสงบสุขแก่ประชาชนชาวอิรักไม่ หากสร้าง สุญญากาศในทางการเมืองและสังคมของอิรักจน กระทั้งเป็นช่องทางให้กลุ่มก่อการร้ายต่าง ๆ เติบโต รวมถึงการเปลี่ยนถ่ายผู้ถือครองอานาจ ทางการเมืองจาก “ซุนนี่” ไปสู่ “ชีอะห์” และ [3] อาหรับสปริงส์ซึ่งเป็นความหวังแห่งการเบ่ง บานของประชาธิปไตยในตะวันออกกลางได้จบ ลงพร้อมกับความล้มเหลวและโครงสร้างอานาจ ของภูมิภาคที่ไม่มั่นคง และเช่นเดียวกับสงคราม อิรัก ผลของอาหรับสปริงส์เอื้อให้กลุ่มก่อการร้าย ใหม่ ๆ ได้เติบโต และอิหร่านในฐานะผู้นาโลก ชีอะห์ได้ขยายอานาจของตนไปยังประเทศใน ตะวันออกกลางมากขึ้นจากการที่โครงสร้าง อานาจเดิมมีช่องว่าง กล่าวโดยสรุป การก่อการร้าย การ สั่นคลอนของโครงสร้างอานาจเดิม และการแผ่ อิทธิพลของชีอะห์เข้ามายังดินแดนซุนนี่ 3 ประการนี้คือเหตุผลสาคัญที่ทาให้ซาอุดิอาระเบีย และชาติพันธมิตรประกาศตัดสัมพันธ์กับกาต้าร์ โดยกล่าวหาว่ากาต้าร์เกี่ยวพันกับ 3 ประเด็น ดังกล่าวจากการที่ [1] Al-Jazeera ซึ่งเป็นสื่อ สมัยใหม่ในตะวันออกกลางที่มีท่าทีสนับสนุนการ เรียกร้องประชาธิปไตยตั้งอยู่ในประเทศกาต้าร์ [2] กลุ่ม Muslim Brotherhood และ Hamas ถือ เป็นกลุ่มที่ถูกต้องตามกฎหมายของกาต้าร์ ทั้งที่ ซาอุดิอาระเบียและพันธมิตรถือว่าสองกลุ่ม ดังกล่าวเป็นกลุ่มก่อการร้าย และ [3] อิหร่านซึ่ง เป็นชาติผู้นาของโลกชีอะห์มีสัมพันธ์ทางการทูต ที่ดีกับกาต้าร์ ด้วยเหตุนี้ซาอุดิอาระเบียและชาติ พันธมิตรจึงร่วมกันคว่าบาตรเพื่อเรียกร้องให้ หยุดกระทาเช่นนั้นมิฉะนั้นแล้วการคว่าบาตรก็ยัง เกิดขึ้นต่อไป ซึ่งการคว่าบาตรในลักษณะนี้เคย เกิดขึ้นมาแล้วในปี 2014 ในระดับที่ไม่รุนแรงนัก โดยในครั้งนั้นเหตุการณ์ได้เข้าสู่ภาวะปกติ ภายหลังเวลาผ่านไป 9 เดือนด้วยฝีมือการเป็น ตัวกลางเจรจาของคูเวตเป็นสาคัญ ปัจจัยที่เอื้อต่อการเจรจา ในการเจรจาเพื่อประนีประนอมระหว่าง ฝ่ายที่ขัดแย้งกันนั้นมิใช่เรื่องง่ายที่จะหาคนกลาง ได้ ซึ่งโดยธรรมเนียมแล้ววิธีการหนึ่งคือให้ชาติที่ อยู่ในภูมิภาคเดียวกันและไม่เป็นคู่ขัดแย้งกับทั้ง สองฝ่ายเป็นผู้เสนอแนวทางไกล่เกลี่ย เช่นที่ คูเวตได้แสดงบทบาทเมื่อปี 2014 ปัจจัยต่อมาคือการเข้าใจในวัฒนธรรม เผ่านิยม (tribalism) อันเป็นลักษณะจาเพาะของ รัฐในตะวันออกกลาง แต่เดิมนั้นพื้นที่ในอนุ ภูมิภาคอ่าวอาหรับ มิได้แบ่งเป็นประเทศดังที่ เห็นในปัจจุบัน แต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 บรรดาเผ่าเร่ร่อนต่าง ๆ ที่มีกาลังเข้มแข็งได้ รวบรวมดินแดนให้กลายเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ได้ สาเร็จ แต่ทั้งนี้วัฒนธรรมเผ่านิยมมิได้หายไป
  • 7. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 3 เสียทีเดียว ซึ่งโดยวัฒนธรรมแล้วผู้ที่ มี“บารมี”เพียงพอในการเป็นคนกลางคือผู้อาวุโส นั่นเองที่บรรดาผู้ปกครองที่มีอายุน้อยกว่าแม้จะ อยู่ต่างเผ่าจะต้องรับฟัง โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ เจ้าชายรุ่นใหม่เริ่มมีอานาจในการปกครองและ อาจจะเป็นผู้ริเริ่มนโยบายที่ก่อความขัดแย้งด้วย และสุดท้ายคือปัจจัยด้านความเชื่อ ผู้นา ชาติในอ่าวอาหรับล้วนเป็นมุสลิมด้วยกันทั้งสิ้น การใช้แง่คิดทางศาสนาและการมีอัตลักษณ์ ร่วมกันในความเชื่อย่อมสามารถเป็นปัจจัยที่เอื้อ ต่อการประนีประนอมได้ ฉะนั้น จากที่กล่าวมาข้างต้น ชาติ (มหาอานาจ)อื่น ๆ ภายนอกอ่าวอาหรับอาจมี ส่วนบ้างในการเสนอความคิดเห็นและแนวทางสู่ สันติภาพ แต่ไม่สามารถเป็นตัวกลางหลักได้ อย่างแน่นอน จะเห็นว่าคุณสมบัติของการมีที่ตั้ง ในภูมิภาคเดียวกัน การมีวัฒนธรรมอาหรับ ร่วมกันและเป็นมุสลิมเหมือนกัน ทาให้เจ้าผู้ครอง นครคูเวต Sheikh Sabah al-Sabah ได้รับการ จับตามองในฐานะคนกลางอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่ ประสบความสาเร็จในการเจรจาเมื่อปี 2014 มาแล้ว อย่างไรก็ตามย่อมไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะ การคว่าบาตรในครั้งนี้นั้นมีความซับซ้อนและมี ตัวแสดงที่เกี่ยวข้องมากกว่ามาก แต่ใช่ว่าจะไม่มี ความเป็นไปได้เสียทีเดียว Sheikh Sabah al-Sabah เจ้าผู้ครองนครคูเวต ที่มาภาพ: http://sundiatapost.com/wp-content/uploads/ 2016/10/Kuwaiti-Emir-Sabah-Al-Ahmed.jpg อ้างอิง "GCC crisis: How to resolve the diplomatic rift. June 15, 2017. https://www.brookings.edu/blog/ markaz/2017/06/15/gcc-crisis-how-to-resolve-the- diplomatic-rift/
  • 8. 4 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 ผู้ใดได้ติดตามความเป็นไปในระยะหลัง ของเอเชียกลางมักจะมีความรู้สึกว่าเป็นภูมิภาค ที่เป็น “ฝ่ายรับ” ทุกสิ่งทุกอย่างจากอานาจ ภายนอกเสมอ ดังเช่นที่เป็นมาในอดีต อย่างน้อย ตั้งแต่ยุคจักรวรรดิรัสเซีย ยุคโซเวียต ยุครัสเซีย สมัยปูติน สหรัฐอเมริกา มาจนถึงยุคจีน ไม่ว่า เงินทุน สินค้า แผนการพัฒนา ความริเริ่ม เช่น OBOR EEU หรือ SCO ก็เป็นความริเริ่มโดย อานาจภายนอกเสมอ ทาให้อดสงสัยไม่ได้ว่าฝ่าย เอเชียกลางเองมีการกระทาหรือตอบสนองต่อสิ่ง เหล่านี้อย่างไร “เสียง” จากเอเชียกลางว่าอย่างไร หรือการฝากชะตากรรมของตนไว้ในมือผู้ยิ่งใหญ่ จากภายนอกจะเป็น “แบบแผน” ของประเทศ ต่างๆ ในภูมิภาคนี้ ในบทความเรื่อง Central Asia: All Together Now ซึ่งเผยแพร่ออนไลน์ในเว็บไซต์ ข อ ง The American Interest นั้น Bilahari Kausikan เอกอัครราชทูตประจากระทรวง (ambassador at large) และที่ปรึกษาด้าน นโยบาย กระทรวงการต่างประเทศสิงคโปร์ ร่วมกับ S. Frederick Starr. ประธานสถาบัน เมื่อเอเชียกลางรวมตัวกัน… ผู้นำชำติเอเชียกลำง รัสเซีย และจีน (จำกซ้ำยไปขวำ) ผู้นำเคอร์กีซสถำน คำซัคสถำน จีน รัสเซีย อุซเบกิสถำน และทำจิกิสถำน ที่มาภาพ https://bishkekproject.com/uploads//articles/russia%E2%80%99s_strategy_for_regional _organizations_in_central_asia/8f48a451a893c4e41f3a16054f1b7e2c.jpg
  • 9. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 5 Central Asia - Caucasus Institute แ ห่ ง American Foreign Policy Council ณ กรุงวอชิงตัน และ ศาสตราจารย์ Yang Cheng แห่ง School of International Relations and Public Affairs Shanghai International Studies University เขียนในบทความดังกล่าวว่า ขณะนี้ เริ่มรู้สึกได้ถึงกระแสภูมิภาคนิยมที่กาลังก่อตัวขึ้น ในเอเชียกลาง มีปัจจัยหลายอย่างที่ชี้ว่าพวกเขา กาลังรวมตัวกันสร้างความร่วมมือภายในภูมิภาค ของตนขึ้นมา (อีกครั้ง) บทความนี้เทียบระหว่างเอเชียกลางกับ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งสองภูมิภาคถูกเข้า หาโดยอานาจภายนอก ทั้งสหรัฐอเมริกา ยุโรป รัสเซีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฯลฯ แต่ในขณะที่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีอาเซียน (ซึ่งปัจจุบัน เป็นโมเดลสาคัญหนึ่งในการศึกษาเรื่องการ รวมกลุ่มระดับภูมิภาค เพราะสามารถประสาน ความร่วมมือเป็นหนึ่งเดียวกันได้พอสมควร โดย ที่ยังคงรักษาอัตวินิจฉัยของแต่ละประเทศไว้ อย่างสมบูรณ์) เอาไว้เป็นเวทีเฉพาะที่จะพูดคุย ปรึกษา ถกเถียง วาระสาคัญต่างๆ ของภูมิภาค กาหนดท่าทีร่วมและเพิ่มอานาจต่อรองกับ มหาอานาจภายนอก ทว่าเอเชียกลางไม่มีสิ่งนี้ เมื่อเราเห็นผู้นาของประเทศสถานทั้ง 5 แห่ง เอเชียกลาง (คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิ สถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน) มายืน ร่วมกันครั้งใด จะต้องปรากฏภาพของไม่ผู้นา รัสเซียก็ผู้นาจีน มายืนตรงกลางเสมอ ไม่ว่า กรอบความร่วมมือพหุภาคีที่เอเชียกลางเป็น สมาชิกที่เราเห็นในทุกวันนี้อย่าง Common- wealth of Independent States (CIS) Shang- hai Cooperation Organization (SCO) ห รื อ Eurasian Economic Union (EEU) นั้น ต่างก็ “ริเริ่ม” และ “นา” โดยมหาอานาจภายนอกทั้งสิ้น ณ ขณะนี้ พวกเขาไม่มี “วงภายใน” ไว้กาหนด ชะตากรรมของตนเอง อันที่จริง เอเชียกลางเคยมีการรวมกลุ่ม ระดับภูมิภาคของตนที่ประสบความสาเร็จพอตัว นั่นคือ Central Asia Economic Union (CAEU) ที่ตั้งขึ้นในปี 1996 โดยประเทศเอเชียกลางทุก ประเทศ ยกเว้นเติร์กเมนิสถาน เป็นเวทีที่ชาติ เอเชียกลางมาพูดคุยกันอย่างจริงจังในประเด็นที่ เป็นวาระสาคัญของภูมิภาค เช่น การจัดการน้าที่ ขาดแคลน การปรามปรามขบวนการยาเสพติด และความมั่นคง แม้กลุ่มจะประสบปัญหาด้าน การเงิน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม CAEU หายไป เมื่อรัสเซียขอเข้าร่วมกลุ่ม ยุบกลุ่มนี้ และรวม ประเทศสมาชิกเข้ากับองค์กรซึ่งต่อมาพัฒนาเป็น EEU ที่นาโดยรัสเซีย ทุกวันนี้ สิ่งที่เอเชียกลางมี ใกล้เคียงกับการรวมกลุ่มภูมิภาคของตนมาก ที่สุดเห็นจะได้แก่ปฏิญญาร่วมระหว่างห้าประเทศ ว่าด้วยการเป็นเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ (Declaration of Nuclear Free Zone) ปี 2011 และ ความริเริ่มทะเลอารัล (Aral Sea Initiative) แต่ทั้งสองก็เป็นการรวมกลุ่มเฉพาะประเด็น อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ กระแสใหม่ในการ
  • 10. 6 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 รวมกลุ่มภูมิภาคของตนเองกาลังก่อตัวขึ้นและ รู้สึกได้ในทุกประเทศแห่งเอเชียกลาง สัญญาณ หลายอย่างในระยะหลังของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคกาลังบ่งบอกถึงสิ่งนี้ ไม่ว่าการรื้อฟื้น ร่องรอยความเชื่อมโยง มรดกร่วมใน ประวัติศาสตร์และความคิด การผลักดันและ วางแผนความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และกระชับ ความสัมพันธ์ทางการทูตของประเทศต่างๆ ใน ภูมิภาค ไม่ว่า “ความเปิด” ของประธานาธิบดีคน ใหม่ของอุซเบกิสถาน Shafkat Mirziyoyev ที่ เมื่อขึ้นมาสืบตาแหน่งประธานาธิบดีต่อจาก อิสลาม คาริมอฟ (Islam Karimov) ที่ถึงแก่ อสัญกรรมไปเมื่อปีที่แล้ว ก็ได้เปิดเส้นทางบิน ประจาจากประเทศของเขาไปยังเมืองหลวงดูชาน เบ (Dushanbe) ของเพื่อนบ้านทาจิกิสถานใน รอบ 21 ปี และส่งรัฐมนตรีต่างประเทศของเขา ไปยังเพื่อนบ้านเคอร์กีซสถานเพื่อฟื้นฟู ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ฝ่า ย นู ร์สุ ล ต่ า น น า ซ า ร์บ า เ ย ฟ (Nursultan Nazarbayev) ประธานาธิบดีตลอด กาลของคาซัคสถาน ประเทศพี่ใหญ่ของเอเชีย กลาง ก็ลุกขึ้นมาพูดภาษา “ภูมิภาคนิยม” โดย กล่าวถึงความสาคัญของเอเชียกลางในฐานะ ภูมิภาคที่มีความสาคัญและรุ่งเรืองในอดีต มี อัตลักษณ์และประวัติศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ร่วมกัน ทั้ง ด้านค่านิยม วัฒนธรรม และความรุ่งเรืองทาง ศิลปวิทยาการในยุคทองของภูมิภาคนี้เมื่อพันปีที่ แล้ว และผลประโยชน์ที่มีร่วมกันในปัจจุบัน ขณะที่สองปีที่แล้ว อดีตประธานาธิบดีคาริมอฟ แห่งอุซเบกิสถานก็ได้กล่าวถึงสิ่งคล้ายๆ กันนี้ โดยจัดประชุม เรียกผู้เข้าร่วมกว่า 300 คนจาก 40 ประเทศ มาพูดคุยกันถึงนักคิดเรืองนามใน อดีตของเอเชียกลางที่เป็นที่รู้จักในฐานะนักคิด ชั้นนาของโลก ไม่ว่า Ibn Sina (Avicenna) Al Farabi และ Biruni โดยในปาฐกถากล่าวเปิด งาน คาริมอฟกล่าวถึงนักคิดเหล่านี้ในฐานะ มรดกร่วมของเอเชียกลาง และก่อนหน้านั้น ประธานาธิบดี Berdymukhamedov ของเติร์กเม นิสถาน ได้เปิดสวนสาธารณะกลางกรุงอัชกาบัต เมืองหลวงของประเทศ โดยมีอนุสาวรีย์ของนัก คิดเหล่านี้ตั้งอยู่ และเขาก็กล่าวเช่นเดียวกับคาริ มอฟว่านักคิดผู้ยิ่งใหญ่เหล่านี้เป็น “สมบัติร่วมกัน ของเรา (เอเชียกลาง)” นอกจากสามประเทศใหญ่ แห่งเอเชียกลางจะมีท่าทีเช่นนี้แล้ว อีกสอง ประเทศเล็กคือเคอร์กีซสถานและทาจิกิสถานก็ ได้จัดการประชุมพบปะหารือร่วมกันอยู่บ่อยครั้ง ไม่เพียงห้าประเทศนี้เท่านั้น อีกประเทศ หนึ่งที่ขาดไม่ได้สาหรับภูมิภาคนิยมของเอเชีย กลางก็คืออัฟกานิสถาน แม้วันนี้อัฟกานิสถานจะ ไม่ถูกจัดเป็นประเทศเอเชียกลาง และถูกมอง เป็นอีกโลกหนึ่งที่ไม่ใช่ภูมิภาคนี้ แต่ 3,000 ปี มาแล้วที่อัฟกานิสถานเป็นอู่อารยธรรมสาคัญ ของเอเชียกลางใหญ่ หรือ Greater Central Asia (คาที่ใช้เรียกเอเชียกลางที่รวมอัฟกานิสถานเข้า ไว้ด้วย) มีลักษณะทางชาติพันธุ์ ภาษา วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แยกได้ยากจาก
  • 11. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 7 ส่วนที่เหลือของเอเชียกลาง และสัญญาณที่ เอเชียกลางกาลังเชื่อมโยงตัวเองกับ อัฟกานิสถานมากขึ้นก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่แสดงให้ เห็นถึงอารมณ์ของภูมิภาคนิยมที่กาลังกลับมาก่อ ตัวในเอเชียกลาง เพียงในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ประธานาธิบดีคาซัคสถานและ อุซเบกิสถาน สองประเทศใหญ่สุดของเอเชียกลาง ไปเยือน อัฟกานิสถาน และประธานาธิบดี Ashraf Ghani แห่งอัฟกานิสถานก็บินขึ้นมาเยี่ยมเพื่อนบ้านทาง เหนือของตนครบทั้ง 5 ประเทศ ในทางเศรษฐกิจ เติร์กเมนิสถานกาลังเป็นหัวหอกในการทา โครงการสาคัญอันหนึ่งที่จะเชื่อมเอเชียกลางเข้า กับอัฟกานิสถานและภูมิภาคใกล้เคียง คือ โค ร งกา รว า งท่อ ก๊ าซ ธ รร มชา ติ TAPI (Turkmenistan-Afghanistan-Pakistan-India gas pipeline) ขณะที่อุซเบกิสถาน ซึ่งส่งออก กระแสไฟฟ้าให้อัฟกานิสถานอยู่แล้ว ก็กาลัง วางแผนสร้างทางรถไฟในอัฟกานิสถาน ขณะที่ ธนาคารโลกก็กาลังดาเนินโครงการ CASA-1000 ที่จะส่งกระแสไฟฟ้าจากเคอร์กีซสถานและ ทาจิกิสถานมายังอัฟกานิสถานและปากีสถาน โดยสรุป ทุกวันนี้จิตวิญญาณที่จะสร้าง การรวมกลุ่มภายในภูมิภาคได้เกิดขึ้นแล้วใน ประเทศต่างๆ ของเอเชียกลาง ก้าวต่อไปคือการ พูดคุยถึงการสร้างการรวมกลุ่มนั้นขึ้นมาอย่าง เป็นทางการ เร็วๆนี้ เหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศ ของเอเชียกลางได้พบกันเพื่อเตรียมการประชุม สาหรับเหล่าประธานาธิบดีของพวกเขาเพื่อหารือ แนวทางการจัดตั้งการรวมกลุ่มภูมิภาคภายใน ของเอเชียกลางต่อไป โดยพวกเขากาลังศึกษา ตัวอย่างของการรวมกลุ่มระดับภูมิภาคอื่นของ โลก หนึ่งในนั้น คือ อาเซียน Nordic Council และ Arab-Maghreb Union เป็นต้น แม้สิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจะเป็นเพียง จุดเริ่มต้นที่ยังห่างไกลจากความสาเร็จ แต่เมื่อ คานึงว่าประเทศเอเชียกลางนั้นล้วนเป็น “ประเทศ” มาเพียง 25 ปีในปัจจุบัน การก่อตัว ของกระแสที่ต้องการสร้างการรวมกลุ่มภายใน ภูมิภาคของตนเองก็อาจจะไม่ได้มาช้าเลยสาหรับ พัฒนาการของพวกเขา บทความนี้ตั้งข้อสังเกต ว่า คาซัคสถานและอุซเบกิสถานอาจเป็นหัวเรี่ยว หัวแรงในการสร้างกลุ่มภูมิภาคของเอเชียกลาง ได้ เช่นเดียวกับที่เยอรมันและฝรั่งเศสเป็นกาลัง และจิตวิญญาณหลักในการสรรค์สร้างสหภาพ ยุโรป และเมื่ออัฟกานิสถานมีเสถียรภาพ ก็ไม่แน่ ว่าเราอาจจะได้เห็นการเข้าร่วมของอัฟกานิสถาน ในเอเชียกลาง ในทานองเดียวกับที่ประเทศอินโด จีนเข้าร่วมอาเซียนเมื่อสงครามเย็นสงบก็เป็นได้ และเมื่อมีกลุ่มภูมิภาคของตนเอง เอเชียกลางก็ จะมีสิทธิมีเสียงในการกาหนดชะตากรรมของตน ได้มากขึ้น ในวันที่อานาจภายนอกต่างรุมกันเข้า อ้างอิง Bilahari Kausikan, S. Frederick Starr and Yang Cheng. Central Asia: All Together Now. The American Interest. ออนไลน์ https://www.the- american-interest.com/2017/06/16/central-asia-all- together-now/.
  • 12. 8 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 Lucio Blanco Pitlo III สมาชิกสมาคม จีนศึกษาแห่งประเทศฟิลิปปินส์ ได้เขียน บทความเรื่อง ASEAN Connectivity and China’s ‘One Belt, One Road’ Could there be a convergence of interests between these two grand projects? ซึ่งในเนื้อหาได้ กล่าวถึงแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียน (ASEAN Master Plan for Connectivity : AMPC) และโครงการ One Belt, One Road (OBOR) ของจีนว่ามีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก ทั้งสองโครงการต้องการที่จะเชื่อมโยงการ คมนาคมขนส่งในอาเซียน เพื่อที่จะทาให้ประเทศ สมาชิกอาเซียนใกล้ชิดกัน มีความสะดวกในการ เข้าถึงการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และเกิด การแลกเปลี่ยนระหว่างผู้คนมากขึ้น ทั้งโครงการ OBOR และแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียน ต่างต้องการให้มีระบบถนนและราง รวมไปถึง ท่าเรือต่างๆ เพื่อเชื่อมประเทศอาเซียนทางบก และทางทะเล ซึ่งการที่ทั้งสองโครงการมี จุดมุ่งหมายที่คล้ายกัน จะทาให้ทั้งสองโครงการ ส่งเสริมกันได้ในหลายๆ ทาง พร้อมกันนั้น อาจมี บางประเด็นที่เป็นอุปสรรคหรือความท้าทายต่อ กันได้ อาเซียนกับ OBOR ไปกันได้ไหม ที่มาภาพ: httpswww.shutterstock.comimage-photoshanghai-container-terminal -twilight-ablaze-lights-166070336src=N-duGVRLFKlKvnMFCLmTOw-1-1
  • 13. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 9 จีนกลายเป็นมาคู่ค้าอันดับหนึ่งของ อาเซียนตั้งแต่ปี 2009 และอาเซียนก็กลายเป็นคู่ ค้ากับอันสามของจีนตั้งแต่ปี 2011 แนวโน้ม ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการค้าระหว่างจีนและ อาเซียนมีแต่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ยิ่งหาก แผนปรับปรุงการเชื่อมโยงทั้งหมดในอาเซียน สาเร็จจะช่วยกระตุ้นการค้า และจะทาให้ทั้งจีน และอาเซียนได้ประโยชน์ร่วมกัน จีนนั้นให้ความสาคัญต่อนโยบายการทูต กับประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งการขยายการ ลงทุน และการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา อย่างเป็นทางการ (ODA-Official Development Assistance เป็นความช่วยเหลือที่มีให้แก่ ประเทศกาลังพัฒนา) โดยจีนจะให้เงินทุนสาหรับ โครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นหนึ่ง ในวิธีการสนับสนุนและแสดงความเป็นมิตรของ จีนต่อประเทศเพื่อนบ้านที่เป็นประเทศกาลัง พัฒนา ดังนั้น จากมุมมองนี้ ผลประโยชน์ร่วม ของสองโครงการนั้นชัดเจนมาก อย่างไรก็ตาม แม้อาเซียนและจีนมีความปรารถนาร่วมกันที่จะ ปรับปรุงและยกระดับการการเชื่อมโยงด้านการ คมนาคมขนส่งในอาเซียน แต่ก็ต้องดูอีกทีว่าแผน แม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนและ OBOR ของจีน จะสอดคล้องกันมากน้อยเพียงใด เมื่อพิจารณาแล้ว พบว่าแผนแม่บทการ เชื่อมโยงอาเซียนนั้นก้าวหน้าและสมบูรณ์กว่า OBOR ของจีน ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุม ระดับสูงในกลุ่มงานทางเทคนิคตั้งแต่ปี 2009 ในทางตรงกันข้าม เส้นทางสายไหมทางทะเล (Maritime Silk Road : MSR) กลับมีแค่เพียง การประกาศอย่างเป็นทางการในปี 2013 เท่านั้น และเห็นความแตกต่างได้ชัดเจนจากการที่แผน แม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนนั้น ได้มีการวางโครง ร่างของโครงการเสร็จไปหลายอย่างแล้ว แต่ของ เส้นทางสายไหมทะเลยังไม่สมบูรณ์และจีนยัง ต้องการพันธมิตรอีกมากเพื่อให้มันสาเร็จ ดังนั้น ตอนนี้จีนจึงพยายามอย่างมากที่จะให้ความ ช่วยเหลือในการดาเนินแผนโครงการการ เชื่อมโยงอาเซียน เพื่อหาพันธมิตร และหากมอง มุมอาเซียนก็จะเป็นผลดี เพราะการดาเนินการ ของแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนนี้มี ค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ดังนั้นอาเซียนจึงควรต้อนรับ ผู้บริจาคและผู้ที่ให้ความช่วยเหลือด้านการเงิน ซึ่งจีนก็ถือเป็นหนึ่งในรายใหญ่นั่นเอง จีนได้ พัฒนาศักยภาพในการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ท่าเรือ อาคารผู้โดยสาร และรถไฟความเร็ว สูง และจีนสามารถสนับสนุนทางด้านเทคโนโลยี และผู้เชี่ยวชาญให้แก่แผนการเชื่อมโยงของ อาเซียนได้ ในทางกลับกัน แผนแม่บทการ เชื่อมโยงอาเซียนยังอาจจะเป็นโอกาสในการ ดึงดูดกลุ่มธุรกิจด้านโครงสร้างพื้นฐานของจีนเข้า มาลงทุนร่วมกับทุนเอกชนท้องถิ่นของอาเซียน อีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้ ผู้เขียนเห็นว่าเป็นการได้ ผลประโยชน์ร่วมกัน จีนได้ลงทุนในอาเซียนและ ได้พันธมิตร ส่วนอาเซียนได้รับความช่วยเหลือ ทั้งทางด้านการเงิน เทคโนโลยี และผู้เชี่ยวชาญ จากจีน
  • 14. 10 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 หากดูสถานการณ์ตอนนี้ สามารถพูดได้ ว่า ความร่วมมือกันระหว่างจีนและอาเซียนใน การทาแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียนกาลัง เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างคือ การรวมกันของสอง เส้นทาง คือ เส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์ ที่มีระยะทาง 7,000 กิโลเมตร กับแผนการ เชื่อมต่อทางรถไฟของอาเซียนทางบก หาก สาเร็จ ทาให้เส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์ ที่เชื่อมระหว่างคุนหมิง เมืองหลวงของมณฑล ยูนนานของจีน เข้ากับเมืองหลวงของประเทศ อาเซียนที่อยู่บนแผ่นดินใหญ่ทั้งหมด (ยกเว้น เพียงมาเลเซีย ที่ไม่ได้เข้ากัวลาลัมเปอร์เพราะ เส้นทางจะแยกเข้าสู่สิงคโปร์ก่อน) และสิ้นสุดที่ สิงคโปร์ได้สาเร็จ อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ความร่วมมือ ระหว่างจีนกับอาเซียนในด้านการสร้างทางรถไฟ และถนนกาลังเพิ่มสูงขึ้น แต่การเชื่อมโยงทาง ทะเลนั้นยังไม่ค่อยมีอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ในเดือน มีนาคม 2013 มีรายงาน ระบุเส้นทางต่างๆ สาหรับการเชื่อมโยงทางทะเล ASEAN RO-RO Network (ARN) โดยมี 3 เส้นทางที่ถูกจัดเป็น priority สาคัญในการดาเนินการในปี 2015 คือ 1. Dumai อินโดนีเซีย – มะละกา มาเลเซีย 2. Belawan อินโดนีเซีย – ปีนัง มาเลเซีย – ภูเก็ต ไทย และ 3. Daval/General SanTos ฟิลิปปินส์ – Bitung อินโดนีเซีย ผู้เขียนสนับสนุนการสร้างกรอบความ ร่วมมือ Brunei Darussalam, Indonesia, Ma- laysia, and the Philippines-East ASEAN Growth Area (BIMP-EAGA) ซึ่งอาเซียนจะ ได้รับประโยชน์หากการเชื่อมโยงทางทะเลของ อาเซียนสาเร็จ และมันจะช่วยกระตุ้นการค้าทาง ทะเลภายในภูมิภาคและการพาณิชย์ในประเทศที่ มีศักยภาพแต่ไม่ได้รับการใส่ใจเท่าที่ควร แต่การ มีโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ จะสามารถเปิดพื้นที่ เหล่านี้เพื่อการลงทุนในอนาคตและสร้างโอกาส ทางเศรษฐกิจในพื้นที่ดังกล่าว เช่น พื้นที่ทาง ตอนใต้ของเกาะมินดาเนาและหมู่เกาะซูลู นอกจากสร้างกรอบความร่วมมือแล้ว ยังต้อง ร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิด สิทธิ์ทางทะเล การก่อการร้าย การลักลอบนาเข้า และการก่อการร้ายในทะเล เพื่อรักษาความ ปลอดภัยในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทาง ทะเลและป้องกันการเดินเรือในเส้นทางดังกล่าว ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา จีนได้วางเงินในการ ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางบกของอาเซียน เป็นจานวนมาก อย่างไรก็ตาม จีนไม่ได้ให้ ความสาคัญกับการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทางทะเลของประเทศอาเซียนสักเท่าไรนัก ประเด็นนี้อธิบายได้ด้วยหลายปัจจัย อย่างแรก คือ การขาดการเชื่อมโยงโดยตรงระหว่างจีนกับ การเชื่อมโยงทางทะเลของอาเซียน ซึ่งต่างกับ การเชื่อมโยงทางบกผ่านทางรถไฟจากคุนหมิง มาบรรจบกับท่าเรือของอาเซียนผ่านเส้นทาง รถไฟคุนหมิง-สิงคโปร์ การเชื่อมโยงทางทะเล
  • 15. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 11 ของอาเซียนนั้นมีระยะทางไกลจากท่าเรือจีนส่วน ใหญ่ทาให้เชื่อมโยงกันได้ยาก หากมองจาก มุมมองทางเศรษฐกิจ การเชื่อมโยงทางทะเลของ อาเซียนอาจจะไม่สาคัญพอ และไม่ได้สร้างมูลค่า มากพอสาหรับจีน แต่การที่แผนแม่บทการ เชื่อมโยงอาเซียนรวมเอาทั้งการเชื่อมโยงทางบก และทางทะเลเข้าด้วยกัน ทาให้การเชื่อมโยงทาง ทะเลดังกล่าวกลายเป็นโอกาสสาหรับจีนที่จะ แสดงให้เห็นนโยบายการทูตที่เป็นมิตรต่อ ประเทศเพื่อนบ้าน ดังนั้น สาหรับประเทศจีน การสนับสนุนเส้นทางการเชื่อมโยงทางทะเลของ อาเซียนอาจทาให้ได้รับการยอมรับจากประเทศ อาเซียนทางทะเลเช่นเดียวกับประเทศอาเซียน ทางบก สถาบันคลังปัญญาฯ ขอเสนอในมุมของ ไทย เพราะต้องเกี่ยวข้องกับไทยอย่างแน่นอน โดยเฉพาะในประเด็นเส้นทางรถไฟที่ต้องผ่าน ไทย อยากให้มองถึงประโยชน์ที่ไทยจะได้จริงๆ หากมีการก่อสร้างเกิดขึ้น แต่หากมองในมุมของ จีน จีนได้แน่นอน โดยเฉพาะรถไฟสายคุนหมิง- สิงคโปร์ จีนจะได้ประโยชน์จากการสร้างถึง 85% แต่ประโยชน์จากการใช้จริงมีน้อย จึงอยากให้ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องศึกษาให้ชัดเจนว่าจริงๆ แล้ว หากมีการก่อสร้างทางรถไฟ เราจะได้ใช้ ประโยชน์มากน้อยเพียงใด อะไรที่ไม่ใช่ ผลประโยชน์ของเรา เราต้องหนักแน่น ต้องแสดง จุดยืนให้ชัดเจน แต่ก็ควรคานึงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างไทยกับจีนด้วย เพราะไทยกับจีนมี ความสัมพันธ์อันดีมาอย่างยาวนาน และตอนนี้ จีนเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย รวมถึงการ ท่องเที่ยวที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทย จีนก็เป็นแหล่งนักท่องเที่ยวใหญ่เช่นกัน อ้างอิง Lucio Blanco Pitlo III. ASEAN Connectivity and China’s ‘One Belt, One Road’. The Diplomat. http://thediplomat.com/2015/03/ asean-connectivity-and-chinas-one-belt-one-road/
  • 16. 12 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State) อ.อาทิตย์ ทองอินทร์ เอนกทรรศน์ ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ บูรพาภิวัตน์ ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ สั่งซื้อได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ CPWI Bookstore
  • 17. WORLD THINK TANK Monitor JUNE 2017 | 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของศาสตราจารย์ ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไร รัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ต้องการให้เป็น คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจดังนี้ 1. สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ชี้นาแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างมีสุข ภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ 2. หนุนเสริมพลังความคิดและความรู้ทางวิชาการ ระหว่างสถาบันทางวิชาการต่างๆ ใน ประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ 3. เป็นแหล่งรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มีประสบการณ์ เพื่อ ร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย 4. เปิดพื้นที่ทางความคิดและเชื่อมโยงภาคีต่างๆ ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้และแลกเปลี่ยน ความคิดอย่างสร้างสรรค์ 5. เป็นสื่อกลางเผยแพร่ความรู้จากนักคิด นักยุทธศาสตร์ และนักวิชาการ ผ่าน ช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้กับสังคมในวงกว้าง สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีความ ปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มีประสบการณ์ มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวทีการประชุมต่างๆ เช่น เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง สถาบันคลังปั ญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
  • 18. 14 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.rsu-brain.org Tel. 02-938-8826 Fax. 02-938-8864