SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ยุทธศาสตร์การลดความเหลื่อมล้้า
ในสังคมไทย
โดย นายเอ็นนู ซื่อสุวรรณ
 สถานการณ์ความเหลื่อมล้้าในประเทศไทย
 ภาพรวมร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
 ร่างยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ 4
การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
 ประเด็นภายใต้แผนแม่บท
 มาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้า
Outline
สถานการณ์ความเหลื่อมล้้าในประเทศไทย
สถานการณ์ความเหลื่อมล้้าในประเทศไทย
การพัฒนาประเทศส่งผลให้ความยากจนลดลงต่อเนื่อง แต่ความเหลื่อมล้้าไม่ได้ปรับตัวดีขึ้นอย่างมีนัยส้าคัญ
สัดส่วนความยากจนลดลงจาก 65.17 ในปี 2531 เหลือ 10.53 ในปี 2558
ในขณะที่ ความเหลื่อมล้้าค่อนข้างทรงตัว
โดยค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ (Gini coefficient) ตั้งแต่ปี 2531-2558 อยู่ที่ระดับสูง (0.4-0.5)
0.49
0.52 0.54 0.52 0.51 0.51 0.52 0.51 0.49 0.51 0.50 0.49 0.48 0.47 0.45
65.17
57.97
50.04
42.54
35.25
38.63
42.33
32.44
26.76
21.94 20.04 17.88
13.22 10.94 10.53 0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
60.00
70.00
0.00
0.10
0.20
0.30
0.40
0.50
0.60
2531
2533
2535
2537
2539
2541
2543
2545
2547
2549
2550
2552
2554
2556
2558
สัดส่วนคนจน(ร้อยละ)
สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค(Gini)
Gini Coefficient สัดส่วนคนจน
1
สถานการณ์ความเหลื่อมล้้า : ด้านรายได้
สัดส่วนรายได้ของประชากร จ้าแนกตามกลุ่มประชากร ตามระดับรายได้ (Decile by Income) ปี 2543-2558
• สัดส่วนรายได้ของคนจนที่สุด (กลุ่ม 10% ที่ 1) ตั้งแต่ปี 2543-2558 อยู่ที่ระดับร้อยละ 1.3-1.5
• ส่วนสัดส่วนรายได้ของคนรวยที่สุด (กลุ่ม 10 % ที่ 10) ตั้งแต่ปี 2543-2558 อยู่ที่ระดับร้อยละ 35-40
• ในปี 2558 รายได้ยังคงกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนรวยที่สุดถือครองรายได้สูงถึง 34.98% ของรายได้ทั้งหมด ขณะที่กลุ่มคนจนที่สุดถือครองรายได้
เพียง 1.58% ของรายได้ทั้งหมด จึงทาให้ความแตกต่างของรายได้ห่างกัน 22.08 เท่า
กลุ่มประชากรตามระดับรายได้
สัดส่วนรายได้ของประชากร (ร้อยละ)
2543 2545 2547 2549 2550 2552 2554 2556 2558
กลุ่ม 10% ที่ 1 (จนที่สุด) 1.50 1.61 1.75 1.34 1.55 1.62 1.56 1.06 1.58
กลุ่ม 10% ที่ 2 2.45 2.57 2.73 2.46 2.66 2.80 3.05 3.10 3.34
กลุ่ม 10% ที่ 3 3.22 3.40 3.56 3.34 3.51 3.66 3.88 4.03 4.22
กลุ่ม 10% ที่ 4 4.06 4.29 4.46 4.28 4.45 4.59 4.76 4.97 5.18
กลุ่ม 10% ที่ 5 5.09 5.35 5.55 5.39 5.56 5.65 5.77 6.07 6.29
กลุ่ม 10% ที่ 6 6.42 6.71 6.90 6.78 6.97 7.01 7.02 7.40 7.63
กลุ่ม 10% ที่ 7 8.37 8.59 8.73 8.67 8.86 8.84 8.66 9.15 9.33
กลุ่ม 10% ที่ 8 11.48 11.52 11.61 11.49 11.49 11.43 10.92 11.65 11.66
กลุ่ม 10% ที่ 9 17.06 16.48 16.41 16.26 16.08 15.95 15.11 15.77 15.78
กลุ่ม 10% ที่ 10 (รวยที่สุด) 40.36 39.48 38.30 39.98 38.87 38.44 39.27 36.81 34.98
รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
สัดส่วนกลุ่มที่10/กลุ่มที่1 (เท่า) 26.82 24.50 21.93 29.92 25.10 23.76 25.23 34.85 22.08
2
สถานการณ์ความเหลื่อมล้้า : ด้านการเข้าถึงบริการของภาครัฐ
• กลุ่มคนจนที่สุดอัตราเข้าเรียนร้อยละ 2.5-4.2
• กลุ่มคนรวยที่สุดอัตราเข้าเรียนร้อยละ 50-65
• ปี 2559 อัตราการศึกษาต่อในระดับปริญญา
ตรี 27.8 % กลุ่มคนรวยสุดมีอัตราการเข้า
เรียนสุทธิเป็น 15.7 เท่า ของกลุ่มคนจนสุด
ด้านการศึกษา
กลุ่มประชากรตามระดับ
รายจ่ายฯ
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559
10% ที่ 1 จ่ายน้อยสุด 1.4 2.6 2.4 4 3.5 3.6 3.6 4.2
10% ที่ 2 5.4 9.1 7.1 6.4 7.4 7.3 6.9 11.1
10% ที่ 3 6.3 10.2 8.2 8.6 9.2 6.0 10.7 13.6
10% ที่ 4 12.4 12.5 15.4 14.2 11.7 9.2 11.8 16.4
10% ที่ 5 15.1 17.7 15 15.1 16.9 15.7 17.7 18.4
10% ที่ 6 21 16.6 21.4 21.9 21.6 20.1 23.5 22.1
10% ที่ 7 26.2 25.4 25 30.9 31.3 31.1 28.2 29.9
10% ที่ 8 29.6 27.9 32.3 44.4 43.5 38.0 35.3 37.0
10% ที่ 9 43.8 45.1 42.8 53.1 53.1 52.9 46.7 51.3
10% ที่ 10 จ่ายมากสุด 59.3 51.7 45 66 67.3 60.0 62.8 65.8
รวม 23.9 23.1 21.9 28.5 29.7 25.5 24.9 27.8
10% จ่ายมากสุด /
10% จ่ายน้อยสุด (เท่า)
42.4 19.9 18.8 16.5 19.2 16.7 17.4 15.7
การเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ปี 2552-2559
อัตราการเข้าเรียนสุทธิ (Net enrolment rate) ในระดับปริญญาตรี (รวม ปวส.)
จ้าแนกกลุ่มประชากรตามระดับรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค (Decile by expenditure) ปี 2552-2559
3
สถานการณ์ความเหลื่อมล้้า : ด้านการเข้าถึงบริการของภาครัฐ
ผู้สูงอายุและคนพิการที่ยากจนได้รับเบี้ยยังชีพ
ในสัดส่วนที่สูงกว่าคนพิการที่ไม่ยากจน
การเข้าถึงน้้าปะปา โทรศัพท์เคลื่อนที่ และเทคโนโลยีฯ
ยังมีความแตกต่างตามเศรษฐานะ
รายงานความเป็นธรรมโลก ปี 2559 ดัชนีหลักนิติธรรม
(Rule of Law Index) ในภาพรวมของประเทศไทย
สวัสดิการสังคม โครงสร้างพื้นฐาน กระบวนการยุติธรรม
10%
จนสุด
10%
รวยสุด
90.09%
ผู้สูงอายุ
54.6%
ผู้สูงอายุ
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ/คนพิการ
66.35%
คนพิการ
22.07%
คนพิการ
4
น้้าปะปา
โทรศัพท์
10% รวยสุด
10% จนสุด
เมือง
ชนบท
10% รวยสุด
10% จนสุด
เมือง
ชนบท
98.17%
87.87%
98.21%
91.15%
26.23%
0.35%
13.75%
3.34%
เทคโนโลยีฯ
10% รวยสุด
10% จนสุด 2.76%
51.46%
การเข้าถึงคอมฯ
การเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
10% รวยสุด
10% จนสุด
44.10%
0.78%
ภาพรวมของประเทศไทย
ล้าดับที่ 46
จาก 113 ประเทศทั่วโลก
ล้าดับที่ 10
จาก 15 ประเทศในกลุ่ม
ภูมิภาคเอเชียตะวันออก
และแปซิฟิก
คะแนน
สูงสุด
คะแนน
น้อยสุด
ความสงบเรียบร้อย/
ปลอดภัย
กระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา
0.70
คะแนน
0.45
คะแนน
ที่มา : ข้อมูลการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2559, ประมวลผลโดยสานักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สศช.
ภาพรวมร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
เป้าหมายการพัฒนาประเทศภาพรวม
“ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสุข
เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
สังคมเป็นธรรม
ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน”
เป้าหมายการพัฒนารายยุทธศาสตร์
ความมั่นคง การสร้างความสามารถใน
การแข่งขัน
การพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์
การสร้างโอกาสและ
ความเสมอภาคทางสังคม
การสร้างการเติบโตที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ
5
ร่างยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ 4
การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ยุทธศาสตร์ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
6
2 4การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
การลดความเหลื่อมล้้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
1 3 การเสริมสร้างพลังทางสังคม
การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาการ
พึ่งตนเองและการจัดการตนเอง
• ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
• ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผู้บริโภค
• กระจายการถือครองที่ดินและการเข้าถึงทรัพยากร
• เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพและความริเริ่ม
สร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการท้างาน
• สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ทุกเพศภาวะและทุก
กลุ่ม
• ลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้าเพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสโดยตรง
• สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะส้าหรับผู้มี
รายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
• สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างทั่วถึง
• พัฒนาศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในภูมิภาค
• ก้าหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละกลุ่มจังหวัดในมิติต่าง ๆ
• จัดระบบเมืองที่เอื้อต่อการสร้างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัยให้
สามารถตอบสนองต่อสังคมสูงวัยและแนวโน้มของการขยายตัวของเมืองใน
อนาคต
• ปรับโครงสร้างและแก้ไขกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อวางระบบและกลไก
การบริหารงานในระดับภาค กลุ่มจังหวัด
• สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่บนฐานข้อมูลความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
• พัฒนาก้าลังแรงงานในพื้นที่
• สร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปัน ไม่ทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม
• การรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
• สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ
ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน
• ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร้างสรรค์สังคม
• สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
• สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสร้างสรรค์ เพื่อรองรับสังคม
ยุคดิจิทัล
• ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให้มีขีดความสามารถใน
การจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ
• เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง
• สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างประชาธิปไตยชุมชน
• สร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญาให้กับชุมชน
ตัวชี้วัดเป้าหมาย
1 สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้้าในทุกมิติ
2 กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มโอกาสให้ทุก
ภาคส่วนเข้ามาเป็นก้าลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับเพื่อความ
สมานฉันท์
3 เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา
การพึ่งตนเองและการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
เป้าหมาย 20 ปี
ตัวชี้วัดที่ 1 ความแตกต่างของรายได้และการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ระหว่างกลุ่มประชากร
ตัวชี้วัดที่ 2 ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน
ตัวชี้วัดที่ 3 ความก้าวหน้าในการพัฒนาจังหวัดในการเป็น
ศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และ
เทคโนโลยี
ตัวชี้วัดที่ 4 คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ
ประเด็นยุทธศาสตร์
ประเด็นภายใต้แผนแม่บท
ประเด็นภายใต้แผนแม่บท
ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
เพิ่มศักยภาพเกษตรกร ให้มีระบบการจัดการ
ตนเอง เข้าถึงเทคโนโลยี นวัตกรรม ช่องทาง
การตลาด รวมทั้งสร้างกลไกปกป้องเศรษฐกิจ
ชุมชน/วิสาหกิจชุมชน
ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครอง
ผู้บริโภค
จัดเก็บภาษีถือครองทรัพย์สิน พัฒนาเทคโนโลยี
ช่วยในการจัดเก็บฐานข้อมูลการท้าธุรกรรม
การเงินของประชาชน และปรับปรุงกลไกในการ
คุ้มครองผู้บริโภค
การกระจายการถือครองที่ดินและ
การเข้าถึงทรัพยากร
จ้ากัดการถือครองที่ดินแบบผูกขาด ปรับปรุง
การใช้ประโยชน์ที่ดินสาธารณะเพื่อการ
ประกอบอาชีพส้าหรับประชาชน และก้าหนด
มาตรการให้ผู้มีรายได้น้อยและไม่มีที่ดินเข้าถึง
การใช้ประโยชน์จากที่ดิน
เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงาน
ไทย
พัฒนาคุณภาพแรงงาน ทั้งทักษะด้านฝีมือ
แรงงานและความสามารถด้านเทคโนโลยี ภาษา
และการจัดการ ให้ความคุ้มครองแรงงาน
สนับสนุนการรวมกลุ่มของแรงงาน
สร้างหลักประกันทางสังคมที่
ครอบคลุมคนทุกช่วงวัย ทุกเพศภาวะ
และทุกกลุ่ม
สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการด้ารงชีวิต
ส้าหรับคนทุกกลุ่ม พัฒนาการให้บริการ
สวัสดิการ ตลอดจนส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจ
ในการออม
การลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้า
ออกแบบมาตรการเพื่อให้สามารถระบุตัว
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือเป็น
พิเศษ และให้ความคุ้มครองทางสังคมและ
สวัสดิการอย่างเฉพาะเจาะจงกลุ่มเป้าหมาย
สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึง
บริการสาธารณสุขและการศึกษา
พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมผู้มี
รายได้น้อย และสร้างโอกาสในการเข้าถึง
การศึกษาที่มีคุณภาพที่เป็นมาตรฐานเสมอกัน
สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึง
กระบวนการยุติธรรมอย่างทั่วถึง
สร้างหลักประกันในการเข้าถึงความยุติธรรม
อย่างเท่าเทียมกัน บังคับใช้กฎหมายอย่าง
เคร่งครัด เป็นธรรมและเสมอภาค
7
มาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้้า
แผนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ
ด้านการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตในระดับบุคคล
•การขยายผลโครงการในพระราชดาริ
•พัฒนา Big Data ภาคเกษตร
•พัฒนาชลประทานเพื่อการเกษตร
•ส่งเสริม Smart farmer และ Precision farming
•สร้างแรงงานคุณภาพ (Super Worker)
ด้านการเสริมสร้างพลังอานาจชุมชน
•ส่งเสริมระบบสถาบันการเงินชุมชน
•พัฒนาธุรกิจชุมชน
•จัดตั้ง Social Investment Fund (SIF)
ด้านการสร้างสมดุลระดับประเทศ
•ขยายความคุ้มครองของกองทุนประกันสังคม
•ประสานโครงการสวัสดิการในปัจจุบัน
•ระบบ Negative Income Tax : NIT
•ปฏิรูประบบภาษี
•สร้างความมั่นคงด้านที่ดินให้กับประชาชน
•สร้างความมีส่วนร่วมจากภาคเอกชน
แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม
การปฏิรูปการออม สวัสดิการ และการลงทุนเพื่อสังคม
•การเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
•สร้างระบบให้คนไทยมีบาเหน็จบานาญหลังพ้นวัยทางาน
•ปรับปรุงสวัสดิการต่าง ๆ ให้เหมาะสมและเป็นธรรม
•พัฒนาการออมภาคบังคับ
การช่วยเหลือกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคม
•ส่งเสริมหลักการออกแบบสากล (Universal Design)
•ปฏิรูปกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
•เสริมสร้างศักยภาพผู้สูงอายุในการทางาน
•ปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้บริโภค
•ปฏิรูปการขึ้นทะเบียนกับผู้ไร้สถานะทางทะเบียนราษฎร
•การเสริมพลังสตรี
การจัดการข้อมูลและองค์ความรู้ด้านสังคม
•เปิดเผยข้อมูลที่ประชาชนต้องการทราบ และสร้างการรับรู้
•พัฒนาข้อมูลด้านภาษีเพื่อสร้างความเป็นธรรมในการช่วยเหลือของรัฐ
มาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้้าของรัฐบาล
มาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้้าที่รัฐบาลก้าลังด้าเนินการ และผลักดันให้เกิดผลอย่างเร่งด่วน
ขยายความครอบคลุมระบบประกันสังคม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 เพิ่มเติมกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
พ.ร.บ. ทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 พ.ร.บ.เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ร.บ.ภาษีการรับมรดก พ.ศ.2558
 
  
และมาตรการในแผนการปฏิรูปประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเหลื่อมล้้า
8

More Related Content

More from Klangpanya

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
 

ยุทธศาสตร์การลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย

  • 2.  สถานการณ์ความเหลื่อมล้้าในประเทศไทย  ภาพรวมร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี  ร่างยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม  ประเด็นภายใต้แผนแม่บท  มาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้า Outline
  • 4. สถานการณ์ความเหลื่อมล้้าในประเทศไทย การพัฒนาประเทศส่งผลให้ความยากจนลดลงต่อเนื่อง แต่ความเหลื่อมล้้าไม่ได้ปรับตัวดีขึ้นอย่างมีนัยส้าคัญ สัดส่วนความยากจนลดลงจาก 65.17 ในปี 2531 เหลือ 10.53 ในปี 2558 ในขณะที่ ความเหลื่อมล้้าค่อนข้างทรงตัว โดยค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ (Gini coefficient) ตั้งแต่ปี 2531-2558 อยู่ที่ระดับสูง (0.4-0.5) 0.49 0.52 0.54 0.52 0.51 0.51 0.52 0.51 0.49 0.51 0.50 0.49 0.48 0.47 0.45 65.17 57.97 50.04 42.54 35.25 38.63 42.33 32.44 26.76 21.94 20.04 17.88 13.22 10.94 10.53 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 0.00 0.10 0.20 0.30 0.40 0.50 0.60 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2550 2552 2554 2556 2558 สัดส่วนคนจน(ร้อยละ) สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค(Gini) Gini Coefficient สัดส่วนคนจน 1
  • 5. สถานการณ์ความเหลื่อมล้้า : ด้านรายได้ สัดส่วนรายได้ของประชากร จ้าแนกตามกลุ่มประชากร ตามระดับรายได้ (Decile by Income) ปี 2543-2558 • สัดส่วนรายได้ของคนจนที่สุด (กลุ่ม 10% ที่ 1) ตั้งแต่ปี 2543-2558 อยู่ที่ระดับร้อยละ 1.3-1.5 • ส่วนสัดส่วนรายได้ของคนรวยที่สุด (กลุ่ม 10 % ที่ 10) ตั้งแต่ปี 2543-2558 อยู่ที่ระดับร้อยละ 35-40 • ในปี 2558 รายได้ยังคงกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนรวยที่สุดถือครองรายได้สูงถึง 34.98% ของรายได้ทั้งหมด ขณะที่กลุ่มคนจนที่สุดถือครองรายได้ เพียง 1.58% ของรายได้ทั้งหมด จึงทาให้ความแตกต่างของรายได้ห่างกัน 22.08 เท่า กลุ่มประชากรตามระดับรายได้ สัดส่วนรายได้ของประชากร (ร้อยละ) 2543 2545 2547 2549 2550 2552 2554 2556 2558 กลุ่ม 10% ที่ 1 (จนที่สุด) 1.50 1.61 1.75 1.34 1.55 1.62 1.56 1.06 1.58 กลุ่ม 10% ที่ 2 2.45 2.57 2.73 2.46 2.66 2.80 3.05 3.10 3.34 กลุ่ม 10% ที่ 3 3.22 3.40 3.56 3.34 3.51 3.66 3.88 4.03 4.22 กลุ่ม 10% ที่ 4 4.06 4.29 4.46 4.28 4.45 4.59 4.76 4.97 5.18 กลุ่ม 10% ที่ 5 5.09 5.35 5.55 5.39 5.56 5.65 5.77 6.07 6.29 กลุ่ม 10% ที่ 6 6.42 6.71 6.90 6.78 6.97 7.01 7.02 7.40 7.63 กลุ่ม 10% ที่ 7 8.37 8.59 8.73 8.67 8.86 8.84 8.66 9.15 9.33 กลุ่ม 10% ที่ 8 11.48 11.52 11.61 11.49 11.49 11.43 10.92 11.65 11.66 กลุ่ม 10% ที่ 9 17.06 16.48 16.41 16.26 16.08 15.95 15.11 15.77 15.78 กลุ่ม 10% ที่ 10 (รวยที่สุด) 40.36 39.48 38.30 39.98 38.87 38.44 39.27 36.81 34.98 รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 สัดส่วนกลุ่มที่10/กลุ่มที่1 (เท่า) 26.82 24.50 21.93 29.92 25.10 23.76 25.23 34.85 22.08 2
  • 6. สถานการณ์ความเหลื่อมล้้า : ด้านการเข้าถึงบริการของภาครัฐ • กลุ่มคนจนที่สุดอัตราเข้าเรียนร้อยละ 2.5-4.2 • กลุ่มคนรวยที่สุดอัตราเข้าเรียนร้อยละ 50-65 • ปี 2559 อัตราการศึกษาต่อในระดับปริญญา ตรี 27.8 % กลุ่มคนรวยสุดมีอัตราการเข้า เรียนสุทธิเป็น 15.7 เท่า ของกลุ่มคนจนสุด ด้านการศึกษา กลุ่มประชากรตามระดับ รายจ่ายฯ 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 10% ที่ 1 จ่ายน้อยสุด 1.4 2.6 2.4 4 3.5 3.6 3.6 4.2 10% ที่ 2 5.4 9.1 7.1 6.4 7.4 7.3 6.9 11.1 10% ที่ 3 6.3 10.2 8.2 8.6 9.2 6.0 10.7 13.6 10% ที่ 4 12.4 12.5 15.4 14.2 11.7 9.2 11.8 16.4 10% ที่ 5 15.1 17.7 15 15.1 16.9 15.7 17.7 18.4 10% ที่ 6 21 16.6 21.4 21.9 21.6 20.1 23.5 22.1 10% ที่ 7 26.2 25.4 25 30.9 31.3 31.1 28.2 29.9 10% ที่ 8 29.6 27.9 32.3 44.4 43.5 38.0 35.3 37.0 10% ที่ 9 43.8 45.1 42.8 53.1 53.1 52.9 46.7 51.3 10% ที่ 10 จ่ายมากสุด 59.3 51.7 45 66 67.3 60.0 62.8 65.8 รวม 23.9 23.1 21.9 28.5 29.7 25.5 24.9 27.8 10% จ่ายมากสุด / 10% จ่ายน้อยสุด (เท่า) 42.4 19.9 18.8 16.5 19.2 16.7 17.4 15.7 การเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ปี 2552-2559 อัตราการเข้าเรียนสุทธิ (Net enrolment rate) ในระดับปริญญาตรี (รวม ปวส.) จ้าแนกกลุ่มประชากรตามระดับรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค (Decile by expenditure) ปี 2552-2559 3
  • 7. สถานการณ์ความเหลื่อมล้้า : ด้านการเข้าถึงบริการของภาครัฐ ผู้สูงอายุและคนพิการที่ยากจนได้รับเบี้ยยังชีพ ในสัดส่วนที่สูงกว่าคนพิการที่ไม่ยากจน การเข้าถึงน้้าปะปา โทรศัพท์เคลื่อนที่ และเทคโนโลยีฯ ยังมีความแตกต่างตามเศรษฐานะ รายงานความเป็นธรรมโลก ปี 2559 ดัชนีหลักนิติธรรม (Rule of Law Index) ในภาพรวมของประเทศไทย สวัสดิการสังคม โครงสร้างพื้นฐาน กระบวนการยุติธรรม 10% จนสุด 10% รวยสุด 90.09% ผู้สูงอายุ 54.6% ผู้สูงอายุ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ/คนพิการ 66.35% คนพิการ 22.07% คนพิการ 4 น้้าปะปา โทรศัพท์ 10% รวยสุด 10% จนสุด เมือง ชนบท 10% รวยสุด 10% จนสุด เมือง ชนบท 98.17% 87.87% 98.21% 91.15% 26.23% 0.35% 13.75% 3.34% เทคโนโลยีฯ 10% รวยสุด 10% จนสุด 2.76% 51.46% การเข้าถึงคอมฯ การเข้าถึงอินเตอร์เน็ต 10% รวยสุด 10% จนสุด 44.10% 0.78% ภาพรวมของประเทศไทย ล้าดับที่ 46 จาก 113 ประเทศทั่วโลก ล้าดับที่ 10 จาก 15 ประเทศในกลุ่ม ภูมิภาคเอเชียตะวันออก และแปซิฟิก คะแนน สูงสุด คะแนน น้อยสุด ความสงบเรียบร้อย/ ปลอดภัย กระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา 0.70 คะแนน 0.45 คะแนน ที่มา : ข้อมูลการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2559, ประมวลผลโดยสานักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สศช.
  • 9. ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป้าหมายการพัฒนาประเทศภาพรวม “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” เป้าหมายการพัฒนารายยุทธศาสตร์ ความมั่นคง การสร้างความสามารถใน การแข่งขัน การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ การสร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม การสร้างการเติบโตที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ 5
  • 11. ยุทธศาสตร์ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 6 2 4การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี การลดความเหลื่อมล้้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ 1 3 การเสริมสร้างพลังทางสังคม การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาการ พึ่งตนเองและการจัดการตนเอง • ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก • ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผู้บริโภค • กระจายการถือครองที่ดินและการเข้าถึงทรัพยากร • เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพและความริเริ่ม สร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการท้างาน • สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ทุกเพศภาวะและทุก กลุ่ม • ลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้าเพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสโดยตรง • สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะส้าหรับผู้มี รายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส • สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างทั่วถึง • พัฒนาศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในภูมิภาค • ก้าหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละกลุ่มจังหวัดในมิติต่าง ๆ • จัดระบบเมืองที่เอื้อต่อการสร้างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัยให้ สามารถตอบสนองต่อสังคมสูงวัยและแนวโน้มของการขยายตัวของเมืองใน อนาคต • ปรับโครงสร้างและแก้ไขกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อวางระบบและกลไก การบริหารงานในระดับภาค กลุ่มจังหวัด • สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่บนฐานข้อมูลความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม • พัฒนาก้าลังแรงงานในพื้นที่ • สร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปัน ไม่ทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม • การรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ • สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน • ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร้างสรรค์สังคม • สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม • สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสร้างสรรค์ เพื่อรองรับสังคม ยุคดิจิทัล • ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให้มีขีดความสามารถใน การจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ • เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง • สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างประชาธิปไตยชุมชน • สร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญาให้กับชุมชน ตัวชี้วัดเป้าหมาย 1 สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้้าในทุกมิติ 2 กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มโอกาสให้ทุก ภาคส่วนเข้ามาเป็นก้าลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับเพื่อความ สมานฉันท์ 3 เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ เป้าหมาย 20 ปี ตัวชี้วัดที่ 1 ความแตกต่างของรายได้และการเข้าถึงบริการภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประชากร ตัวชี้วัดที่ 2 ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน ตัวชี้วัดที่ 3 ความก้าวหน้าในการพัฒนาจังหวัดในการเป็น ศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยี ตัวชี้วัดที่ 4 คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ ประเด็นยุทธศาสตร์
  • 13. ประเด็นภายใต้แผนแม่บท ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก เพิ่มศักยภาพเกษตรกร ให้มีระบบการจัดการ ตนเอง เข้าถึงเทคโนโลยี นวัตกรรม ช่องทาง การตลาด รวมทั้งสร้างกลไกปกป้องเศรษฐกิจ ชุมชน/วิสาหกิจชุมชน ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครอง ผู้บริโภค จัดเก็บภาษีถือครองทรัพย์สิน พัฒนาเทคโนโลยี ช่วยในการจัดเก็บฐานข้อมูลการท้าธุรกรรม การเงินของประชาชน และปรับปรุงกลไกในการ คุ้มครองผู้บริโภค การกระจายการถือครองที่ดินและ การเข้าถึงทรัพยากร จ้ากัดการถือครองที่ดินแบบผูกขาด ปรับปรุง การใช้ประโยชน์ที่ดินสาธารณะเพื่อการ ประกอบอาชีพส้าหรับประชาชน และก้าหนด มาตรการให้ผู้มีรายได้น้อยและไม่มีที่ดินเข้าถึง การใช้ประโยชน์จากที่ดิน เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงาน ไทย พัฒนาคุณภาพแรงงาน ทั้งทักษะด้านฝีมือ แรงงานและความสามารถด้านเทคโนโลยี ภาษา และการจัดการ ให้ความคุ้มครองแรงงาน สนับสนุนการรวมกลุ่มของแรงงาน สร้างหลักประกันทางสังคมที่ ครอบคลุมคนทุกช่วงวัย ทุกเพศภาวะ และทุกกลุ่ม สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการด้ารงชีวิต ส้าหรับคนทุกกลุ่ม พัฒนาการให้บริการ สวัสดิการ ตลอดจนส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจ ในการออม การลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้า ออกแบบมาตรการเพื่อให้สามารถระบุตัว กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือเป็น พิเศษ และให้ความคุ้มครองทางสังคมและ สวัสดิการอย่างเฉพาะเจาะจงกลุ่มเป้าหมาย สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึง บริการสาธารณสุขและการศึกษา พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมผู้มี รายได้น้อย และสร้างโอกาสในการเข้าถึง การศึกษาที่มีคุณภาพที่เป็นมาตรฐานเสมอกัน สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึง กระบวนการยุติธรรมอย่างทั่วถึง สร้างหลักประกันในการเข้าถึงความยุติธรรม อย่างเท่าเทียมกัน บังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด เป็นธรรมและเสมอภาค 7
  • 15. แผนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ด้านการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตในระดับบุคคล •การขยายผลโครงการในพระราชดาริ •พัฒนา Big Data ภาคเกษตร •พัฒนาชลประทานเพื่อการเกษตร •ส่งเสริม Smart farmer และ Precision farming •สร้างแรงงานคุณภาพ (Super Worker) ด้านการเสริมสร้างพลังอานาจชุมชน •ส่งเสริมระบบสถาบันการเงินชุมชน •พัฒนาธุรกิจชุมชน •จัดตั้ง Social Investment Fund (SIF) ด้านการสร้างสมดุลระดับประเทศ •ขยายความคุ้มครองของกองทุนประกันสังคม •ประสานโครงการสวัสดิการในปัจจุบัน •ระบบ Negative Income Tax : NIT •ปฏิรูประบบภาษี •สร้างความมั่นคงด้านที่ดินให้กับประชาชน •สร้างความมีส่วนร่วมจากภาคเอกชน แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม การปฏิรูปการออม สวัสดิการ และการลงทุนเพื่อสังคม •การเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) •สร้างระบบให้คนไทยมีบาเหน็จบานาญหลังพ้นวัยทางาน •ปรับปรุงสวัสดิการต่าง ๆ ให้เหมาะสมและเป็นธรรม •พัฒนาการออมภาคบังคับ การช่วยเหลือกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคม •ส่งเสริมหลักการออกแบบสากล (Universal Design) •ปฏิรูปกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ •เสริมสร้างศักยภาพผู้สูงอายุในการทางาน •ปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้บริโภค •ปฏิรูปการขึ้นทะเบียนกับผู้ไร้สถานะทางทะเบียนราษฎร •การเสริมพลังสตรี การจัดการข้อมูลและองค์ความรู้ด้านสังคม •เปิดเผยข้อมูลที่ประชาชนต้องการทราบ และสร้างการรับรู้ •พัฒนาข้อมูลด้านภาษีเพื่อสร้างความเป็นธรรมในการช่วยเหลือของรัฐ มาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้้าของรัฐบาล มาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้้าที่รัฐบาลก้าลังด้าเนินการ และผลักดันให้เกิดผลอย่างเร่งด่วน ขยายความครอบคลุมระบบประกันสังคม พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 เพิ่มเติมกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) พ.ร.บ. ทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 พ.ร.บ.เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ร.บ.ภาษีการรับมรดก พ.ศ.2558      และมาตรการในแผนการปฏิรูปประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเหลื่อมล้้า 8