SlideShare a Scribd company logo
1 of 100
Download to read offline
วิทย์ชิดชุมชน
เข้้าถึึง เปิิดรัับ ปรัับเปลี่่�ยน
ISBN	978-616-8261-53-8	
พิิมพ์์ครั้้�งที่่�	 1 (มิิถุุนายน 2563)
จำำ�นวน	 1,000 เล่่ม	
	 สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) 2558
โดยส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ไม่อนุญาตให้คัดลอก
ท�ำซ�้ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น
วิทย์ชิดชุมชน : เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน/โดย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. -- ปทุมธานี :
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2563.
	 104 หน้า : ภาพประกอบสี
	 ISBN: 978-616-8261-53-8
	 1. วิทยาศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ -- แง่สังคม 3.วิทยาศาสตร์การเกษตร 4. เทคโนโลยี
การเกษตร
I. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร II. ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ III. ชื่อเรื่อง
	 Q175.5	 	 	 303.483
จัดท�ำโดย	 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
	 ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
	 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
	 ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
	 โทรศัพท์ 0 2564 7000  โทรสาร 0 2564 7004
	 www.nstda.or.th/agritec  
	 อีเมล agritec@nstda.or.th
02
สารผู้อ�ำนวยการ
นางสาววิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์
ผู้อ�ำนวยการสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
ในวันที่โลกขับเคลื่อนด้วยความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มนุษย์จ�ำต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการด�ำเนินชีวิตให้
ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงไม่เว้นแม้แต่งานด้านเกษตรความรู้และประสบการณ์ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นอาจไม่เพียงพอ
ต่อการหยัดยืนอย่างมั่นคงของอาชีพเกษตร การเปิดรับความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็นและ
ส�ำคัญยิ่งส�ำหรับคนท�ำเกษตรในปัจจุบันและอนาคต
หนังสือ “วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน” น�ำเสนอเรื่องราวของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร
กลุ่มชุมชน ที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 
ภายใต้โครงการและกิจกรรมที่ สท. ด�ำเนินงานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชนในช่วงปีที่ผ่านมา
โดยน�ำเสนอในมิติของเทคโนโลยีและพื้นที่ด�ำเนินการ ไม่ว่าจะเป็น “สมาร์ทเทคโนโลยี: นวัตกรรมขับเคลื่อน
เกษตรยุคใหม่”“เสริมแกร่งภาคเกษตร@EECด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม”“สร้างสมดุลคืนความสมบูรณ์
ให้ทุ่งกุลาร้องไห้” และ “สานความร่วมมือ เพิ่มคุณภาพผลผลิต ยกระดับชีวิตเกษตรกร”
ด้วยต้นทุนชีวิตที่แตกต่าง การเข้าถึงความรู้เพื่อพัฒนาการท�ำเกษตรหรือพัฒนาชุมชนจึงต่างกันไปตามบริบท
ของแต่ละคน แต่สิ่งหนึ่งที่พวกเขาต่างมีเหมือนกัน คือ การเปิดรับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 
พิสูจน์ด้วยการลงมือท�ำ น�ำไปสู่การปรับวิธีคิดและวิธีการผลิตที่จะแปรเปลี่ยนเป็นผลลัพธ์ทั้งรายได้และความสุข
ที่ได้รับ  
03
สารบัญ
สมาร์ทเทคโนโลยี
นวัตกรรมขับเคลื่อนเกษตรยุคใหม่
ข้อมูล
อาวุธส�ำคัญของ
เกษตรยุคใหม่
ใช้เป็น ใช้จริง ใช้
โรงเรือนพลาสติก
ปลูกพืช
อย่างมีความรู้
รู้จักและรู้ใช้ IoT
ก้าวส�ำคัญของ
เกษตรกรไทย
กว่าจะเป็น
ไม้ผลอินทรีย์
บนเส้นทางของ
การเรียนรู้
Low profile High
performance
เลือกเครื่องมืออย่างฉลาด
เพิ่มมูลค่าผลผลิต
รู้จักบิวเวอเรีย
อย่างเข้าใจ
จัดการศัตรูพืช
ด้วยความรู้
สานต่อผ้าทอโบราณ
ด้วยความรู้
และเทคโนโลยี
ฐานเรียนรู้
การผลิตอาหารโค
คุณภาพ
ก้าวทันสมาร์ทเทคโนโลยี
ที่สถานีเรียนรู้
โรงเรือนอัจฉริยะ
เสริมแกร่งภาคเกษตร @ EEC
ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
01
02
08
28
12
32
16
36
40
44
20
04
ท�ำเกษตรอินทรีย์
ด้วยความรู้และเชื่อมั่น
Inspector
ผู้ปิดทองขับเคลื่อน
“ข้าวอินทรีย์”
ผักสดคุณภาพ
ผลผลิตจากเมล็ดพันธุ์
ต้นกล้าและ
“คนปลูกมีความรู้”
ข้าวเหนียวธัญสิริน
ต้านทานโรคไหม้
หอมนุ่มนาน อีกทางเลือก
ของผู้ปลูกผู้บริโภค
ถั่วเขียว KUML
จากพืชหลังนา
สู่สินค้าส่งออก
ยกระดับอาชีพ
กลุ่มสตรี ด้วยเทคโนโลยี
และนวัตกรรม
Smart Tambon
Model
ร่วมกันรู้
ปลูกพริกแบบปลอดภัย
สถานีปูนาเมืองบัว
เรียนรู้เพื่อรักษา
และต่อยอด
สานความร่วมมือ
เพิ่มคุณภาพผลผลิต
ยกระดับชีวิตเกษตรกร
สร้างสมดุล
คืนความสมบูรณ์ให้ “ทุ่งกุลาร้องไห้”
04
03
68
52
76
56
82
92
88
94
60
05
xxx
xxxxxx
สมาร์ทเทคโนโลยี
นวัตกรรมขับเคลื่อนเกษตรยุคใหม่
“เกษตรแม่นย�ำ (Precision agriculture)” เป็น
หนึ่งในกลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมายการท�ำงานของ สวทช.
ที่ตอบโจทย์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศด้วย
นวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้สูง
01
06
โรงเรือนอัจฉริยะ ระบบการให้น�้ำอัตโนมัติส�ำหรับ
พืชไร่และพืชสวน และระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับ
การติดตามสภาวะแวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุม
และบริหารจัดการ เป็นสมาร์ทเทคโนโลยี (smart
technology) ที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ได้ถ่ายทอดความรู้
และการใช้งานให้กับเกษตรกรไทยแล้วกว่า 1,100 ราย
ใน 53 จังหวัด โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ
ได้เข้าถึงความรู้ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับ
การใช้งานและสภาพความพร้อมในแต่ละพื้นที่ เน้นแนวคิด
การใช้สมาร์ทเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
และคุณภาพผลผลิต บริหารจัดการทรัพยากรให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด และเป็นต้นแบบแหล่งเรียนรู้การใช้
สมาร์ทเทคโนโลยีให้กับเกษตรกรรายอื่น เกิดการสร้าง
เครือข่ายและขยายผลการใช้เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น
เป็นการขับเคลื่อนการใช้นวัตกรรมในภาคการเกษตร
สอดคล้องวิสัยทัศน์ประเทศ “ไทยแลนด์ 4.0”
07
ไร่เพื่อนคุณ
ถนนโชคชัย-เดชอุดม ต.โคกม้า อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ โทรศัพท์ 089 9249927 www.facebook.com/raipueankun
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563)
ข้อมูล
อาวุธส�ำคัญ
ของเกษตรยุคใหม่
08
ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ “ไร่เพื่อนคุณ ผักและ
ผลไม้ไร้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช 100%” ริมถนน
โชคชัย-เด่นอุดม อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ เชื้อชวนให้
คนรักสุขภาพแวะจับจ่ายผลผลิต ภายในพื้นที่ 26 ไร่
ถูกจัดสรรเป็นโรงเรือนเพาะปลูก48โรงเรือนที่หมุนเวียน
ปลูกพืชหลักอย่างเมล่อนและแตงโม สลับกับพืชผัก
อย่างถั่วฝักยาว คะน้า กวางตุ้ง แตงกวา ขณะที่ด้านหน้า
มีห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพพืชผัก ห้องประชุม 
ร้านค้าและร้านอาหาร
“ไร่เพื่อนคุณ” ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2558 โดย มงคล
สุระสัจจะ อดีตข้าราชการที่เห็นปัญหาผลผลิตทางการ
เกษตรตกต�่ำ การกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง รวมถึง
การใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช เขาจึงตั้งใจที่จะใช้ชีวิต
หลังเกษียณท�ำศูนย์เรียนรู้ให้เกษตรกร โดยยึดแนวทาง
ส�ำคัญ “3 ปลอดภัย 3 เอาชนะ” คือ เกษตรกรปลอดภัย
สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ผู้บริโภคปลอดภัย และเอาชนะ
กลไกตลาด ฤดูกาล ยาฆ่าแมลง
“ตอนนั้นกระแสเมล่อนมาแรง ก็คิดว่าถ้าท�ำ
เมล่อนน่าจะได้ราคา ส่วนแตงโม เป็นผลไม้ทั่วๆ ไป
แต่ใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชมาก แต่พ่อต้องการท�ำ
แตงโมไม่ใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชให้เป็นสินค้าระดับ
บนคู่กับเมล่อน” สุระเทพ สุระสัจจะ หนึ่งในผู้บริหาร
“ไร่เพื่อนคุณ” ย้อนถึงที่มาของผลผลิตขึ้นชื่อของที่นี่
นอกจากพื้นที่ 26 ไร่แห่งนี้ที่เป็นศูนย์เรียนรู้
ด้านเกษตรตั้งแต่การผลิตจนถึงการจัดจ�ำหน่ายแล้ว
แทนที่เปิดน�้ำนานๆ ตาม
ความรู้สึก แต่ค่าที่ได้ท�ำให้
เปิดน�้ำน้อยลง ปั๊ มท�ำงาน
น้อยลง การเปิดน�้ำน้อยลง
มีส่วนช่วยให้ผลผลิตเพิ่ม
ขึ้นจากที่ไม่เกิดโรครากเน่า
5-10%
09
การให้น�้ำหรือเปล่า ควรให้น�้ำกี่นาที ความชื้นในโรงเรือน
เป็นสาเหตุของโรคหรือเปล่า แล้วถ้าลดความชื้น ต้อง
เป็นความชื้นเท่าไหร่ ฯลฯ มีค�ำถามเกิดขึ้นมากมาย
แต่หาค�ำตอบไม่ได้ การท�ำเกษตรมักมาจากความรู้สึก
ไม่มีตัวเลข ไม่มีข้อมูลที่เอามาวิเคราะห์ จนได้มาฟัง
อาจารย์โอภาสพูดถึงเทคโนโลยีไวมาร์คที่เก็บข้อมูลสภาวะ
ความชื้นดิน อากาศ แสงทุกๆ ช่วงเวลาเป็นตัวเลข ฟังแล้ว
ก็สนใจ แล้วเราก็ศึกษาเทคโนโลยี IoT (Internet of Thing)
มาบ้าง ท�ำไมไม่ลองล่ะ”
หลังเวทีบรรยายในครั้งนั้น สุระเทพ เข้าไปบอกถึง
ความต้องการ “เทคโนโลยีระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับ
การติดตามสภาวะแวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุมและ
บริหารจัดการ หรือไวมาร์ค” (WiMaRC: Wireless sensor
network for Management and Remote Control) ไปติดตั้งที่
ไร่ ซึ่งเขามองไปถึงการต่อยอดเป็นจุดเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยี
ให้เกษตรกร หลังจากการพูดคุยกับดร.โอภาส ตรีทวีศักดิ์
นักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(เนคเทค) สวทช. น�ำไปสู่การติดตั้งเทคโนโลยีดังกล่าวใน
ปลายปี 2561 ภายใต้การทดสอบและสังเคราะห์เทคโนโลยีให้
เหมาะสมกับการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
ทีมวิจัยติดตั้งระบบอุปกรณ์ 3 จุด คือ จุด A บริเวณกลาง
โรงเรือน จุด B บริเวณท้ายโรงเรือนด้านใน (ลูกข่าย) และ
จุด C ริมนอกโรงเรือน (แม่ข่าย) โดยจุด A และ B ประกอบด้วย
เซนเซอร์วัดค่าความชื้นในดิน เซนเซอร์วัดค่าความชื้นในอากาศ
และเซนเซอร์วัดค่าความเข้มแสงติดตั้ง 2 ต�ำแหน่ง คือด้านบน
“ไร่เพื่อนคุณ” ยังมีพื้นที่ปลูกเมล่อนอีกกว่า 50 โรงเรือน
ในอ�ำเภอเมือง จ.บุรีรัมย์ ผลผลิตของไร่เพื่อนคุณ
มีทั้งเมล่อน แตงโม พืชผักปลอดภัย ซึ่งจ�ำหน่ายที่
หน้าร้าน ห้างโมเดิร์นเทรดในพื้นที่และจังหวัดใกล้เคียง
โรงพยาบาล 13 แห่งในบุรีรัมย์ รวมถึงจ�ำหน่ายผ่าน
ช่องทางออนไลน์
สุระเทพ เข้ามาช่วยงานที่ไร่เมื่อปี 2560 หลังจาก
ผลผลิตของไร่ได้รับความนิยมมากขึ้น แม้เขาจะ
ไม่ชื่นชอบงานเกษตรมาแต่ต้น แต่อาศัยที่เรียนด้าน
วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และบริหารธุรกิจระหว่าง
ประเทศ เขาจึงเป็นผู้เชื่อมโยงความรู้ด้านเกษตรและ
เทคโนโลยีมาพัฒนาและปรับปรุงผลผลิตของไร่ รวมถึง
ยังใช้ความรู้ด้านบริหารธุรกิจมาจัดการระบบงานต่างๆ
“ความรู้และเทคโนโลยีจ�ำเป็นในการท�ำเกษตร
มากขึ้น การใช้เทคโนโลยีสามารถเพิ่มมูลค่าให้
สินค้าและการันตีคุณภาพให้ลูกค้าได้”
สุระเทพ มองเห็นความจ�ำเป็นของการน�ำ
เทคโนโลยีมาใช้ในแปลง เขาเริ่มจากการติดตั้งอุปกรณ์
ตั้งเวลารดน�้ำ (timer) เพื่อหวังลดภาระเกษตรกร
(คนงาน) ในการรดน�้ำ “แทนที่จะต้องเปิดปิดวาล์วน�้ำ
ยืนรดน�้ำ ให้เขาไปท�ำกิจกรรมอื่นของไร่ที่ตอบโจทย์
รายได้มากขึ้น” ขณะเดียวกันจากที่เข้าไปเรียนรู้ใน
โรงเรือน ท�ำให้เขาเกิดค�ำถามว่า ให้น�้ำแค่ไหนถึงจะพอ
“เราก็เกิดค�ำถามว่าการให้น�้ำแต่ละครั้งเพียง
พอต่อพืชมั้ย ให้น�้ำเกินหรือเปล่า ที่พืชตายเกิดจาก
10
งดการเปิดสปริงเกิลแล้วเก็บข้อมูลว่าช่วยลดการเกิดโรคได้มากน้อยแค่ไหน
หรือระยะเวลาการให้น�้ำ เราได้ค่าประมาณการณ์แล้วว่าแต่ละฤดูกาลควรให้
น�้ำบ่อยแค่ไหน แต่ก็ต้องไปปรับใช้และเก็บข้อมูลต่อไป”
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีไวมาร์ค สุระเทพ มองว่า ตัวเลข
ที่ได้จากเซนเซอร์วัดค่าความชื้นดินมีส่วนช่วยให้ลดต้นทุนค่าไฟและค่าน�้ำ “แทนที่
เปิดน�้ำนานๆ ตามความรู้สึกว่าพืชยังต้องการ แต่ค่าที่ได้ท�ำให้เปิดน�้ำน้อยลง
ปั๊มท�ำงานน้อยลง” ซึ่งการเปิดน�้ำน้อยลงท�ำให้การเกิดโรครากเน่าน้อยลงด้วย มีส่วน
ช่วยให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากที่ไม่เกิดโรครากเน่า 5-10% นอกจากนี้ข้อมูลตัวเลข
ที่เก็บในระบบเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเทคโนโลยีหรือปรับสภาพแวดล้อมใน
โรงเรือนให้เหมาะสม เช่น การเพิ่มระยะเวลาการให้แสงในฤดูหนาว เพื่อให้ผลผลิต
มีขนาดใหญ่เหมือนในช่วงฤดูร้อน หรือการติดตั้งพัดลมระบายอากาศเพื่อลดความชื้น
ในโรงเรือน
ด้วยเป็นศูนย์เรียนรู้ส�ำหรับเกษตรกร การติดตั้งเทคโนโลยีไวมาร์คจึงได้รับ
ความสนใจจากผู้ศึกษาดูงานโดยเฉพาะเหล่าเกษตรกรรุ่นใหม่ ซึ่ง สุระเทพ จะแนะน�ำ
การใช้เทคโนโลยีดังกล่าว โดยเน้นย�้ำการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เก็บในระบบ รวมถึง
การดูแลตรวจสอบอุปกรณ์อย่างสม�่ำเสมอ และด้วยเห็นความส�ำคัญและความจ�ำเป็น
ของการใช้เทคโนโลยี เขายังต่อยอดความคิดและความร่วมมือกับหน่วยงานวิจัยเพื่อ
พัฒนาเทคโนโลยีที่จะช่วยเพิ่มมูลค่าและคุณภาพผลผลิตของไร่ให้ดียิ่งขึ้น ให้สมกับ
ชื่อของไร่ “เป็นเพื่อนกับคุณและให้สิ่งดีๆ กับเพื่อน”
และล่างของต้น เนื่องจาก
ปริมาณแสงที่ต้นพืชได้รับ
ไม่เท่ากัน นอกจากนี้ยัง
ติดตั้งกล้องอีกหนึ่งจุด
ภายในโรงเรือน
จากการใช้งานมาราว
หนึ่งปี สุระเทพ บอกว่า
เทคโนโลยีนี้ติดตาม
สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวกับ
พืช (monitor) ไม่ใช่การ
ควบคุม (control) โดยใช้
ข้อมูลทางสถิติจากระบบ
มาบริหารจัดการเพื่อไม่ให้
เกิดความเสี่ยงที่เกิดจาก
แสง อุณหภูมิ ความชื้นใน
ดินและอากาศ ซึ่งส่งผล
ต่อคุณภาพผลผลิต
“เราใช้ข้อมูลมาช่วย
จัดการ เช่น ดูข้อมูลย้อน
หลังและภาพจากกล้อง
ว่าเกิดเชื้อราที่ผลผลิตช่วง
เวลาไหน แล้วดูตัวเลข
ความชื้นสะสมในช่วงนั้น
ว่าสะสมมากน้อยแค่ไหน
พอรู้ว่าเชื้อราเริ่มก่อตัว
ในระยะความชื้นสูงเป็น
เพราะการคายน�้ำและ
อุณหภูมิในโรงเรือน ก็ลอง
11
แสนสบายฟาร์ม
ต.หนองญาติ อ.เมือง จ.นครพนม โทรศัพท์ 089 7103508
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2563)
รู้จักและรู้ใช้ IoT
ก้าวส�ำคัญของเกษตรกรไทย
12
“เทคโนโลยี IoT (Internet of Thing) ไปได้ทุก
สายงาน จะท�ำสมาร์ทโฮม สมาร์ทอินดัสเทรียล
ก็ได้ แต่ผมมองว่าพื้นฐานของประเทศไทย คือ
เกษตร ท�ำอย่างไรให้เกษตรกรรู้จัก IoT แล้วเอาไป
ใช้ประโยชน์”
ด้วยความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศบวกกับความสนใจส่วนตัวในเรื่องเกษตร
ท�ำให้ ผศ.ว่าที่ ร.ต.ภูมินทร์ ฮงมา คณะวิทยาการ
จัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย
นครพนม ไม่รีรอที่จะสมัครเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติ
การ “ระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับการติดตาม
สภาวะแวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุมและบริหาร
จัดการ” ของ สวทช. เมื่อปี 2560
“ช่วงนั้นเรื่อง IoT มาแรง ผมก็ซื้ออุปกรณ์
ที่มีขายตามท้องตลาดมาลอง แต่ไม่ค่อยเสถียร
ถ้าอยากได้ของดี ราคาก็แพงมาก ก็มีค�ำถามว่าแล้ว
ของไทยไม่มีเหรอ จนได้มาอบรมและรู้ว่ามี TMEC
ของ สวทช. ที่ท�ำเซนเซอร์วัดความชื้นดินขึ้นเอง
ผมดูฮาร์ดแวร์ ดูอุปกรณ์และระบบที่ทีมวิจัยท�ำ
น่าสนใจ และท�ำได้ดีเลย”
การอบรมในวันนั้นไม่เพียงเสริมความรู้ให้อาจารย์
ภูมินทร์ หากยังจุดความคิดและการท�ำงานร่วมกับทีม
วิจัย เพื่อให้เกษตรกรไทยได้รู้จักและใช้ประโยชน์จาก
“ระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับการติดตามสภาวะ
แวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุมและบริหารจัดการ
หรือไวมาร์ค (WiMaRC: Wireless sensor network
for Management and Remote Control)”
ผ ม ใ ช้ ข้ อ มู ล ปี ก่ อ น ม า
วิเคราะห์กับสภาพอากาศ
ปัจจุบัน ถ้าอุณหภูมิแบบ
นี้ คนที่ไม่มีโรงเรือนเริ่มท�ำ
ผักไม่ได้ ผมจะเริ่มท�ำ ตอบ
โจทย์ผักขาดตลาดและยัง
ได้ราคาสูง
13
ทีมวิจัยเทคโนโลยีระบบ
เซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับการ
ติดตามสภาวะแวดล้อมในฟาร์ม
เพื่อการควบคุมและบริหารจัดการ
น�ำโดย ดร.โอภาส ตรีทวีศักดิ์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
สวทช. ได้ติดตั้งสถานีตรวจวัด
สภาพอากาศแบบ IoT เพื่อ
การเกษตรที่แสนสบายฟาร์ม
ในปี 2561 ประกอบด้วย เซนเซอร์
วัดค่าความชื้นดิน เซนเซอร์วัด
ค่าความเข้มแสง เซนเซอร์วัดค่า
อุณหภูมิและความชื้นอากาศ และ
เซนเซอร์วัดค่า EC ติดตั้ง 2 จุด
(ลูกข่าย) เพื่อส่งข้อมูลมาที่แม่ข่าย
(1 จุด) เก็บบันทึกที่ Cloud Server
“ผมดีใจที่จะมีฮาร์ดแวร์ IoT มาให้
เกษตรกร บ้านเราไกล น้อยนักที่จะได้
โอกาส ผมจึงพยายามทุกอย่างเพื่อติดตั้ง
ระบบให้ได้ และให้ได้เกษตรกรที่อยาก
ร่วมกับเรา”
อนุศักดิ์ ค�ำสุข หรือ ตั้ม Young Smart
Farmerจังหวัดนครพนม เจ้าของ“แสนสบาย
ฟาร์ม” เป็นหนึ่งในรายชื่อเกษตรกรที่สภา
เกษตรกรจังหวัดแนะน�ำให้อาจารย์ภูมินทร์
หลังจากที่อาจารย์ประกาศหาเกษตรกร
ที่ 1. มีโรงเรือน 2. ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
3. สนใจเทคโนโลยี
“ผมมองว่าโรงเรือนควบคุมตัวแปร
บางอย่างได้ดีกว่า เช่นเดียวกับการ
ปลูกผักไฮไดรฯ ที่ควบคุมการให้น�้ำ ปุ๋ย
อุณหภูมิได้ง่ายกว่า และเกษตรกรที่
สนใจเทคโนโลยีจะท�ำให้การถ่ายทอด
เรื่อง IoT ไปได้ง่าย ตอนนั้นมีตัวเลือก
2-3 ที่ มาลงพื้นที่กับตั้มที่แรก ตรงตาม
ที่มองหาเลย และฟาร์มยังอยู่ใกล้กับมหาวิทยาลัยด้วย การไป
แนะน�ำและติดตามสะดวก... ทุกอย่างลงตัว”
พื้นเพครอบครัวของ ตั้ม มีอาชีพค้าขาย แต่การเรียนที่
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ท�ำให้เขามีความรู้ด้านเกษตร
โดยเฉพาะการปลูกพืชระบบไฮโดรโปนิกส์ที่เขาหลงใหลมาตั้งแต่
สมัยเรียน และเมื่อตัดสินใจหันหลังให้ชีวิตลูกจ้างบริษัท ตั้ม จึงท�ำ
ฟาร์มผักไฮโดรโปนิกส์ของตัวเองอย่างจริงจังเมื่อราวปี 2559
“ปลูกผักระบบไฮโดรฯ ใช้แรงงานน้อย ก็เริ่มจากโต๊ะเล็กๆ
ท�ำเองทุกอย่าง ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีอะไรมาช่วย ทุกวันก็จะลงไป
ดูค่า EC เพื่อให้ปุ๋ย บังสแลนถ้าแดดแรง ดูแลจัดการ เก็บตัด
ผักส่งขาย เรื่องเทคโนโลยี ถ้าไม่ได้เจออาจารย์ ก็จะใช้ของใน
ท้องตลาด อยากได้แบบที่เก็บข้อมูล (data) ด้วย แต่มันไม่มี”
ช่วงแรก ตั้ม ปลูกผักสลัดและขายผักเองที่ตลาดสด เพราะคน
ไม่ค่อยรู้จักผักชนิดนี้ จากโต๊ะปลูกตัวเดียว ค่อยๆ ขยายเพิ่มขึ้น
จนปัจจุบันมี 27 โต๊ะ เช่นเดียวกับชนิดผักที่เพิ่มขึ้น และตลาด
รับซื้อที่แน่นอนขึ้น มีรายการสั่งซื้อจากโรงแรมในพื้นที่สัปดาห์ละ
20 กิโลกรัม
“ผมแนะน�ำหรือจะเรียกว่าขายเทคโนโลยีก็ได้ (หัวเราะ)
แทนที่ตั้มจะต้องเดินไปวัดค่า EC ทุกเช้า แต่นั่งอยู่ที่บ้านแล้ว
มอนิเตอร์ค่า EC จากมือถือ ถ้าค่าได้ ก็ไม่ต้องไปผสมปุ๋ย ไปท�ำ
14
กิจกรรมอย่างอื่นได้ ประหยัดแรงและเวลา เขาก็มองเห็นตรงนี้
แล้วยังมีเรื่องอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือน นครพนมฝนตก
เยอะ บางครั้งตกทั้งสัปดาห์ เซนเซอร์ที่ติดตั้งเป็นตัวช่วยการ
จัดการผักได้” อาจารย์ภูมินทร์ ย้อนถึงครั้งที่มาแนะน�ำเทคโนโลยี
และเล่าต่อว่า แต่ก่อนตั้มใช้ความรู้สึกตัวเองเป็นตัววัด แต่เดี๋ยวนี้
จะดึงสแลนต้องดูค่าในมือถือ
“แต่ก่อนใช้ความรู้สึกแดดเยอะ แดดน้อย แต่พอมีข้อมูล
จากระบบก็เชื่อค่าที่ได้ เพราะมีตัวเลขชัดเจนกว่าการใช้ความ
รู้สึก อย่างบางวันอุณหภูมิไม่ปกติ วัดจากความรู้สึก เราคิด
ว่าปกติ เราก็ไม่ได้จัดการดูแลผัก ซึ่งจริงๆ แล้วมันต้องจัดการ
ผลผลิตก็มีปัญหา แต่พอเราดูตัวเลขจากระบบ เรารู้แล้วว่าต้อง
จัดการ ท�ำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น สวยขึ้น ผักแข็งแรงขึ้น โรคไม่ค่อย
เกิด เพราะรู้ค่าต่างๆ และจัดการได้ก่อน หรือบางทีไม่อยู่ฟาร์ม
ก็ดูค่าในมือถือแล้วโทร.บอกพ่อให้มาจัดการได้ ถ้าเป็นแต่ก่อน
ต้องปล่อยทิ้งแล้วเริ่มต้นใหม่”
ก่อนที่ ตั้ม จะใช้ข้อมูลจากระบบไวมาร์คที่ติดตั้ง เขาปลูกผัก
ขึ้นฉ่ายได้ประมาณ 30-40 กิโลกรัม/โต๊ะ (โต๊ะขนาด 2x6 เมตร)
แต่หลังจากใช้ข้อมูลจากระบบ ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 50-60
กิโลกรัม/โต๊ะ ส่วนสลัดได้ประมาณ 30 กิโลกรัม/โต๊ะ (ผักสลัด เดิม
ขายเป็นต้น)  ตั้ม บอกว่า ค่าเฉลี่ยผลผลิตน่าจะสูสีกับคนอื่น แต่ผัก
แข็งแรงและสวยกว่า
หลังจากใช้เทคโนโลยีนี้มาเกือบ 2 ปี ไม่เพียงการจัดการแปลง
ตามข้อมูลที่ได้ ตั้ม ยังน�ำข้อมูลที่เก็บในระบบมาวิเคราะห์ส�ำหรับ
วางแผนการผลิต เพื่อให้ได้ทั้งตลาดและราคา
“data จ�ำเป็นในการจัดการ ผมใช้ข้อมูลปีก่อนมาวิเคราะห์
กับสภาพอากาศปัจจุบัน เช่น อากาศลักษณะนี้ควรท�ำหรือไม่
ถ้าอุณหภูมิแบบนี้ คนที่ไม่มีโรงเรือนเริ่มท�ำผักไม่ได้ ผมก็จะเริ่ม
ท�ำ ตอบโจทย์ผักขาดตลาด
และยังได้ราคาสูง”
อาจารย์ภูมินทร์บอกว่า
ถ้าเรามองเรื่อง data จากการ
ใช้เทคโนโลยีนี้ก็ชัดเจนมาก
วันนี้ควรจะปลูกหรือไม่ควร
ปลูก อุณหภูมิแบบนี้ แสงแบบ
นี้ อากาศแบบนี้ จะปลูกหรือ
ไม่ปลูก บางคนปลูกพร้อมกัน
ราคาก็ตก แต่อย่างตั้มรอก่อน
รอให้อุณหภูมิขึ้นอีกนิด แล้ว
ค่อยปลูกพอปลูกทีหลังผลผลิต
ออกมาเขาก็ได้ราคามากกว่าเป็นการวิเคราะห์
ด้วยตัวเกษตรกรเอง เพราะเห็นข้อมูลมา
ตลอด ถ้าเกษตรกรใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่
เก็บ เขาจะก้าวไปอีกระดับ สามารถวิเคราะห์
ข้อมูลเป็นด้วยตัวเขาเอง
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตั้ม เป็น
สิ่งที่อาจารย์ภูมินทร์บอกว่า “คุ้มล่ะ” ด้วย
เห็นว่าสิ่งส�ำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี IoT
คือ ความต่อเนื่องของการน�ำไปใช้งาน
“คนสนใจพัฒนา IoT กันเยอะ โค้ด
(code) ก็มี บอร์ดก็มีขาย ชิ้นงานที่เรา
เห็น ทุกคนมีหมด แม้เกษตรกรไปซื้อของ
ที่ขายในท้องตลาด วันหนึ่งเขาจะหยุดใช้
เมื่อฮาร์ดแวร์มีปัญหา เมื่อไม่ได้อย่างที่
เขาต้องการหรืออยากเห็น เมื่อปัจจัยต่างๆ
เปลี่ยนไปหรือเขาอยากไปท�ำอย่างอื่น
แต่ประยุกต์ใช้ไม่เป็น ก็จะหยุดไปเอง
ความต่อเนื่องจะไม่มี แต่การที่จะให้
เกษตรกรใช้อย่างต่อเนื่องหรือมีคนคอย
ดูแลต่อเนื่องยากกว่า เหมือนอย่างผมกับ
ตั้มอยู่กันมา 2 ปี ไม่ธรรมดา (หัวเราะ)
ความต่อเนื่องแบบนี้ที่เกษตรกรจะได้
พัฒนาตัวเองและวิเคราะห์ข้อมูลได้ด้วย
ตัวเอง”
นอกจากเป้าหมายที่ต้องการให้เกษตรกร
ได้รู้จักและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี IoT
แล้ว อาจารย์ภูมินทร์ ยังใช้ฟาร์มของตั้มเป็น
แหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย
ให้เห็นการน�ำไปประยุกต์ใช้งานจริง
เป็นเวลากว่า 2 ปีที่ ตั้ม คลุกคลีกับการ
ใช้ระบบไวมาร์ค โดยมี อาจารย์ภูมินทร์ เป็น
พี่เลี้ยงให้ค�ำแนะน�ำ ติดตามการใช้งาน และ
เชื่อมต่อกับทีมวิจัยการท�ำงานร่วมกันยังส่งต่อ
ไปถึงการต่อยอดการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว
สู่การสั่งการ (control) ซึ่งต่างเห็นพ้องกันว่า
“เมื่อดูข้อมูลเป็น วิเคราะห์เป็น แล้วจึง
สั่งการ” จะเป็นการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยี
IoT อย่างค่อยเป็นค่อยไปแต่ต่อเนื่อง
15
นาวิตา เมล่อนฟาร์ม
โทรศัพท์ 065 2329555, 061 9796151 www.facebook.com/navitamelonfarm
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563)
Low profile
High performance
เลืือกเครื่่�องมืืออย่่างฉลาด
เพิ่่�มมููลค่่าผลผลิิต
16
เส้นทางสายเทคโนโลยีเกษตรของ สุวิทย์ ไตรโชค
จากลูกชาวนาสู่การเป็นสมาร์ทฟาร์มเมอร์ (Smart
Farmer) ผู้บุกเบิกการปลูกเมล่อนของประเทศไทย ด้วย
ปริมาณผลผลิตปัจจุบันกว่า 150 ตันต่อปี
“เกษตรกรคืออาชีพที่ถูกเอาเปรียบที่สุด
ลูกข้าราชการเบิกค่าเรียนได้ แต่ลูกเกษตรกร รายได้
ก็น้อยแล้วยังต้องหาเงินเรียนเอง” ความหลื่อมล�้ำ
ที่เป็นแรงผลักดันที่ท�ำให้ สุวิทย์ มุ่งมั่นที่จะยกระดับ
คุณภาพชีวิตอาชีพเกษตรกรด้วยการท�ำเกษตรอย่างมี
คุณภาพ เพื่อเป็นผู้ก�ำหนดราคาตลาดได้เอง
เส้นทางสายเกษตรของ สุวิทย์ เริ่มต้นจากการ
เป็นวิศวกรบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ด้วย
มองว่าเป็นอาชีพที่มีรายได้ดี ซึ่งเป็นทุนส�ำคัญส�ำหรับ
การท�ำเกษตร รายได้ทั้งหมดจากงานประจ�ำไปลงกับ
การทดลองและศึกษาหาความรู้ “ช่วงที่เป็นวิศวกร
ผมใช้เงินประหยัดมาก ทั้งแผนกมีคนที่ใช้เงิน
น้อยกว่าผมแค่คนเดียว คือพนักงานท�ำความสะอาด
ที่ผมแพ้เขาเพราะผมต้องไปซื้อข้าวกิน แต่เขาห่อข้าว
มาจากบ้าน”
พืชชนิดแรกที่ สุวิทย์ ลงมือปลูก คือ พืชผักสวน
ครัว แต่ไม่สร้างรายได้มากนัก ขณะเดียวกันการท�ำงาน
สายการบิน ได้เดินทางไปต่างประเทศบ่อย ท�ำให้ได้
รู้จัก “เมล่อน” ผลไม้มูลค่าสูง ซึ่งสมัยนั้น (ราว 30 กว่า
ปี) ที่ประเทศญี่ปุ่นราคาขายต่อลูกสูงถึง 10,000 บาท
ส�ำหรับเมล่อนเกรดพรีเมี่ยม (premium) ท�ำให้เขาสนใจ
ไม้ผลนี้อย่างจริงจัง
ระบบให้น�้ำอัตโนมัติฯ ช่วย
ให้ตรวจสอบและควบคุม
ได้แม่นย�ำขึ้น เพิ่มจ�ำนวน
ผลผลิตเกรดเอในแต่ละ
รอบการผลิตได้ถึง 10%
17
“ในช่วง 5 ปีแรกเงินเดือนผมหมด
ไปกับค่าลองผิดลองถูก ปลูกเท่าไหร่
ก็หายหมด แต่ผมไม่เคยถอย” จนใน
ปีที่ 6 ของการปลูกเมล่อน เขาสามารถ
คืนทุนที่เสียไปทั้งหมดกลับมาได้ ปัจจุบัน
สุวิทย์ เป็นหนึ่งในผู้ผลิตเมล่อนแปลงใหญ่
ของประเทศไทย ด้วยผลผลิต 150 ตันต่อปี
ภายใต้แบรนด์ นาวิต้า เมล่อนฟาร์ม หรือ
Navita ซึ่งมีที่มาจาก Natural Vitamin
ยึดมั่นในแนวทางการท�ำเกษตรที่ว่า “Low
profile High performance” โดยอาศัย
องค์ความรู้ด้านการผลิตพืชและการท�ำ
เกษตรที่มีเป้าหมายเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด
“เราไม่จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ไฮเทค
ที่แพงมาก ถ้าของถูกกว่าแล้วให้ผลผลิต
ที่เท่ากันได้ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสม
แต่บางอย่าง ถ้าของแพงดีกว่า แล้วท�ำให้
ผลผลิตมีคุณภาพ ก็จ�ำเป็นต้องใช้”
นาวิต้า เมล่อนฟาร์ม เติบโตมากว่า
30 ปี และก�ำลังส่งผ่านสู่รุ่นที่ 2 โดยมี
วิชญา-สิริญา ไตรโชค ลูกสาวสองคนของ
สุวิทย์ที่พร้อมรับช่วงต่อ
“ตั้งแต่จ�ำความได้ก็เห็นคุณพ่อมุ่งมั่นและเอาจริงเอาจัง
กับทุกเรื่อง โดยเฉพาะการท�ำเกษตร” พริม-สิริญา ไตรโชค
ลูกสาวคนเล็กเล่าถึงบุคลิกของ สุวิทย์ ผู้เป็นพ่อ ซึ่งความมุ่งมั่นและ
เอาจริงเอาจังคือต้นทุนอย่างดีที่สุวิทย์ส่งต่อให้ทายาท
พลอย-วิชญา ไตรโชค ลูกสาวคนโต เลือกเรียนสาขา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (Food Science and Technology)
เพื่อน�ำมาใช้พัฒนากิจการของพ่อ และจบปริญญาโทสาขา Food
Engineering and Bioprocess Technology ขณะที่ พริม ลูกสาวคนเล็ก
เรียนจบสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพและปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ
ปัจจุบันพลอยดูแลด้านการขายและการบัญชีส่วนพริมรับผิดชอบ
ด้านการตลาดออนไลน์และตลาดสมัยใหม่ เจาะกลุ่มลูกค้าพรีเมี่ยม
ที่มีก�ำลังซื้อสูง เน้นทั้งคุณภาพและความพิถีพิถันการผลิต ราคา
ผลผลิตขายออนไลน์สูงสุดถึง 2,000 บาทต่อลูก และเมื่อบทบาท
ด้านการขายตกเป็นของลูกสาว สุวิทย์ จึงมีเวลาทุ่มเทกับเรื่อง
เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพการผลิตได้ดียิ่งขึ้น
พื้นที่ปลูกเมล่อนกว่า 100 ไร่ของนาวิต้า เมล่อนฟาร์ม อยู่
ท่ามกลางแปลงนาข้าว ทั้งๆ ที่การปลูกเมล่อนสามารถท�ำรายได้
มากกว่าปลูกข้าวหลายเท่า แต่รอบข้างเขากลับไม่มีใครปลูก
18
“เกษตรกรรอบข้างเคยเห็นผมขาดทุน ก็เลยไม่มีใคร
อยากท�ำตาม การปลูกเมล่อนต้องเอาใจใส่ ผมต้องคอยดู
ทุกวัน เผลอนิดเดียวก็เสียหายหลักแสนแล้ว”
สุวิทย์ จึงต้องการน�ำเทคโนโลยีมาช่วยดูแลแปลงเมล่อน
โดยเฉพาะการให้น�้ำให้ปุ๋ยที่ต้องใช้ประสบการณ์ตัดสินใจ ซึ่งแต่
เดิมมีเพียงเขาและคนงานอีกหนึ่งคนที่ดูแลประจ�ำฟาร์มเท่านั้น
เป็นผู้ก�ำหนดว่าจะต้องให้น�้ำให้ปุ๋ยเมื่อไหร่ ปริมาณเท่าไหร่
แต่ด้วยพื้นที่ปลูกที่มากท�ำให้ดูแลไม่ทั่วถึง ส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพผลผลิต เขาจึงพยายามคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีที่
ช่วยควบคุมการให้น�้ำให้ปุ๋ยอย่างแม่นย�ำมาโดยตลอด จนเมื่อ
พลอยและพริม ได้เข้ามาประชุมและดูงานที่ สวทช. ท�ำให้ได้
รู้จัก “ระบบการให้น�้ำอัตโนมัติส�ำหรับพืชไร่และพืชสวน” ของ
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) นาวิต้า
เมล่อนฟาร์ม จึงน�ำมาต่อยอดกับระบบให้น�้ำให้ปุ๋ยเดิมซึ่งเป็น
ระบบน�้ำหยดอยู่แล้ว เพิ่มประสิทธิภาพและการใช้งานที่สะดวก
มากขึ้น จากเดิมที่ต้องเปิดน�้ำทีละแปลงจนครบทุกแปลง ท�ำให้ต้อง
ใช้เวลามาก แต่เมื่อใช้ระบบให้น�้ำให้ปุ๋ยอัตโนมัติฯ ท�ำให้สามารถ
ควบคุมได้จากสมาร์ทโฟน สามารถตรวจสอบและควบคุมได้
แม่นย�ำขึ้น ช่วยเพิ่มจ�ำนวนผลผลิตเกรดเอในแต่ละรอบการผลิตได้
ถึง 10% (จากประมาณ 60-70% เป็น 70-80%) และมีเป้าหมาย
เพิ่มจ�ำนวนเกรดเอให้ถึง 95%
ระบบการให้น�้ำอัตโนมัติส�ำหรับพืช
ไร่พืชสวน ประกอบด้วย 1) เซนเซอร์วัดค่า
อุณหภูมิและความชื้นอากาศ 2) เซนเซอร์วัด
ค่าความเข้มแสง 3) เซนเซอร์วัดค่าความชื้น
ดิน ส�ำหรับบันทึกสภาวะแวดล้อมของแปลง
ปลูกเมล่อน เพื่อน�ำไปวิเคราะห์และสั่งการ
ให้น�้ำให้ปุ๋ย โดยสามารถก�ำหนดรูปแบบการ
ให้น�้ำได้ 3 แบบ คือ 1) แบบอัตโนมัติตาม
ความต้องการของเมล่อน 2) แบบตั้งเวลา
3) แบบก�ำหนดเองโดยผู้ใช้ (manual)
ปัจจุบันลูกสาวของสุวิทย์เป็นผู้สั่งการ
ให้น�้ำให้ปุ๋ยควบคู่ไปกับการเก็บข้อมูลค่า
ความชื้นดิน อุณหภูมิความชื้นอากาศ
และความเข้มแสง เพื่อใช้วิเคราะห์และ
ก�ำหนดการรดน�้ำแบบอัตโนมัติในอนาคต
จากการใช้งานระบบให้น�้ำอัตโนมัติฯ สุวิทย์
มองว่า อุปกรณ์และการเชื่อมต่อมีความ
เสถียร สามารถใช้งานในแปลงเกษตรได้ดี
เซนเซอร์วัดค่ามีความแม่นย�ำและทนทาน
พอสมควร แต่ระบบฯ ยังสามารถพัฒนาได้
อีกในเรื่องสายส่งสัญญาณที่ใช้งานได้เพียง
ในระยะ 15 เมตร ซึ่งท�ำให้การบันทึกค่าใน
แปลงขนาดใหญ่ยังไม่ทั่วถึง อย่างไรก็ตาม 
สท. และนาวิตา เมล่อนฟาร์ม อยู่ระหว่าง
พัฒนาระบบเซนเซอร์ไร้สายเพื่อการใช้งาน
ที่ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น
เป้าหมายด้านเทคโนโลยีเกษตรใน
อนาคตของ สุวิทย์ คือ สร้างระบบ AI การให้
น�้ำให้ปุ๋ยอัตโนมัติส�ำหรับพืช ได้แก่ แตงโม 
มะละกอ กล้วย สับปะรด และมะเขือเทศ
โดยเขาตั้งใจท�ำในรูปแบบกิจการเพื่อสังคม 
(Social Enterprise) เพื่อให้เกษตรกรสามารถ
น�ำไปใช้งานได้
การวางเป้าหมายที่ชัดเจนความมุ่งมั่น
ครอบครัว และการน�ำเทคโนโลยีมาใช้
ให้้เกิิดประโยชน์์ เป็็นบทสรุุปความสำำ�เร็็จ
ในอาชีีพเกษตรกรของ สุุวิิทย์์ และนาวิิต้้า
เมล่่อนฟาร์์ม
19
ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ อ.วังจันทร์ จ.ระยอง
AGRITEC Station อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2563)
ก้าวทันสมาร์ทเทคโนโลยี
ที่สถานีเรียนรู้
โรงเรือนอัจฉริยะ
20
“ตื่นเต้น รู้สึกว่าเท่ แปลกใหม่ โรงเรือนที่เคย
เห็นก็ธรรมดา ไม่มีเทคโนโลยี” มายด์-สุภนิดา นาม
โบราณ นักเรียนทวิศึกษาสาขาเกษตรนวัต โรงเรียน
จิตรลดาวิชาชีพ โรงเรียนวังจันทร์วิทยา เล่าถึงความรู้สึก
แรกที่ได้รู้จักโรงเรือนอัจฉริยะ
“โรงเรือนอัจฉริยะ”คือโรงเรือนปลูกพืชที่ติดตาม
และควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในโรงเรือน ได้แก่
อุณหภูมิอากาศ ความชื้นอากาศ ความเข้มแสง และ
ความชื้นดิน โดยใช้ชุดเซนเซอร์และระบบควบคุมการให้
น�้ำและปุ๋ยอัตโนมัติตามความต้องการของพืช
สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร(สท.)ร่วมกับบริษัทปตท.จ�ำกัด(มหาชน)
ติดตั้งโรงเรือนอัจฉริยะ ณ ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์
จ.ระยอง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีเกษตรสมัย
ใหม่ให้เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดระยองและใกล้เคียง
ขณะเดียวกันยังเป็นหนึ่งในหัวข้อเรียนรู้ของนักเรียน
หลักสูตร “เกษตรนวัต” อีกหนึ่งโครงการความร่วมมือ
กับสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
ในภาคเรียนแรกของปีการศึกษา 2562 เหล่า
นักเรียนเกษตรนวัตจ�ำนวน 21 คน ใช้เวลาช่วงบ่ายใน
แต่ละวันเรียนรู้เรื่องพืช โดยมี “มะเขือเทศ” เป็นพืช
หลัก และมี ศ. ดร.สุชีลา เตชะวงค์เสถียร มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น ผู้เชี่ยวชาญการปรับปรุงพันธุ์มะเขือเทศของ
ประเทศ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและลงมือ
ปฏิบัติ ซึ่งไม่ใช่แค่ขุดหลุม ปรุงดินใส่ปุ๋ย หยอดเมล็ด
โรงเรือนอัจฉริยะที่สวนผัก
AGRITEC Station เป็นแหล่ง
เรียนรู้และห้องทดลองที่สวทช.
และหน่วยงานพั นธมิตร
จะได้ศึกษาวิจัยและเก็บข้อมูล
ความต้องการของพืชใน
ระบบโรงเรือน
21
รดน�้ำ แต่เป็นการปลูกมะเขือเทศผลสดในระบบโรงเรือนที่ใช้เทคโนโลยี
มาติดตามและควบคุมสภาวะแวดล้อม ซึ่งพันธุ์มะเขือเทศที่เด็กๆ ปลูก
เป็นสายพันธุ์ชายนี่ควีน(ShinyQueen)พันธุ์นิลมณีและพันธุ์ออเร้นจ์ มข.
ที่พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์โดยอาจารย์สุชีลา
“ถ้าบอกว่าให้ไปจับจอบจับเสียม เด็กอาจจะไม่ค่อยสนใจ
แต่ถ้าบอกว่าให้ดูค่าความชื้นดิน เด็กสนใจ อยากท�ำ ประหยัด
แรงตัวเอง แต่ก็ยังได้ท�ำเกษตร” สโรชา กรุษฉ�่ำ คุณครูประจ�ำ
หลักสูตรเกษตรนวัต บอกเล่าถึงการเรียนรู้เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่
ซึ่งส�ำคัญกับการท�ำเกษตรมากขึ้นเมื่อสภาพอากาศที่แปรเปลี่ยนมาก
ขึ้นอย่างทุกวันนี้
“เทคโนโลยีช่วยให้การท�ำเกษตรสะดวกขึ้น ประหยัดเวลา
เกษตรกร ได้ไปท�ำอย่างอื่นมากขึ้น แต่ก็ต้องมีความรู้พื้นฐาน
เกษตรและก็ยังต้องดูแลพืชที่ปลูกด้วย” บีม-อนาวิล ชูนวน
หนึ่งในนักเรียนทวิศึกษาสาขาเกษตรนวัตฯ ที่มีความฝันอยากท�ำสวน
เกษตรอินทรีย์ท่องเที่ยวที่น�ำเทคโนโลยีมาใช้งาน บีม ได้ลงมือปฏิบัติ
วางระบบน�้ำ ดูแลอุปกรณ์ และทดลองสั่งการรดน�้ำอัตโนมัติในคาบ
เรียนการปลูกมะเขือเทศ เช่นเดียวกับ มายด์ ที่ตั้งใจเดินตามอาชีพ
เกษตรกรของพ่อแม่ แต่ต่อยอดด้วยการใช้เทคโนโลยี “รุ่นเราถ้าท�ำ
สวน ต้องมีเทคโนโลยีมาใช้แล้วล่ะ อุณหภูมิอากาศและการให้
น�้ำมีผลกับการติดดอกของทุเรียน คิดว่าเทคโนโลยีช่วยได้ และ
ถ้าลงทุนเทคโนโลยีก็ใช้ได้หลายปี”
นอกจากเด็กๆ ได้เรียนรู้ระบบการ
ท�ำงานของโรงเรือนอัจฉริยะ การปลูกและ
ดูแลมะเขือเทศผลสดแล้ว พวกเขายังได้
เรียนรู้เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช การผลิต
สารชีวภัณฑ์(ราบิวเวอเรีย)การผลิตต้นอ่อน
(ไมโครกรีน) การบันทึกกิจกรรมการปลูก
(Trace farm) รวมถึงการผลิตเห็ดคุณภาพ
และระบบติดตามสภาวะอากาศในโรงเพาะ
เห็ด
เป็นเวลาร่วม 5 เดือนที่เด็กๆ เรียนรู้
การท�ำเกษตรสมัยใหม่ที่โรงเรือนอัจฉริยะ
โดยมีมะเขือเทศผลสดเป็นบทเรียนหลัก
ความรู้และประสบการณ์เพิ่มพูนขึ้นทุกๆ
ครั้ง เช่นเดียวกับการเจริญเติบโตของเมล็ด
มะเขือเทศ จนเป็นผลผลิตสุกงามพร้อม
เก็บเกี่ยว
22
“ไม่คิดว่าตัวเองท�ำได้ปลูกมะเขือเทศ
เป็นงานละเอียด ต้องดูแลใส่ใจละเอียด
ยิบมาก กรรไกรที่ใช้ตัดต้นหรือใบที่เป็น
โรคทิ้ง ก็ต้องมาฉีดแอลกอฮอล์ก่อนไป
ตัดต่อ ป้องกันโรคไปติดต้นอื่น” มายด์
เล่าถึงความรู้สึกต่อบทเรียนพืชเรื่อง
มะเขือเทศ ขณะที่ บีม เสริมว่า การตัดแต่ง
ใบให้ต้นบางลงไม่เป็นที่อยู่ของแมลงศัตรู
พืชและแหล่งสะสมโรค หรือใช้สารชีวภัณฑ์
หรือสารเคมีฉีดพ่น ก็ต้องเรียนรู้วิธีใช้ให้
ถูกต้อง
“เด็กๆ มาเรียนหลักสูตรเกษตรนวัต
ด้วยความชอบเกษตรเป็นพื้นฐานซึ่งเนื้อหา
ไม่ใช่เกษตรการงานทั่วไป แต่เขาต้อง
เรียนรู้เรื่องเกษตรและเทคโนโลยี เพื่อ
สุดท้ายต้องออกแบบหรือพัฒนานวัตกรรม
ขึ้นมา ช่วงแรกๆ บางคนยังท�ำตามค�ำสั่ง
แต่พอปรับตัวได้ เขากระตือรือร้นที่จะท�ำ
เอง ตั้งค�ำถามและหาค�ำตอบเอง” สโรชา
บอกถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการ
เรียนการสอนที่ใช้ “โรงเรือนอัจฉริยะ” เป็น
สถานีเรียนรู้
นอกจากที่ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์แล้ว สวทช. โดย สท. ยังได้
ติดตั้งโรงเรือนอัจฉริยะที่บริเวณสวนผัก AGRITEC Station อุทยาน
วิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี แปลงสาธิตการน�ำเทคโนโลยี
เป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำเกษตร โดยทดสอบและสาธิต
ผลงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรที่คิดค้นและ
พัฒนาโดยนักวิจัย สวทช. และหน่วยงานพันธมิตร
โรงเรือนอัจฉริยะที่สวนผัก AGRITEC Station เป็นแหล่งเรียน
รู้และห้องทดลองที่ สวทช. และหน่วยงานพันธมิตรจะได้ศึกษาวิจัย
และเก็บข้อมูลความต้องการของพืชในระบบโรงเรือน ซึ่งข้อมูลที่ได้
จะเป็นคลังข้อมูลที่ส�ำคัญส�ำหรับการท�ำเกษตรของประเทศได้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งทุกวันนี้ที่สภาพอากาศแปรปรวนยิ่งขึ้น การเพาะ
ปลูกพืชในโรงเรือนจึงมีความจ�ำเป็นมากขึ้น
ในช่วงปลายปี 2562 สท. ได้ติดตั้งโรงเรือนอัจฉริยะแล้วเสร็จ
และได้ปลูกทดสอบมะเขือเทศ 8 สายพันธุ์ ได้แก่
·		เชอร์รี่แดง เชอร์รี่เขียว นิลมณี ชายนี่ควีน ออเร้นจ์ มข.
เป็นสายพันธุ์ที่พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์โดย ศ. ดร.สุชีลา
เตชะวงค์เสถียร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
·		PC3 และ PC11 สายพันธุ์ที่พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์โดยศูนย์
พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค)
·		สแนกสลิม สายพันธุ์จากภาคเอกชน
ส่วนหนึ่งของมะเขือเทศทั้ง 8 สายพันธุ์ในโรงเรือนยังใช้ถุงปลูก
“Magik Growth” ผลงานวิจัยและพัฒนาโดยทีมวิจัยสิ่งทอ กลุ่มวิจัย
เทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
(เอ็มเทค) สวทช. ซึ่งใช้เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นใยแบบพิเศษ ท�ำให้
เส้นใยมีความยืดหยุ่นแบบผ้าสปันบอนด์ ออกแบบให้มีความหนาที่
เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด แผ่นเส้นใยที่มีรูพรุนเล็กๆ ท�ำให้น�้ำและ
อากาศถ่ายเทได้ดี
ข้อมูลจากระบบติดตามและควบคุมสภาวะอากาศของโรงเรือน
อัจฉริยะจากทั้งสองสถานีเรียนรู้ จะเป็นข้อมูลที่น�ำมาวิเคราะห์การ
เจริญเติบโตของมะเขือเทศในสภาวะแวดล้อมต่างๆเพื่อบริหารจัดการ
ปัจจัยการผลิตต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้น�้ำหรือปุ๋ยให้เหมาะสมกับ
ความต้องการของพืชในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นคลัง
ข้อมูลส�ำคัญของการปลูกมะเขือเทศในระบบโรงเรือนให้กับประเทศ
“โรงเรือนอัจฉริยะ” อาจดูเป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับเกษตรกรไทย
แต่ส�ำหรับโลกที่ก�ำลังขับเคลื่อนด้วยสมาร์ทเทคโนโลยี (smart
technology) การเปิดรับเพื่อปรับตัวกับความเปลี่ยนแปลงด้าน
เทคโนโลยีจึงจ�ำเป็นยิ่งส�ำหรับอนาคตของภาคการเกษตรไทย
23
ก้าวต่อไป
NEXT
STEP
ไม่เพียงสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร (สท.) ได้ถ่ายทอดความรู้และการใช้งานสมาร์ท
เทคโนโลยี (smart technology) ให้เกษตรกรได้น�ำ
ประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพ
ผลผลิตแล้ว สท. ยังได้ร่วมกับเกษตรกรและสถาบัน
การศึกษาพัฒนาแหล่งเรียนรู้สมาร์ทเทคโนโลยีใน
ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก เพื่อให้
เกษตรกรสามารถเข้าถึงและเข้าใจการใช้สมาร์ท
เทคโนโลยีในการท�ำเกษตร
	จุดเรียนรู้เทคโนโลยีระบบการให้น�้ำอัตโนมัติใน
พืชสวนและพืชไร่ ณ สวนบัวแก้ว อ.วังจังจันทร์
จ.ระยอง
24
จุดเรียนรู้ระบบเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายใน
ฟาร์ม เพื่อการควบคุมและบริหารจัดการ (Farm
WiMaRC) ณ พื้นที่จุดเรียนรู้สวนมังคุด กลุ่ม
เกษตรกรรุ่นใหม่จันทบุรี อ.เมือง จ.จันทบุรี
	การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีเกษตรและ
เกษตรอัจฉริยะ ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย
จ.เชียงใหม่
	การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีโรงเรือน
อัจฉริยะเพื่อการผลิตพืชอย่างแม่นย�ำ ณ
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี
อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี
	การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี
โรงเรือนอัจฉริยะเพื่อการผลิตพืชอย่างแม่นย�ำ
กับบริษัท สยามคูโบต้า คอร์เปอเรชั่น จ�ำกัด
อ.พานทอง จ.ชลบุรี
25
เสริมแกร่งภาคเกษตร @ EEC
ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor:
EEC) เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 เพื่อ
ยกระดับอุตสาหกรรมและเพิ่มขีดความสามารถการ
แข่งขันด้านเศรษฐกิจให้ประเทศ โดยมีเขตนวัตกรรม
02
26
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic
Corridor of Innovation: EECi) เป็นโครงสร้าง
พื้นฐานขนาดใหญ่รองรับการท�ำวิจัยและพัฒนา
ต่อยอดไปสู่การใช้งานจริง ซึ่งจะน�ำประเทศไทยสู่
อุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร (สท.) ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งขับเคลื่อนภาค
การเกษตรในพื้นที่ด้วยงานวิจัยด้านเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมทั้งจาก สวทช. และพันธมิตร ผ่านการ
ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่ อาทิ
สมาร์ทเทคโนโลยี สารชีวภัณฑ์ การผลิตพืชในระบบ
โรงเรือน การผลิตอาหารสัตว์ หรือแม้แต่เทคโนโลยี
ด้านสิ่งทอ เพื่อตอบโจทย์ความหลากหลายของอาชีพ
ในพื้นที่ สท. ไม่เพียงด�ำเนินการในพื้นที่เป้าหมาย
น�ำร่องของ EEC 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ
ระยอง หากยังครอบคลุมจังหวัดอื่นในภาคตะวันออก
ทั้งจันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี และสระแก้ว โดยในปี 2562
มีชุมชนที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปแล้ว 57 ชุมชน
จ�ำนวนกว่า 900 คน ซึ่งเป็นก�ำลังส�ำคัญขับเคลื่อน
ภาคการเกษตรและชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม
27
วิสาหกิจชุมชนผักสด ผลไม้แปรรูปบ้านหนองทราย
ต.หนองยาว อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา โทรศัพท์ 080 5631561
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563)
ใช้เป็น ใช้จริง
ใช้ โรงเรือนพลาสติก
ปลูกพืช อย่างมีความรู้
28
“โรงเรือนปลูกพืช”เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือการเกษตร
ที่เกษตรกรให้ความสนใจมากขึ้น ด้วยตอบโจทย์ปลูกพืช
ได้ทุกฤดูกาล ซึ่งรูปแบบโรงเรือนปลูกพืชมีหลากหลาย
ขึ้นอยู่กับชนิดพืชและเงินทุนของเกษตรกร
วิรัตน์ โปร่งจิต ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผักสด
และผลไม้แปรรูปบ้านหนองทราย อ.พนมสารคาม 
จ.ฉะเชิงเทรา หนึ่งในเกษตรกรที่เห็นความส�ำคัญของ
การใช้โรงเรือนปลูกพืช ซึ่งพื้นที่เพาะปลูกกว่า 3 ไร่ของ
เขา ติดตั้งโรงเรือนปลูกพืช 5 หลัง โดยเป็น “โรงเรือน
พลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพ” ของ สวทช. ถึง
4 หลัง สร้างรายได้จากการปลูกผักต่อเดือน 30,000-
40,000 บาท/เดือน จากเดิมที่ได้ไม่ถึง 20,000 บาท/
เดือน
“แต่ก่อนไม่มีโรงเรือน ปลูกผักหน้าฝนไม่ค่อย
ได้ผลผลิต อย่างผักบุ้งเจอโรคราสนิม แต่พอปลูกใน
โรงเรือน ไม่เจอปัญหาและยังได้ราคาดีด้วย”
โรงเรือนปลูกพืชหลังแรกของ วิรัตน์ เป็นโรงเรือน
ทรงหลังคาฟันเลื่อย หรือที่เรียกว่า หลังคา ก.ไก่ ซึ่งได้
รับสนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น และในปี 2561 เขาได้
รับงบประมาณสนับสนุนจาก สวทช. เพื่อสร้างโรงเรือน
พลาสติกปลูกพืชแบบโครงสร้างหลังคา 2 ชั้น ขนาด
6x24x4.8 เมตร หลังจากติดตั้งโรงเรือนแล้ว เขาพบว่า
พืชผักที่ปลูกในโรงเรือนได้คุณภาพดี สวยงาม ลดระยะ
เวลาปลูก และที่ส�ำคัญปลูกผักได้ไม่น้อยกว่า 8 รอบ/ปี
ค�ำนวณขนาดเหล็กที่ต้อง
ใช้ เพื่อใช้เหล็กแต่ละเส้นให้
คุ้มค่า มีเศษเหล็กเหลือทิ้ง
น้อยที่สุด หรือไม่มีเลย
29
“ผักโตเร็ว ต้นใหญ่ น�้ำหนักดี และ
ใช้เวลาปลูกน้อยลง เช่น ผักกาดขาว
ไดโตเกียว จากที่เคยปลูกนอกโรงเรือน
ใช้เวลา30วันแต่พอย้ายปลูกในโรงเรือน
ใช้เวลาเพียง25วันน�้ำหนักได้ถึง3ขีด/ต้น
หรือหอมแบ่ง จากที่ใช้เวลา 40 วัน เหลือ
เพียง 30 วัน”
ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดจาก
คุณภาพผลผลิตที่ได้แน่นอน ลดความ
เสียหายหรือความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ
สร้างรายได้เพิ่มขึ้น ท�ำให้ วิรัตน์ เขียน
โครงการของบประมาณสร้างโรงเรือนเพิ่ม
อีก 2 หลังจากหน่วยงานรัฐ และลงทุนเอง
อีกหนึ่งหลัง โดยโรงเรือนทั้งหมดเป็นรูปแบบ
ของ สวทช. ซึ่งเขาบอกว่า ตั้งใจใช้โรงเรือน
สวทช. เป็นแหล่งเรียนรู้การปลูกพืชใน
ระบบโรงเรือน
พื้นที่กว่า 3 ไร่แห่งนี้ ไม่เพียงมีแปลงพืช
ผักของสมาชิกในครอบครัว ทั้งผักสด หม่อน
มะม่วงหาวมะนาวโห่ และเป็นที่ตั้งของกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนผักสดและผลไม้แปรรูป
บ้านหนองทราย หากยังเป็นศูนย์เรียนรู้
ด้านเกษตรที่ส�ำคัญของจังหวัดฉะเชิงเทรา
ที่ให้ความรู้การปลูกพืชระบบเกษตรอินทรีย์
การป้องกันก�ำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชด้วย
สารชีวภัณฑ์ ไปจนถึงการแปรรูปผลผลิตที่
ได้รับมาตรฐาน กลุ่มฯ ใช้ระบบการรับรอง
แบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee
System-PGS) ผลผลิตของกลุ่มฯ จ�ำหน่าย
ที่ตลาดสีเขียวโรงพยาบาล ตลาดเกษตรกร
ปั๊มน�้ำมัน และส่งประจ�ำทุกสัปดาห์ให้
โรงพยาบาลพนมสารคาม ผลิตเป็นเมนู
อาหารให้ผู้ป่วย
“ที่นี่มีตลาดจ�ำหน่ายทุกวัน สมาชิก
ไปขายเอง ตลาดโมเดิร์นเทรดมีติดต่อมา
หลายราย แต่เงื่อนไขก็มีมาก อีกอย่าง
สมาชิกกลัวท�ำไม่ได้ตามออเดอร์ เพราะ
ยังไม่มีโรงเรือนด้วย”
การติดตั้งโรงเรือนพลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพของ
สวทช. นอกจากเกษตรกรได้เรียนรู้การผลิตพืชผักในระบบโรงเรือน
แล้ว ยังได้เรียนรู้ถึงโครงสร้าง วัสดุอุปกรณ์ และการประยุกต์ใช้
งานโรงเรือน
ด้วยทักษะและประสบการณ์ด้านงานช่าง ท�ำให้ วิรัตน์ รู้จัก
การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ แม้โรงเรือนปลูกพืชหลังแรกที่ได้รับ
การสนับสนุนจาก สวทช. เขาใช้วัสดุและอุปกรณ์ตามแบบทุกอย่าง
ด้วยเกรงเรื่องการตรวจรับงานตามข้อตกลง แต่โรงเรือนหลังต่อๆ
มา เขาได้ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์และการติดตั้ง ซึ่งช่วยลดต้นทุน
การก่อสร้างโรงเรือนปลูกพืช
“ผมเคยสร้างโรงเรือนแบบ ก.ไก่ มาแล้ว ก็พอรู้ว่าตรงไหน
ที่ปรับลดต้นทุนได้ เหล็กแทนที่จะเป็นเหล็กกลมด�ำพ่นกันสนิม
ก็ใช้เป็นเหล็กแป๊บประปา (เหล็กกัลวาไนซ์) ทนกว่า คลิปล็อก
เจอลมแรงบ่อยเข้า เด้งหลุด ก็ใช้ท่อพีวีซีผ่าครึ่งแล้วยิงน็อตยึด
กับพลาสติกคลุมโรงเรือน”
วิรัตน์ บอกว่า โรงเรือนหนึ่งหลังมีค่าใช้จ่ายคลิปล็อกประมาณ
4,000-5,000บาทหากใช้รางวายล็อคค่าใช้จ่ายประมาณ10,000บาท
แต่ถ้าเป็นท่อพีวีซี ค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 1,000 บาท
“การค�ำนวณขนาดเหล็กที่ต้องใช้” เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ วิรัตน์
ให้ความส�ำคัญ เพื่อใช้เหล็กแต่ละเส้นให้คุ้มค่า “มีเศษเหล็กเหลือ
ทิ้งน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย”
30
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน

More Related Content

Similar to หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน

NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
somporn Isvilanonda
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
Ploy Benjawan
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
somporn Isvilanonda
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
tongsuchart
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
somporn Isvilanonda
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
kasetpcc
 

Similar to หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน (16)

E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
 
News4vol5
News4vol5News4vol5
News4vol5
 
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
E news-may-2018-final
E news-may-2018-finalE news-may-2018-final
E news-may-2018-final
 
S mbuyer 111
S mbuyer 111S mbuyer 111
S mbuyer 111
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Rx samatcha096 25521208
Rx samatcha096 25521208Rx samatcha096 25521208
Rx samatcha096 25521208
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 

หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน

  • 1.
  • 2. วิทย์ชิดชุมชน เข้้าถึึง เปิิดรัับ ปรัับเปลี่่�ยน ISBN 978-616-8261-53-8 พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 1 (มิิถุุนายน 2563) จำำ�นวน 1,000 เล่่ม สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) 2558 โดยส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ไม่อนุญาตให้คัดลอก ท�ำซ�้ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น วิทย์ชิดชุมชน : เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน/โดย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. -- ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2563. 104 หน้า : ภาพประกอบสี ISBN: 978-616-8261-53-8 1. วิทยาศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ -- แง่สังคม 3.วิทยาศาสตร์การเกษตร 4. เทคโนโลยี การเกษตร I. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร II. ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ III. ชื่อเรื่อง Q175.5 303.483 จัดท�ำโดย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7004 www.nstda.or.th/agritec อีเมล agritec@nstda.or.th 02
  • 3. สารผู้อ�ำนวยการ นางสาววิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ในวันที่โลกขับเคลื่อนด้วยความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มนุษย์จ�ำต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการด�ำเนินชีวิตให้ ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงไม่เว้นแม้แต่งานด้านเกษตรความรู้และประสบการณ์ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นอาจไม่เพียงพอ ต่อการหยัดยืนอย่างมั่นคงของอาชีพเกษตร การเปิดรับความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็นและ ส�ำคัญยิ่งส�ำหรับคนท�ำเกษตรในปัจจุบันและอนาคต หนังสือ “วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน” น�ำเสนอเรื่องราวของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร กลุ่มชุมชน ที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ภายใต้โครงการและกิจกรรมที่ สท. ด�ำเนินงานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชนในช่วงปีที่ผ่านมา โดยน�ำเสนอในมิติของเทคโนโลยีและพื้นที่ด�ำเนินการ ไม่ว่าจะเป็น “สมาร์ทเทคโนโลยี: นวัตกรรมขับเคลื่อน เกษตรยุคใหม่”“เสริมแกร่งภาคเกษตร@EECด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม”“สร้างสมดุลคืนความสมบูรณ์ ให้ทุ่งกุลาร้องไห้” และ “สานความร่วมมือ เพิ่มคุณภาพผลผลิต ยกระดับชีวิตเกษตรกร” ด้วยต้นทุนชีวิตที่แตกต่าง การเข้าถึงความรู้เพื่อพัฒนาการท�ำเกษตรหรือพัฒนาชุมชนจึงต่างกันไปตามบริบท ของแต่ละคน แต่สิ่งหนึ่งที่พวกเขาต่างมีเหมือนกัน คือ การเปิดรับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม พิสูจน์ด้วยการลงมือท�ำ น�ำไปสู่การปรับวิธีคิดและวิธีการผลิตที่จะแปรเปลี่ยนเป็นผลลัพธ์ทั้งรายได้และความสุข ที่ได้รับ 03
  • 4. สารบัญ สมาร์ทเทคโนโลยี นวัตกรรมขับเคลื่อนเกษตรยุคใหม่ ข้อมูล อาวุธส�ำคัญของ เกษตรยุคใหม่ ใช้เป็น ใช้จริง ใช้ โรงเรือนพลาสติก ปลูกพืช อย่างมีความรู้ รู้จักและรู้ใช้ IoT ก้าวส�ำคัญของ เกษตรกรไทย กว่าจะเป็น ไม้ผลอินทรีย์ บนเส้นทางของ การเรียนรู้ Low profile High performance เลือกเครื่องมืออย่างฉลาด เพิ่มมูลค่าผลผลิต รู้จักบิวเวอเรีย อย่างเข้าใจ จัดการศัตรูพืช ด้วยความรู้ สานต่อผ้าทอโบราณ ด้วยความรู้ และเทคโนโลยี ฐานเรียนรู้ การผลิตอาหารโค คุณภาพ ก้าวทันสมาร์ทเทคโนโลยี ที่สถานีเรียนรู้ โรงเรือนอัจฉริยะ เสริมแกร่งภาคเกษตร @ EEC ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 01 02 08 28 12 32 16 36 40 44 20 04
  • 5. ท�ำเกษตรอินทรีย์ ด้วยความรู้และเชื่อมั่น Inspector ผู้ปิดทองขับเคลื่อน “ข้าวอินทรีย์” ผักสดคุณภาพ ผลผลิตจากเมล็ดพันธุ์ ต้นกล้าและ “คนปลูกมีความรู้” ข้าวเหนียวธัญสิริน ต้านทานโรคไหม้ หอมนุ่มนาน อีกทางเลือก ของผู้ปลูกผู้บริโภค ถั่วเขียว KUML จากพืชหลังนา สู่สินค้าส่งออก ยกระดับอาชีพ กลุ่มสตรี ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม Smart Tambon Model ร่วมกันรู้ ปลูกพริกแบบปลอดภัย สถานีปูนาเมืองบัว เรียนรู้เพื่อรักษา และต่อยอด สานความร่วมมือ เพิ่มคุณภาพผลผลิต ยกระดับชีวิตเกษตรกร สร้างสมดุล คืนความสมบูรณ์ให้ “ทุ่งกุลาร้องไห้” 04 03 68 52 76 56 82 92 88 94 60 05
  • 6. xxx xxxxxx สมาร์ทเทคโนโลยี นวัตกรรมขับเคลื่อนเกษตรยุคใหม่ “เกษตรแม่นย�ำ (Precision agriculture)” เป็น หนึ่งในกลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมายการท�ำงานของ สวทช. ที่ตอบโจทย์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศด้วย นวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้สูง 01 06
  • 7. โรงเรือนอัจฉริยะ ระบบการให้น�้ำอัตโนมัติส�ำหรับ พืชไร่และพืชสวน และระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับ การติดตามสภาวะแวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุม และบริหารจัดการ เป็นสมาร์ทเทคโนโลยี (smart technology) ที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ได้ถ่ายทอดความรู้ และการใช้งานให้กับเกษตรกรไทยแล้วกว่า 1,100 ราย ใน 53 จังหวัด โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ ได้เข้าถึงความรู้ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับ การใช้งานและสภาพความพร้อมในแต่ละพื้นที่ เน้นแนวคิด การใช้สมาร์ทเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และคุณภาพผลผลิต บริหารจัดการทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์สูงสุด และเป็นต้นแบบแหล่งเรียนรู้การใช้ สมาร์ทเทคโนโลยีให้กับเกษตรกรรายอื่น เกิดการสร้าง เครือข่ายและขยายผลการใช้เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น เป็นการขับเคลื่อนการใช้นวัตกรรมในภาคการเกษตร สอดคล้องวิสัยทัศน์ประเทศ “ไทยแลนด์ 4.0” 07
  • 8. ไร่เพื่อนคุณ ถนนโชคชัย-เดชอุดม ต.โคกม้า อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ โทรศัพท์ 089 9249927 www.facebook.com/raipueankun (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563) ข้อมูล อาวุธส�ำคัญ ของเกษตรยุคใหม่ 08
  • 9. ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ “ไร่เพื่อนคุณ ผักและ ผลไม้ไร้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช 100%” ริมถนน โชคชัย-เด่นอุดม อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ เชื้อชวนให้ คนรักสุขภาพแวะจับจ่ายผลผลิต ภายในพื้นที่ 26 ไร่ ถูกจัดสรรเป็นโรงเรือนเพาะปลูก48โรงเรือนที่หมุนเวียน ปลูกพืชหลักอย่างเมล่อนและแตงโม สลับกับพืชผัก อย่างถั่วฝักยาว คะน้า กวางตุ้ง แตงกวา ขณะที่ด้านหน้า มีห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพพืชผัก ห้องประชุม ร้านค้าและร้านอาหาร “ไร่เพื่อนคุณ” ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2558 โดย มงคล สุระสัจจะ อดีตข้าราชการที่เห็นปัญหาผลผลิตทางการ เกษตรตกต�่ำ การกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง รวมถึง การใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช เขาจึงตั้งใจที่จะใช้ชีวิต หลังเกษียณท�ำศูนย์เรียนรู้ให้เกษตรกร โดยยึดแนวทาง ส�ำคัญ “3 ปลอดภัย 3 เอาชนะ” คือ เกษตรกรปลอดภัย สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ผู้บริโภคปลอดภัย และเอาชนะ กลไกตลาด ฤดูกาล ยาฆ่าแมลง “ตอนนั้นกระแสเมล่อนมาแรง ก็คิดว่าถ้าท�ำ เมล่อนน่าจะได้ราคา ส่วนแตงโม เป็นผลไม้ทั่วๆ ไป แต่ใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชมาก แต่พ่อต้องการท�ำ แตงโมไม่ใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชให้เป็นสินค้าระดับ บนคู่กับเมล่อน” สุระเทพ สุระสัจจะ หนึ่งในผู้บริหาร “ไร่เพื่อนคุณ” ย้อนถึงที่มาของผลผลิตขึ้นชื่อของที่นี่ นอกจากพื้นที่ 26 ไร่แห่งนี้ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ ด้านเกษตรตั้งแต่การผลิตจนถึงการจัดจ�ำหน่ายแล้ว แทนที่เปิดน�้ำนานๆ ตาม ความรู้สึก แต่ค่าที่ได้ท�ำให้ เปิดน�้ำน้อยลง ปั๊ มท�ำงาน น้อยลง การเปิดน�้ำน้อยลง มีส่วนช่วยให้ผลผลิตเพิ่ม ขึ้นจากที่ไม่เกิดโรครากเน่า 5-10% 09
  • 10. การให้น�้ำหรือเปล่า ควรให้น�้ำกี่นาที ความชื้นในโรงเรือน เป็นสาเหตุของโรคหรือเปล่า แล้วถ้าลดความชื้น ต้อง เป็นความชื้นเท่าไหร่ ฯลฯ มีค�ำถามเกิดขึ้นมากมาย แต่หาค�ำตอบไม่ได้ การท�ำเกษตรมักมาจากความรู้สึก ไม่มีตัวเลข ไม่มีข้อมูลที่เอามาวิเคราะห์ จนได้มาฟัง อาจารย์โอภาสพูดถึงเทคโนโลยีไวมาร์คที่เก็บข้อมูลสภาวะ ความชื้นดิน อากาศ แสงทุกๆ ช่วงเวลาเป็นตัวเลข ฟังแล้ว ก็สนใจ แล้วเราก็ศึกษาเทคโนโลยี IoT (Internet of Thing) มาบ้าง ท�ำไมไม่ลองล่ะ” หลังเวทีบรรยายในครั้งนั้น สุระเทพ เข้าไปบอกถึง ความต้องการ “เทคโนโลยีระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับ การติดตามสภาวะแวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุมและ บริหารจัดการ หรือไวมาร์ค” (WiMaRC: Wireless sensor network for Management and Remote Control) ไปติดตั้งที่ ไร่ ซึ่งเขามองไปถึงการต่อยอดเป็นจุดเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยี ให้เกษตรกร หลังจากการพูดคุยกับดร.โอภาส ตรีทวีศักดิ์ นักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. น�ำไปสู่การติดตั้งเทคโนโลยีดังกล่าวใน ปลายปี 2561 ภายใต้การทดสอบและสังเคราะห์เทคโนโลยีให้ เหมาะสมกับการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน ทีมวิจัยติดตั้งระบบอุปกรณ์ 3 จุด คือ จุด A บริเวณกลาง โรงเรือน จุด B บริเวณท้ายโรงเรือนด้านใน (ลูกข่าย) และ จุด C ริมนอกโรงเรือน (แม่ข่าย) โดยจุด A และ B ประกอบด้วย เซนเซอร์วัดค่าความชื้นในดิน เซนเซอร์วัดค่าความชื้นในอากาศ และเซนเซอร์วัดค่าความเข้มแสงติดตั้ง 2 ต�ำแหน่ง คือด้านบน “ไร่เพื่อนคุณ” ยังมีพื้นที่ปลูกเมล่อนอีกกว่า 50 โรงเรือน ในอ�ำเภอเมือง จ.บุรีรัมย์ ผลผลิตของไร่เพื่อนคุณ มีทั้งเมล่อน แตงโม พืชผักปลอดภัย ซึ่งจ�ำหน่ายที่ หน้าร้าน ห้างโมเดิร์นเทรดในพื้นที่และจังหวัดใกล้เคียง โรงพยาบาล 13 แห่งในบุรีรัมย์ รวมถึงจ�ำหน่ายผ่าน ช่องทางออนไลน์ สุระเทพ เข้ามาช่วยงานที่ไร่เมื่อปี 2560 หลังจาก ผลผลิตของไร่ได้รับความนิยมมากขึ้น แม้เขาจะ ไม่ชื่นชอบงานเกษตรมาแต่ต้น แต่อาศัยที่เรียนด้าน วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และบริหารธุรกิจระหว่าง ประเทศ เขาจึงเป็นผู้เชื่อมโยงความรู้ด้านเกษตรและ เทคโนโลยีมาพัฒนาและปรับปรุงผลผลิตของไร่ รวมถึง ยังใช้ความรู้ด้านบริหารธุรกิจมาจัดการระบบงานต่างๆ “ความรู้และเทคโนโลยีจ�ำเป็นในการท�ำเกษตร มากขึ้น การใช้เทคโนโลยีสามารถเพิ่มมูลค่าให้ สินค้าและการันตีคุณภาพให้ลูกค้าได้” สุระเทพ มองเห็นความจ�ำเป็นของการน�ำ เทคโนโลยีมาใช้ในแปลง เขาเริ่มจากการติดตั้งอุปกรณ์ ตั้งเวลารดน�้ำ (timer) เพื่อหวังลดภาระเกษตรกร (คนงาน) ในการรดน�้ำ “แทนที่จะต้องเปิดปิดวาล์วน�้ำ ยืนรดน�้ำ ให้เขาไปท�ำกิจกรรมอื่นของไร่ที่ตอบโจทย์ รายได้มากขึ้น” ขณะเดียวกันจากที่เข้าไปเรียนรู้ใน โรงเรือน ท�ำให้เขาเกิดค�ำถามว่า ให้น�้ำแค่ไหนถึงจะพอ “เราก็เกิดค�ำถามว่าการให้น�้ำแต่ละครั้งเพียง พอต่อพืชมั้ย ให้น�้ำเกินหรือเปล่า ที่พืชตายเกิดจาก 10
  • 11. งดการเปิดสปริงเกิลแล้วเก็บข้อมูลว่าช่วยลดการเกิดโรคได้มากน้อยแค่ไหน หรือระยะเวลาการให้น�้ำ เราได้ค่าประมาณการณ์แล้วว่าแต่ละฤดูกาลควรให้ น�้ำบ่อยแค่ไหน แต่ก็ต้องไปปรับใช้และเก็บข้อมูลต่อไป” ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีไวมาร์ค สุระเทพ มองว่า ตัวเลข ที่ได้จากเซนเซอร์วัดค่าความชื้นดินมีส่วนช่วยให้ลดต้นทุนค่าไฟและค่าน�้ำ “แทนที่ เปิดน�้ำนานๆ ตามความรู้สึกว่าพืชยังต้องการ แต่ค่าที่ได้ท�ำให้เปิดน�้ำน้อยลง ปั๊มท�ำงานน้อยลง” ซึ่งการเปิดน�้ำน้อยลงท�ำให้การเกิดโรครากเน่าน้อยลงด้วย มีส่วน ช่วยให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากที่ไม่เกิดโรครากเน่า 5-10% นอกจากนี้ข้อมูลตัวเลข ที่เก็บในระบบเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเทคโนโลยีหรือปรับสภาพแวดล้อมใน โรงเรือนให้เหมาะสม เช่น การเพิ่มระยะเวลาการให้แสงในฤดูหนาว เพื่อให้ผลผลิต มีขนาดใหญ่เหมือนในช่วงฤดูร้อน หรือการติดตั้งพัดลมระบายอากาศเพื่อลดความชื้น ในโรงเรือน ด้วยเป็นศูนย์เรียนรู้ส�ำหรับเกษตรกร การติดตั้งเทคโนโลยีไวมาร์คจึงได้รับ ความสนใจจากผู้ศึกษาดูงานโดยเฉพาะเหล่าเกษตรกรรุ่นใหม่ ซึ่ง สุระเทพ จะแนะน�ำ การใช้เทคโนโลยีดังกล่าว โดยเน้นย�้ำการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เก็บในระบบ รวมถึง การดูแลตรวจสอบอุปกรณ์อย่างสม�่ำเสมอ และด้วยเห็นความส�ำคัญและความจ�ำเป็น ของการใช้เทคโนโลยี เขายังต่อยอดความคิดและความร่วมมือกับหน่วยงานวิจัยเพื่อ พัฒนาเทคโนโลยีที่จะช่วยเพิ่มมูลค่าและคุณภาพผลผลิตของไร่ให้ดียิ่งขึ้น ให้สมกับ ชื่อของไร่ “เป็นเพื่อนกับคุณและให้สิ่งดีๆ กับเพื่อน” และล่างของต้น เนื่องจาก ปริมาณแสงที่ต้นพืชได้รับ ไม่เท่ากัน นอกจากนี้ยัง ติดตั้งกล้องอีกหนึ่งจุด ภายในโรงเรือน จากการใช้งานมาราว หนึ่งปี สุระเทพ บอกว่า เทคโนโลยีนี้ติดตาม สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวกับ พืช (monitor) ไม่ใช่การ ควบคุม (control) โดยใช้ ข้อมูลทางสถิติจากระบบ มาบริหารจัดการเพื่อไม่ให้ เกิดความเสี่ยงที่เกิดจาก แสง อุณหภูมิ ความชื้นใน ดินและอากาศ ซึ่งส่งผล ต่อคุณภาพผลผลิต “เราใช้ข้อมูลมาช่วย จัดการ เช่น ดูข้อมูลย้อน หลังและภาพจากกล้อง ว่าเกิดเชื้อราที่ผลผลิตช่วง เวลาไหน แล้วดูตัวเลข ความชื้นสะสมในช่วงนั้น ว่าสะสมมากน้อยแค่ไหน พอรู้ว่าเชื้อราเริ่มก่อตัว ในระยะความชื้นสูงเป็น เพราะการคายน�้ำและ อุณหภูมิในโรงเรือน ก็ลอง 11
  • 12. แสนสบายฟาร์ม ต.หนองญาติ อ.เมือง จ.นครพนม โทรศัพท์ 089 7103508 (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2563) รู้จักและรู้ใช้ IoT ก้าวส�ำคัญของเกษตรกรไทย 12
  • 13. “เทคโนโลยี IoT (Internet of Thing) ไปได้ทุก สายงาน จะท�ำสมาร์ทโฮม สมาร์ทอินดัสเทรียล ก็ได้ แต่ผมมองว่าพื้นฐานของประเทศไทย คือ เกษตร ท�ำอย่างไรให้เกษตรกรรู้จัก IoT แล้วเอาไป ใช้ประโยชน์” ด้วยความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศบวกกับความสนใจส่วนตัวในเรื่องเกษตร ท�ำให้ ผศ.ว่าที่ ร.ต.ภูมินทร์ ฮงมา คณะวิทยาการ จัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย นครพนม ไม่รีรอที่จะสมัครเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติ การ “ระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับการติดตาม สภาวะแวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุมและบริหาร จัดการ” ของ สวทช. เมื่อปี 2560 “ช่วงนั้นเรื่อง IoT มาแรง ผมก็ซื้ออุปกรณ์ ที่มีขายตามท้องตลาดมาลอง แต่ไม่ค่อยเสถียร ถ้าอยากได้ของดี ราคาก็แพงมาก ก็มีค�ำถามว่าแล้ว ของไทยไม่มีเหรอ จนได้มาอบรมและรู้ว่ามี TMEC ของ สวทช. ที่ท�ำเซนเซอร์วัดความชื้นดินขึ้นเอง ผมดูฮาร์ดแวร์ ดูอุปกรณ์และระบบที่ทีมวิจัยท�ำ น่าสนใจ และท�ำได้ดีเลย” การอบรมในวันนั้นไม่เพียงเสริมความรู้ให้อาจารย์ ภูมินทร์ หากยังจุดความคิดและการท�ำงานร่วมกับทีม วิจัย เพื่อให้เกษตรกรไทยได้รู้จักและใช้ประโยชน์จาก “ระบบเซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับการติดตามสภาวะ แวดล้อมในฟาร์มเพื่อการควบคุมและบริหารจัดการ หรือไวมาร์ค (WiMaRC: Wireless sensor network for Management and Remote Control)” ผ ม ใ ช้ ข้ อ มู ล ปี ก่ อ น ม า วิเคราะห์กับสภาพอากาศ ปัจจุบัน ถ้าอุณหภูมิแบบ นี้ คนที่ไม่มีโรงเรือนเริ่มท�ำ ผักไม่ได้ ผมจะเริ่มท�ำ ตอบ โจทย์ผักขาดตลาดและยัง ได้ราคาสูง 13
  • 14. ทีมวิจัยเทคโนโลยีระบบ เซนเซอร์ไร้สายส�ำหรับการ ติดตามสภาวะแวดล้อมในฟาร์ม เพื่อการควบคุมและบริหารจัดการ น�ำโดย ดร.โอภาส ตรีทวีศักดิ์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. ได้ติดตั้งสถานีตรวจวัด สภาพอากาศแบบ IoT เพื่อ การเกษตรที่แสนสบายฟาร์ม ในปี 2561 ประกอบด้วย เซนเซอร์ วัดค่าความชื้นดิน เซนเซอร์วัด ค่าความเข้มแสง เซนเซอร์วัดค่า อุณหภูมิและความชื้นอากาศ และ เซนเซอร์วัดค่า EC ติดตั้ง 2 จุด (ลูกข่าย) เพื่อส่งข้อมูลมาที่แม่ข่าย (1 จุด) เก็บบันทึกที่ Cloud Server “ผมดีใจที่จะมีฮาร์ดแวร์ IoT มาให้ เกษตรกร บ้านเราไกล น้อยนักที่จะได้ โอกาส ผมจึงพยายามทุกอย่างเพื่อติดตั้ง ระบบให้ได้ และให้ได้เกษตรกรที่อยาก ร่วมกับเรา” อนุศักดิ์ ค�ำสุข หรือ ตั้ม Young Smart Farmerจังหวัดนครพนม เจ้าของ“แสนสบาย ฟาร์ม” เป็นหนึ่งในรายชื่อเกษตรกรที่สภา เกษตรกรจังหวัดแนะน�ำให้อาจารย์ภูมินทร์ หลังจากที่อาจารย์ประกาศหาเกษตรกร ที่ 1. มีโรงเรือน 2. ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ 3. สนใจเทคโนโลยี “ผมมองว่าโรงเรือนควบคุมตัวแปร บางอย่างได้ดีกว่า เช่นเดียวกับการ ปลูกผักไฮไดรฯ ที่ควบคุมการให้น�้ำ ปุ๋ย อุณหภูมิได้ง่ายกว่า และเกษตรกรที่ สนใจเทคโนโลยีจะท�ำให้การถ่ายทอด เรื่อง IoT ไปได้ง่าย ตอนนั้นมีตัวเลือก 2-3 ที่ มาลงพื้นที่กับตั้มที่แรก ตรงตาม ที่มองหาเลย และฟาร์มยังอยู่ใกล้กับมหาวิทยาลัยด้วย การไป แนะน�ำและติดตามสะดวก... ทุกอย่างลงตัว” พื้นเพครอบครัวของ ตั้ม มีอาชีพค้าขาย แต่การเรียนที่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ท�ำให้เขามีความรู้ด้านเกษตร โดยเฉพาะการปลูกพืชระบบไฮโดรโปนิกส์ที่เขาหลงใหลมาตั้งแต่ สมัยเรียน และเมื่อตัดสินใจหันหลังให้ชีวิตลูกจ้างบริษัท ตั้ม จึงท�ำ ฟาร์มผักไฮโดรโปนิกส์ของตัวเองอย่างจริงจังเมื่อราวปี 2559 “ปลูกผักระบบไฮโดรฯ ใช้แรงงานน้อย ก็เริ่มจากโต๊ะเล็กๆ ท�ำเองทุกอย่าง ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีอะไรมาช่วย ทุกวันก็จะลงไป ดูค่า EC เพื่อให้ปุ๋ย บังสแลนถ้าแดดแรง ดูแลจัดการ เก็บตัด ผักส่งขาย เรื่องเทคโนโลยี ถ้าไม่ได้เจออาจารย์ ก็จะใช้ของใน ท้องตลาด อยากได้แบบที่เก็บข้อมูล (data) ด้วย แต่มันไม่มี” ช่วงแรก ตั้ม ปลูกผักสลัดและขายผักเองที่ตลาดสด เพราะคน ไม่ค่อยรู้จักผักชนิดนี้ จากโต๊ะปลูกตัวเดียว ค่อยๆ ขยายเพิ่มขึ้น จนปัจจุบันมี 27 โต๊ะ เช่นเดียวกับชนิดผักที่เพิ่มขึ้น และตลาด รับซื้อที่แน่นอนขึ้น มีรายการสั่งซื้อจากโรงแรมในพื้นที่สัปดาห์ละ 20 กิโลกรัม “ผมแนะน�ำหรือจะเรียกว่าขายเทคโนโลยีก็ได้ (หัวเราะ) แทนที่ตั้มจะต้องเดินไปวัดค่า EC ทุกเช้า แต่นั่งอยู่ที่บ้านแล้ว มอนิเตอร์ค่า EC จากมือถือ ถ้าค่าได้ ก็ไม่ต้องไปผสมปุ๋ย ไปท�ำ 14
  • 15. กิจกรรมอย่างอื่นได้ ประหยัดแรงและเวลา เขาก็มองเห็นตรงนี้ แล้วยังมีเรื่องอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือน นครพนมฝนตก เยอะ บางครั้งตกทั้งสัปดาห์ เซนเซอร์ที่ติดตั้งเป็นตัวช่วยการ จัดการผักได้” อาจารย์ภูมินทร์ ย้อนถึงครั้งที่มาแนะน�ำเทคโนโลยี และเล่าต่อว่า แต่ก่อนตั้มใช้ความรู้สึกตัวเองเป็นตัววัด แต่เดี๋ยวนี้ จะดึงสแลนต้องดูค่าในมือถือ “แต่ก่อนใช้ความรู้สึกแดดเยอะ แดดน้อย แต่พอมีข้อมูล จากระบบก็เชื่อค่าที่ได้ เพราะมีตัวเลขชัดเจนกว่าการใช้ความ รู้สึก อย่างบางวันอุณหภูมิไม่ปกติ วัดจากความรู้สึก เราคิด ว่าปกติ เราก็ไม่ได้จัดการดูแลผัก ซึ่งจริงๆ แล้วมันต้องจัดการ ผลผลิตก็มีปัญหา แต่พอเราดูตัวเลขจากระบบ เรารู้แล้วว่าต้อง จัดการ ท�ำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น สวยขึ้น ผักแข็งแรงขึ้น โรคไม่ค่อย เกิด เพราะรู้ค่าต่างๆ และจัดการได้ก่อน หรือบางทีไม่อยู่ฟาร์ม ก็ดูค่าในมือถือแล้วโทร.บอกพ่อให้มาจัดการได้ ถ้าเป็นแต่ก่อน ต้องปล่อยทิ้งแล้วเริ่มต้นใหม่” ก่อนที่ ตั้ม จะใช้ข้อมูลจากระบบไวมาร์คที่ติดตั้ง เขาปลูกผัก ขึ้นฉ่ายได้ประมาณ 30-40 กิโลกรัม/โต๊ะ (โต๊ะขนาด 2x6 เมตร) แต่หลังจากใช้ข้อมูลจากระบบ ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 50-60 กิโลกรัม/โต๊ะ ส่วนสลัดได้ประมาณ 30 กิโลกรัม/โต๊ะ (ผักสลัด เดิม ขายเป็นต้น) ตั้ม บอกว่า ค่าเฉลี่ยผลผลิตน่าจะสูสีกับคนอื่น แต่ผัก แข็งแรงและสวยกว่า หลังจากใช้เทคโนโลยีนี้มาเกือบ 2 ปี ไม่เพียงการจัดการแปลง ตามข้อมูลที่ได้ ตั้ม ยังน�ำข้อมูลที่เก็บในระบบมาวิเคราะห์ส�ำหรับ วางแผนการผลิต เพื่อให้ได้ทั้งตลาดและราคา “data จ�ำเป็นในการจัดการ ผมใช้ข้อมูลปีก่อนมาวิเคราะห์ กับสภาพอากาศปัจจุบัน เช่น อากาศลักษณะนี้ควรท�ำหรือไม่ ถ้าอุณหภูมิแบบนี้ คนที่ไม่มีโรงเรือนเริ่มท�ำผักไม่ได้ ผมก็จะเริ่ม ท�ำ ตอบโจทย์ผักขาดตลาด และยังได้ราคาสูง” อาจารย์ภูมินทร์บอกว่า ถ้าเรามองเรื่อง data จากการ ใช้เทคโนโลยีนี้ก็ชัดเจนมาก วันนี้ควรจะปลูกหรือไม่ควร ปลูก อุณหภูมิแบบนี้ แสงแบบ นี้ อากาศแบบนี้ จะปลูกหรือ ไม่ปลูก บางคนปลูกพร้อมกัน ราคาก็ตก แต่อย่างตั้มรอก่อน รอให้อุณหภูมิขึ้นอีกนิด แล้ว ค่อยปลูกพอปลูกทีหลังผลผลิต ออกมาเขาก็ได้ราคามากกว่าเป็นการวิเคราะห์ ด้วยตัวเกษตรกรเอง เพราะเห็นข้อมูลมา ตลอด ถ้าเกษตรกรใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ เก็บ เขาจะก้าวไปอีกระดับ สามารถวิเคราะห์ ข้อมูลเป็นด้วยตัวเขาเอง ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตั้ม เป็น สิ่งที่อาจารย์ภูมินทร์บอกว่า “คุ้มล่ะ” ด้วย เห็นว่าสิ่งส�ำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี IoT คือ ความต่อเนื่องของการน�ำไปใช้งาน “คนสนใจพัฒนา IoT กันเยอะ โค้ด (code) ก็มี บอร์ดก็มีขาย ชิ้นงานที่เรา เห็น ทุกคนมีหมด แม้เกษตรกรไปซื้อของ ที่ขายในท้องตลาด วันหนึ่งเขาจะหยุดใช้ เมื่อฮาร์ดแวร์มีปัญหา เมื่อไม่ได้อย่างที่ เขาต้องการหรืออยากเห็น เมื่อปัจจัยต่างๆ เปลี่ยนไปหรือเขาอยากไปท�ำอย่างอื่น แต่ประยุกต์ใช้ไม่เป็น ก็จะหยุดไปเอง ความต่อเนื่องจะไม่มี แต่การที่จะให้ เกษตรกรใช้อย่างต่อเนื่องหรือมีคนคอย ดูแลต่อเนื่องยากกว่า เหมือนอย่างผมกับ ตั้มอยู่กันมา 2 ปี ไม่ธรรมดา (หัวเราะ) ความต่อเนื่องแบบนี้ที่เกษตรกรจะได้ พัฒนาตัวเองและวิเคราะห์ข้อมูลได้ด้วย ตัวเอง” นอกจากเป้าหมายที่ต้องการให้เกษตรกร ได้รู้จักและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี IoT แล้ว อาจารย์ภูมินทร์ ยังใช้ฟาร์มของตั้มเป็น แหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ให้เห็นการน�ำไปประยุกต์ใช้งานจริง เป็นเวลากว่า 2 ปีที่ ตั้ม คลุกคลีกับการ ใช้ระบบไวมาร์ค โดยมี อาจารย์ภูมินทร์ เป็น พี่เลี้ยงให้ค�ำแนะน�ำ ติดตามการใช้งาน และ เชื่อมต่อกับทีมวิจัยการท�ำงานร่วมกันยังส่งต่อ ไปถึงการต่อยอดการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว สู่การสั่งการ (control) ซึ่งต่างเห็นพ้องกันว่า “เมื่อดูข้อมูลเป็น วิเคราะห์เป็น แล้วจึง สั่งการ” จะเป็นการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยี IoT อย่างค่อยเป็นค่อยไปแต่ต่อเนื่อง 15
  • 16. นาวิตา เมล่อนฟาร์ม โทรศัพท์ 065 2329555, 061 9796151 www.facebook.com/navitamelonfarm (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563) Low profile High performance เลืือกเครื่่�องมืืออย่่างฉลาด เพิ่่�มมููลค่่าผลผลิิต 16
  • 17. เส้นทางสายเทคโนโลยีเกษตรของ สุวิทย์ ไตรโชค จากลูกชาวนาสู่การเป็นสมาร์ทฟาร์มเมอร์ (Smart Farmer) ผู้บุกเบิกการปลูกเมล่อนของประเทศไทย ด้วย ปริมาณผลผลิตปัจจุบันกว่า 150 ตันต่อปี “เกษตรกรคืออาชีพที่ถูกเอาเปรียบที่สุด ลูกข้าราชการเบิกค่าเรียนได้ แต่ลูกเกษตรกร รายได้ ก็น้อยแล้วยังต้องหาเงินเรียนเอง” ความหลื่อมล�้ำ ที่เป็นแรงผลักดันที่ท�ำให้ สุวิทย์ มุ่งมั่นที่จะยกระดับ คุณภาพชีวิตอาชีพเกษตรกรด้วยการท�ำเกษตรอย่างมี คุณภาพ เพื่อเป็นผู้ก�ำหนดราคาตลาดได้เอง เส้นทางสายเกษตรของ สุวิทย์ เริ่มต้นจากการ เป็นวิศวกรบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ด้วย มองว่าเป็นอาชีพที่มีรายได้ดี ซึ่งเป็นทุนส�ำคัญส�ำหรับ การท�ำเกษตร รายได้ทั้งหมดจากงานประจ�ำไปลงกับ การทดลองและศึกษาหาความรู้ “ช่วงที่เป็นวิศวกร ผมใช้เงินประหยัดมาก ทั้งแผนกมีคนที่ใช้เงิน น้อยกว่าผมแค่คนเดียว คือพนักงานท�ำความสะอาด ที่ผมแพ้เขาเพราะผมต้องไปซื้อข้าวกิน แต่เขาห่อข้าว มาจากบ้าน” พืชชนิดแรกที่ สุวิทย์ ลงมือปลูก คือ พืชผักสวน ครัว แต่ไม่สร้างรายได้มากนัก ขณะเดียวกันการท�ำงาน สายการบิน ได้เดินทางไปต่างประเทศบ่อย ท�ำให้ได้ รู้จัก “เมล่อน” ผลไม้มูลค่าสูง ซึ่งสมัยนั้น (ราว 30 กว่า ปี) ที่ประเทศญี่ปุ่นราคาขายต่อลูกสูงถึง 10,000 บาท ส�ำหรับเมล่อนเกรดพรีเมี่ยม (premium) ท�ำให้เขาสนใจ ไม้ผลนี้อย่างจริงจัง ระบบให้น�้ำอัตโนมัติฯ ช่วย ให้ตรวจสอบและควบคุม ได้แม่นย�ำขึ้น เพิ่มจ�ำนวน ผลผลิตเกรดเอในแต่ละ รอบการผลิตได้ถึง 10% 17
  • 18. “ในช่วง 5 ปีแรกเงินเดือนผมหมด ไปกับค่าลองผิดลองถูก ปลูกเท่าไหร่ ก็หายหมด แต่ผมไม่เคยถอย” จนใน ปีที่ 6 ของการปลูกเมล่อน เขาสามารถ คืนทุนที่เสียไปทั้งหมดกลับมาได้ ปัจจุบัน สุวิทย์ เป็นหนึ่งในผู้ผลิตเมล่อนแปลงใหญ่ ของประเทศไทย ด้วยผลผลิต 150 ตันต่อปี ภายใต้แบรนด์ นาวิต้า เมล่อนฟาร์ม หรือ Navita ซึ่งมีที่มาจาก Natural Vitamin ยึดมั่นในแนวทางการท�ำเกษตรที่ว่า “Low profile High performance” โดยอาศัย องค์ความรู้ด้านการผลิตพืชและการท�ำ เกษตรที่มีเป้าหมายเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด “เราไม่จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ไฮเทค ที่แพงมาก ถ้าของถูกกว่าแล้วให้ผลผลิต ที่เท่ากันได้ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสม แต่บางอย่าง ถ้าของแพงดีกว่า แล้วท�ำให้ ผลผลิตมีคุณภาพ ก็จ�ำเป็นต้องใช้” นาวิต้า เมล่อนฟาร์ม เติบโตมากว่า 30 ปี และก�ำลังส่งผ่านสู่รุ่นที่ 2 โดยมี วิชญา-สิริญา ไตรโชค ลูกสาวสองคนของ สุวิทย์ที่พร้อมรับช่วงต่อ “ตั้งแต่จ�ำความได้ก็เห็นคุณพ่อมุ่งมั่นและเอาจริงเอาจัง กับทุกเรื่อง โดยเฉพาะการท�ำเกษตร” พริม-สิริญา ไตรโชค ลูกสาวคนเล็กเล่าถึงบุคลิกของ สุวิทย์ ผู้เป็นพ่อ ซึ่งความมุ่งมั่นและ เอาจริงเอาจังคือต้นทุนอย่างดีที่สุวิทย์ส่งต่อให้ทายาท พลอย-วิชญา ไตรโชค ลูกสาวคนโต เลือกเรียนสาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (Food Science and Technology) เพื่อน�ำมาใช้พัฒนากิจการของพ่อ และจบปริญญาโทสาขา Food Engineering and Bioprocess Technology ขณะที่ พริม ลูกสาวคนเล็ก เรียนจบสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพและปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ ปัจจุบันพลอยดูแลด้านการขายและการบัญชีส่วนพริมรับผิดชอบ ด้านการตลาดออนไลน์และตลาดสมัยใหม่ เจาะกลุ่มลูกค้าพรีเมี่ยม ที่มีก�ำลังซื้อสูง เน้นทั้งคุณภาพและความพิถีพิถันการผลิต ราคา ผลผลิตขายออนไลน์สูงสุดถึง 2,000 บาทต่อลูก และเมื่อบทบาท ด้านการขายตกเป็นของลูกสาว สุวิทย์ จึงมีเวลาทุ่มเทกับเรื่อง เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพการผลิตได้ดียิ่งขึ้น พื้นที่ปลูกเมล่อนกว่า 100 ไร่ของนาวิต้า เมล่อนฟาร์ม อยู่ ท่ามกลางแปลงนาข้าว ทั้งๆ ที่การปลูกเมล่อนสามารถท�ำรายได้ มากกว่าปลูกข้าวหลายเท่า แต่รอบข้างเขากลับไม่มีใครปลูก 18
  • 19. “เกษตรกรรอบข้างเคยเห็นผมขาดทุน ก็เลยไม่มีใคร อยากท�ำตาม การปลูกเมล่อนต้องเอาใจใส่ ผมต้องคอยดู ทุกวัน เผลอนิดเดียวก็เสียหายหลักแสนแล้ว” สุวิทย์ จึงต้องการน�ำเทคโนโลยีมาช่วยดูแลแปลงเมล่อน โดยเฉพาะการให้น�้ำให้ปุ๋ยที่ต้องใช้ประสบการณ์ตัดสินใจ ซึ่งแต่ เดิมมีเพียงเขาและคนงานอีกหนึ่งคนที่ดูแลประจ�ำฟาร์มเท่านั้น เป็นผู้ก�ำหนดว่าจะต้องให้น�้ำให้ปุ๋ยเมื่อไหร่ ปริมาณเท่าไหร่ แต่ด้วยพื้นที่ปลูกที่มากท�ำให้ดูแลไม่ทั่วถึง ส่งผลกระทบต่อ คุณภาพผลผลิต เขาจึงพยายามคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีที่ ช่วยควบคุมการให้น�้ำให้ปุ๋ยอย่างแม่นย�ำมาโดยตลอด จนเมื่อ พลอยและพริม ได้เข้ามาประชุมและดูงานที่ สวทช. ท�ำให้ได้ รู้จัก “ระบบการให้น�้ำอัตโนมัติส�ำหรับพืชไร่และพืชสวน” ของ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) นาวิต้า เมล่อนฟาร์ม จึงน�ำมาต่อยอดกับระบบให้น�้ำให้ปุ๋ยเดิมซึ่งเป็น ระบบน�้ำหยดอยู่แล้ว เพิ่มประสิทธิภาพและการใช้งานที่สะดวก มากขึ้น จากเดิมที่ต้องเปิดน�้ำทีละแปลงจนครบทุกแปลง ท�ำให้ต้อง ใช้เวลามาก แต่เมื่อใช้ระบบให้น�้ำให้ปุ๋ยอัตโนมัติฯ ท�ำให้สามารถ ควบคุมได้จากสมาร์ทโฟน สามารถตรวจสอบและควบคุมได้ แม่นย�ำขึ้น ช่วยเพิ่มจ�ำนวนผลผลิตเกรดเอในแต่ละรอบการผลิตได้ ถึง 10% (จากประมาณ 60-70% เป็น 70-80%) และมีเป้าหมาย เพิ่มจ�ำนวนเกรดเอให้ถึง 95% ระบบการให้น�้ำอัตโนมัติส�ำหรับพืช ไร่พืชสวน ประกอบด้วย 1) เซนเซอร์วัดค่า อุณหภูมิและความชื้นอากาศ 2) เซนเซอร์วัด ค่าความเข้มแสง 3) เซนเซอร์วัดค่าความชื้น ดิน ส�ำหรับบันทึกสภาวะแวดล้อมของแปลง ปลูกเมล่อน เพื่อน�ำไปวิเคราะห์และสั่งการ ให้น�้ำให้ปุ๋ย โดยสามารถก�ำหนดรูปแบบการ ให้น�้ำได้ 3 แบบ คือ 1) แบบอัตโนมัติตาม ความต้องการของเมล่อน 2) แบบตั้งเวลา 3) แบบก�ำหนดเองโดยผู้ใช้ (manual) ปัจจุบันลูกสาวของสุวิทย์เป็นผู้สั่งการ ให้น�้ำให้ปุ๋ยควบคู่ไปกับการเก็บข้อมูลค่า ความชื้นดิน อุณหภูมิความชื้นอากาศ และความเข้มแสง เพื่อใช้วิเคราะห์และ ก�ำหนดการรดน�้ำแบบอัตโนมัติในอนาคต จากการใช้งานระบบให้น�้ำอัตโนมัติฯ สุวิทย์ มองว่า อุปกรณ์และการเชื่อมต่อมีความ เสถียร สามารถใช้งานในแปลงเกษตรได้ดี เซนเซอร์วัดค่ามีความแม่นย�ำและทนทาน พอสมควร แต่ระบบฯ ยังสามารถพัฒนาได้ อีกในเรื่องสายส่งสัญญาณที่ใช้งานได้เพียง ในระยะ 15 เมตร ซึ่งท�ำให้การบันทึกค่าใน แปลงขนาดใหญ่ยังไม่ทั่วถึง อย่างไรก็ตาม สท. และนาวิตา เมล่อนฟาร์ม อยู่ระหว่าง พัฒนาระบบเซนเซอร์ไร้สายเพื่อการใช้งาน ที่ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น เป้าหมายด้านเทคโนโลยีเกษตรใน อนาคตของ สุวิทย์ คือ สร้างระบบ AI การให้ น�้ำให้ปุ๋ยอัตโนมัติส�ำหรับพืช ได้แก่ แตงโม มะละกอ กล้วย สับปะรด และมะเขือเทศ โดยเขาตั้งใจท�ำในรูปแบบกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) เพื่อให้เกษตรกรสามารถ น�ำไปใช้งานได้ การวางเป้าหมายที่ชัดเจนความมุ่งมั่น ครอบครัว และการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ ให้้เกิิดประโยชน์์ เป็็นบทสรุุปความสำำ�เร็็จ ในอาชีีพเกษตรกรของ สุุวิิทย์์ และนาวิิต้้า เมล่่อนฟาร์์ม 19
  • 20. ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ อ.วังจันทร์ จ.ระยอง AGRITEC Station อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2563) ก้าวทันสมาร์ทเทคโนโลยี ที่สถานีเรียนรู้ โรงเรือนอัจฉริยะ 20
  • 21. “ตื่นเต้น รู้สึกว่าเท่ แปลกใหม่ โรงเรือนที่เคย เห็นก็ธรรมดา ไม่มีเทคโนโลยี” มายด์-สุภนิดา นาม โบราณ นักเรียนทวิศึกษาสาขาเกษตรนวัต โรงเรียน จิตรลดาวิชาชีพ โรงเรียนวังจันทร์วิทยา เล่าถึงความรู้สึก แรกที่ได้รู้จักโรงเรือนอัจฉริยะ “โรงเรือนอัจฉริยะ”คือโรงเรือนปลูกพืชที่ติดตาม และควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในโรงเรือน ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความชื้นอากาศ ความเข้มแสง และ ความชื้นดิน โดยใช้ชุดเซนเซอร์และระบบควบคุมการให้ น�้ำและปุ๋ยอัตโนมัติตามความต้องการของพืช สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร(สท.)ร่วมกับบริษัทปตท.จ�ำกัด(มหาชน) ติดตั้งโรงเรือนอัจฉริยะ ณ ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ จ.ระยอง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีเกษตรสมัย ใหม่ให้เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดระยองและใกล้เคียง ขณะเดียวกันยังเป็นหนึ่งในหัวข้อเรียนรู้ของนักเรียน หลักสูตร “เกษตรนวัต” อีกหนึ่งโครงการความร่วมมือ กับสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ในภาคเรียนแรกของปีการศึกษา 2562 เหล่า นักเรียนเกษตรนวัตจ�ำนวน 21 คน ใช้เวลาช่วงบ่ายใน แต่ละวันเรียนรู้เรื่องพืช โดยมี “มะเขือเทศ” เป็นพืช หลัก และมี ศ. ดร.สุชีลา เตชะวงค์เสถียร มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ผู้เชี่ยวชาญการปรับปรุงพันธุ์มะเขือเทศของ ประเทศ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและลงมือ ปฏิบัติ ซึ่งไม่ใช่แค่ขุดหลุม ปรุงดินใส่ปุ๋ย หยอดเมล็ด โรงเรือนอัจฉริยะที่สวนผัก AGRITEC Station เป็นแหล่ง เรียนรู้และห้องทดลองที่สวทช. และหน่วยงานพั นธมิตร จะได้ศึกษาวิจัยและเก็บข้อมูล ความต้องการของพืชใน ระบบโรงเรือน 21
  • 22. รดน�้ำ แต่เป็นการปลูกมะเขือเทศผลสดในระบบโรงเรือนที่ใช้เทคโนโลยี มาติดตามและควบคุมสภาวะแวดล้อม ซึ่งพันธุ์มะเขือเทศที่เด็กๆ ปลูก เป็นสายพันธุ์ชายนี่ควีน(ShinyQueen)พันธุ์นิลมณีและพันธุ์ออเร้นจ์ มข. ที่พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์โดยอาจารย์สุชีลา “ถ้าบอกว่าให้ไปจับจอบจับเสียม เด็กอาจจะไม่ค่อยสนใจ แต่ถ้าบอกว่าให้ดูค่าความชื้นดิน เด็กสนใจ อยากท�ำ ประหยัด แรงตัวเอง แต่ก็ยังได้ท�ำเกษตร” สโรชา กรุษฉ�่ำ คุณครูประจ�ำ หลักสูตรเกษตรนวัต บอกเล่าถึงการเรียนรู้เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่ ซึ่งส�ำคัญกับการท�ำเกษตรมากขึ้นเมื่อสภาพอากาศที่แปรเปลี่ยนมาก ขึ้นอย่างทุกวันนี้ “เทคโนโลยีช่วยให้การท�ำเกษตรสะดวกขึ้น ประหยัดเวลา เกษตรกร ได้ไปท�ำอย่างอื่นมากขึ้น แต่ก็ต้องมีความรู้พื้นฐาน เกษตรและก็ยังต้องดูแลพืชที่ปลูกด้วย” บีม-อนาวิล ชูนวน หนึ่งในนักเรียนทวิศึกษาสาขาเกษตรนวัตฯ ที่มีความฝันอยากท�ำสวน เกษตรอินทรีย์ท่องเที่ยวที่น�ำเทคโนโลยีมาใช้งาน บีม ได้ลงมือปฏิบัติ วางระบบน�้ำ ดูแลอุปกรณ์ และทดลองสั่งการรดน�้ำอัตโนมัติในคาบ เรียนการปลูกมะเขือเทศ เช่นเดียวกับ มายด์ ที่ตั้งใจเดินตามอาชีพ เกษตรกรของพ่อแม่ แต่ต่อยอดด้วยการใช้เทคโนโลยี “รุ่นเราถ้าท�ำ สวน ต้องมีเทคโนโลยีมาใช้แล้วล่ะ อุณหภูมิอากาศและการให้ น�้ำมีผลกับการติดดอกของทุเรียน คิดว่าเทคโนโลยีช่วยได้ และ ถ้าลงทุนเทคโนโลยีก็ใช้ได้หลายปี” นอกจากเด็กๆ ได้เรียนรู้ระบบการ ท�ำงานของโรงเรือนอัจฉริยะ การปลูกและ ดูแลมะเขือเทศผลสดแล้ว พวกเขายังได้ เรียนรู้เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช การผลิต สารชีวภัณฑ์(ราบิวเวอเรีย)การผลิตต้นอ่อน (ไมโครกรีน) การบันทึกกิจกรรมการปลูก (Trace farm) รวมถึงการผลิตเห็ดคุณภาพ และระบบติดตามสภาวะอากาศในโรงเพาะ เห็ด เป็นเวลาร่วม 5 เดือนที่เด็กๆ เรียนรู้ การท�ำเกษตรสมัยใหม่ที่โรงเรือนอัจฉริยะ โดยมีมะเขือเทศผลสดเป็นบทเรียนหลัก ความรู้และประสบการณ์เพิ่มพูนขึ้นทุกๆ ครั้ง เช่นเดียวกับการเจริญเติบโตของเมล็ด มะเขือเทศ จนเป็นผลผลิตสุกงามพร้อม เก็บเกี่ยว 22
  • 23. “ไม่คิดว่าตัวเองท�ำได้ปลูกมะเขือเทศ เป็นงานละเอียด ต้องดูแลใส่ใจละเอียด ยิบมาก กรรไกรที่ใช้ตัดต้นหรือใบที่เป็น โรคทิ้ง ก็ต้องมาฉีดแอลกอฮอล์ก่อนไป ตัดต่อ ป้องกันโรคไปติดต้นอื่น” มายด์ เล่าถึงความรู้สึกต่อบทเรียนพืชเรื่อง มะเขือเทศ ขณะที่ บีม เสริมว่า การตัดแต่ง ใบให้ต้นบางลงไม่เป็นที่อยู่ของแมลงศัตรู พืชและแหล่งสะสมโรค หรือใช้สารชีวภัณฑ์ หรือสารเคมีฉีดพ่น ก็ต้องเรียนรู้วิธีใช้ให้ ถูกต้อง “เด็กๆ มาเรียนหลักสูตรเกษตรนวัต ด้วยความชอบเกษตรเป็นพื้นฐานซึ่งเนื้อหา ไม่ใช่เกษตรการงานทั่วไป แต่เขาต้อง เรียนรู้เรื่องเกษตรและเทคโนโลยี เพื่อ สุดท้ายต้องออกแบบหรือพัฒนานวัตกรรม ขึ้นมา ช่วงแรกๆ บางคนยังท�ำตามค�ำสั่ง แต่พอปรับตัวได้ เขากระตือรือร้นที่จะท�ำ เอง ตั้งค�ำถามและหาค�ำตอบเอง” สโรชา บอกถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการ เรียนการสอนที่ใช้ “โรงเรือนอัจฉริยะ” เป็น สถานีเรียนรู้ นอกจากที่ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์แล้ว สวทช. โดย สท. ยังได้ ติดตั้งโรงเรือนอัจฉริยะที่บริเวณสวนผัก AGRITEC Station อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี แปลงสาธิตการน�ำเทคโนโลยี เป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำเกษตร โดยทดสอบและสาธิต ผลงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรที่คิดค้นและ พัฒนาโดยนักวิจัย สวทช. และหน่วยงานพันธมิตร โรงเรือนอัจฉริยะที่สวนผัก AGRITEC Station เป็นแหล่งเรียน รู้และห้องทดลองที่ สวทช. และหน่วยงานพันธมิตรจะได้ศึกษาวิจัย และเก็บข้อมูลความต้องการของพืชในระบบโรงเรือน ซึ่งข้อมูลที่ได้ จะเป็นคลังข้อมูลที่ส�ำคัญส�ำหรับการท�ำเกษตรของประเทศได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทุกวันนี้ที่สภาพอากาศแปรปรวนยิ่งขึ้น การเพาะ ปลูกพืชในโรงเรือนจึงมีความจ�ำเป็นมากขึ้น ในช่วงปลายปี 2562 สท. ได้ติดตั้งโรงเรือนอัจฉริยะแล้วเสร็จ และได้ปลูกทดสอบมะเขือเทศ 8 สายพันธุ์ ได้แก่ · เชอร์รี่แดง เชอร์รี่เขียว นิลมณี ชายนี่ควีน ออเร้นจ์ มข. เป็นสายพันธุ์ที่พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์โดย ศ. ดร.สุชีลา เตชะวงค์เสถียร มหาวิทยาลัยขอนแก่น · PC3 และ PC11 สายพันธุ์ที่พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์โดยศูนย์ พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) · สแนกสลิม สายพันธุ์จากภาคเอกชน ส่วนหนึ่งของมะเขือเทศทั้ง 8 สายพันธุ์ในโรงเรือนยังใช้ถุงปลูก “Magik Growth” ผลงานวิจัยและพัฒนาโดยทีมวิจัยสิ่งทอ กลุ่มวิจัย เทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. ซึ่งใช้เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นใยแบบพิเศษ ท�ำให้ เส้นใยมีความยืดหยุ่นแบบผ้าสปันบอนด์ ออกแบบให้มีความหนาที่ เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด แผ่นเส้นใยที่มีรูพรุนเล็กๆ ท�ำให้น�้ำและ อากาศถ่ายเทได้ดี ข้อมูลจากระบบติดตามและควบคุมสภาวะอากาศของโรงเรือน อัจฉริยะจากทั้งสองสถานีเรียนรู้ จะเป็นข้อมูลที่น�ำมาวิเคราะห์การ เจริญเติบโตของมะเขือเทศในสภาวะแวดล้อมต่างๆเพื่อบริหารจัดการ ปัจจัยการผลิตต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้น�้ำหรือปุ๋ยให้เหมาะสมกับ ความต้องการของพืชในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นคลัง ข้อมูลส�ำคัญของการปลูกมะเขือเทศในระบบโรงเรือนให้กับประเทศ “โรงเรือนอัจฉริยะ” อาจดูเป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับเกษตรกรไทย แต่ส�ำหรับโลกที่ก�ำลังขับเคลื่อนด้วยสมาร์ทเทคโนโลยี (smart technology) การเปิดรับเพื่อปรับตัวกับความเปลี่ยนแปลงด้าน เทคโนโลยีจึงจ�ำเป็นยิ่งส�ำหรับอนาคตของภาคการเกษตรไทย 23
  • 24. ก้าวต่อไป NEXT STEP ไม่เพียงสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร (สท.) ได้ถ่ายทอดความรู้และการใช้งานสมาร์ท เทคโนโลยี (smart technology) ให้เกษตรกรได้น�ำ ประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพ ผลผลิตแล้ว สท. ยังได้ร่วมกับเกษตรกรและสถาบัน การศึกษาพัฒนาแหล่งเรียนรู้สมาร์ทเทคโนโลยีใน ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก เพื่อให้ เกษตรกรสามารถเข้าถึงและเข้าใจการใช้สมาร์ท เทคโนโลยีในการท�ำเกษตร จุดเรียนรู้เทคโนโลยีระบบการให้น�้ำอัตโนมัติใน พืชสวนและพืชไร่ ณ สวนบัวแก้ว อ.วังจังจันทร์ จ.ระยอง 24
  • 25. จุดเรียนรู้ระบบเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายใน ฟาร์ม เพื่อการควบคุมและบริหารจัดการ (Farm WiMaRC) ณ พื้นที่จุดเรียนรู้สวนมังคุด กลุ่ม เกษตรกรรุ่นใหม่จันทบุรี อ.เมือง จ.จันทบุรี การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีเกษตรและ เกษตรอัจฉริยะ ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีโรงเรือน อัจฉริยะเพื่อการผลิตพืชอย่างแม่นย�ำ ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี โรงเรือนอัจฉริยะเพื่อการผลิตพืชอย่างแม่นย�ำ กับบริษัท สยามคูโบต้า คอร์เปอเรชั่น จ�ำกัด อ.พานทอง จ.ชลบุรี 25
  • 26. เสริมแกร่งภาคเกษตร @ EEC ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 เพื่อ ยกระดับอุตสาหกรรมและเพิ่มขีดความสามารถการ แข่งขันด้านเศรษฐกิจให้ประเทศ โดยมีเขตนวัตกรรม 02 26
  • 27. ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation: EECi) เป็นโครงสร้าง พื้นฐานขนาดใหญ่รองรับการท�ำวิจัยและพัฒนา ต่อยอดไปสู่การใช้งานจริง ซึ่งจะน�ำประเทศไทยสู่ อุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร (สท.) ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งขับเคลื่อนภาค การเกษตรในพื้นที่ด้วยงานวิจัยด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรมทั้งจาก สวทช. และพันธมิตร ผ่านการ ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่ อาทิ สมาร์ทเทคโนโลยี สารชีวภัณฑ์ การผลิตพืชในระบบ โรงเรือน การผลิตอาหารสัตว์ หรือแม้แต่เทคโนโลยี ด้านสิ่งทอ เพื่อตอบโจทย์ความหลากหลายของอาชีพ ในพื้นที่ สท. ไม่เพียงด�ำเนินการในพื้นที่เป้าหมาย น�ำร่องของ EEC 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ ระยอง หากยังครอบคลุมจังหวัดอื่นในภาคตะวันออก ทั้งจันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี และสระแก้ว โดยในปี 2562 มีชุมชนที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปแล้ว 57 ชุมชน จ�ำนวนกว่า 900 คน ซึ่งเป็นก�ำลังส�ำคัญขับเคลื่อน ภาคการเกษตรและชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 27
  • 28. วิสาหกิจชุมชนผักสด ผลไม้แปรรูปบ้านหนองทราย ต.หนองยาว อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา โทรศัพท์ 080 5631561 (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563) ใช้เป็น ใช้จริง ใช้ โรงเรือนพลาสติก ปลูกพืช อย่างมีความรู้ 28
  • 29. “โรงเรือนปลูกพืช”เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือการเกษตร ที่เกษตรกรให้ความสนใจมากขึ้น ด้วยตอบโจทย์ปลูกพืช ได้ทุกฤดูกาล ซึ่งรูปแบบโรงเรือนปลูกพืชมีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับชนิดพืชและเงินทุนของเกษตรกร วิรัตน์ โปร่งจิต ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผักสด และผลไม้แปรรูปบ้านหนองทราย อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา หนึ่งในเกษตรกรที่เห็นความส�ำคัญของ การใช้โรงเรือนปลูกพืช ซึ่งพื้นที่เพาะปลูกกว่า 3 ไร่ของ เขา ติดตั้งโรงเรือนปลูกพืช 5 หลัง โดยเป็น “โรงเรือน พลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพ” ของ สวทช. ถึง 4 หลัง สร้างรายได้จากการปลูกผักต่อเดือน 30,000- 40,000 บาท/เดือน จากเดิมที่ได้ไม่ถึง 20,000 บาท/ เดือน “แต่ก่อนไม่มีโรงเรือน ปลูกผักหน้าฝนไม่ค่อย ได้ผลผลิต อย่างผักบุ้งเจอโรคราสนิม แต่พอปลูกใน โรงเรือน ไม่เจอปัญหาและยังได้ราคาดีด้วย” โรงเรือนปลูกพืชหลังแรกของ วิรัตน์ เป็นโรงเรือน ทรงหลังคาฟันเลื่อย หรือที่เรียกว่า หลังคา ก.ไก่ ซึ่งได้ รับสนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น และในปี 2561 เขาได้ รับงบประมาณสนับสนุนจาก สวทช. เพื่อสร้างโรงเรือน พลาสติกปลูกพืชแบบโครงสร้างหลังคา 2 ชั้น ขนาด 6x24x4.8 เมตร หลังจากติดตั้งโรงเรือนแล้ว เขาพบว่า พืชผักที่ปลูกในโรงเรือนได้คุณภาพดี สวยงาม ลดระยะ เวลาปลูก และที่ส�ำคัญปลูกผักได้ไม่น้อยกว่า 8 รอบ/ปี ค�ำนวณขนาดเหล็กที่ต้อง ใช้ เพื่อใช้เหล็กแต่ละเส้นให้ คุ้มค่า มีเศษเหล็กเหลือทิ้ง น้อยที่สุด หรือไม่มีเลย 29
  • 30. “ผักโตเร็ว ต้นใหญ่ น�้ำหนักดี และ ใช้เวลาปลูกน้อยลง เช่น ผักกาดขาว ไดโตเกียว จากที่เคยปลูกนอกโรงเรือน ใช้เวลา30วันแต่พอย้ายปลูกในโรงเรือน ใช้เวลาเพียง25วันน�้ำหนักได้ถึง3ขีด/ต้น หรือหอมแบ่ง จากที่ใช้เวลา 40 วัน เหลือ เพียง 30 วัน” ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดจาก คุณภาพผลผลิตที่ได้แน่นอน ลดความ เสียหายหรือความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ สร้างรายได้เพิ่มขึ้น ท�ำให้ วิรัตน์ เขียน โครงการของบประมาณสร้างโรงเรือนเพิ่ม อีก 2 หลังจากหน่วยงานรัฐ และลงทุนเอง อีกหนึ่งหลัง โดยโรงเรือนทั้งหมดเป็นรูปแบบ ของ สวทช. ซึ่งเขาบอกว่า ตั้งใจใช้โรงเรือน สวทช. เป็นแหล่งเรียนรู้การปลูกพืชใน ระบบโรงเรือน พื้นที่กว่า 3 ไร่แห่งนี้ ไม่เพียงมีแปลงพืช ผักของสมาชิกในครอบครัว ทั้งผักสด หม่อน มะม่วงหาวมะนาวโห่ และเป็นที่ตั้งของกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนผักสดและผลไม้แปรรูป บ้านหนองทราย หากยังเป็นศูนย์เรียนรู้ ด้านเกษตรที่ส�ำคัญของจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ให้ความรู้การปลูกพืชระบบเกษตรอินทรีย์ การป้องกันก�ำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชด้วย สารชีวภัณฑ์ ไปจนถึงการแปรรูปผลผลิตที่ ได้รับมาตรฐาน กลุ่มฯ ใช้ระบบการรับรอง แบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee System-PGS) ผลผลิตของกลุ่มฯ จ�ำหน่าย ที่ตลาดสีเขียวโรงพยาบาล ตลาดเกษตรกร ปั๊มน�้ำมัน และส่งประจ�ำทุกสัปดาห์ให้ โรงพยาบาลพนมสารคาม ผลิตเป็นเมนู อาหารให้ผู้ป่วย “ที่นี่มีตลาดจ�ำหน่ายทุกวัน สมาชิก ไปขายเอง ตลาดโมเดิร์นเทรดมีติดต่อมา หลายราย แต่เงื่อนไขก็มีมาก อีกอย่าง สมาชิกกลัวท�ำไม่ได้ตามออเดอร์ เพราะ ยังไม่มีโรงเรือนด้วย” การติดตั้งโรงเรือนพลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพของ สวทช. นอกจากเกษตรกรได้เรียนรู้การผลิตพืชผักในระบบโรงเรือน แล้ว ยังได้เรียนรู้ถึงโครงสร้าง วัสดุอุปกรณ์ และการประยุกต์ใช้ งานโรงเรือน ด้วยทักษะและประสบการณ์ด้านงานช่าง ท�ำให้ วิรัตน์ รู้จัก การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ แม้โรงเรือนปลูกพืชหลังแรกที่ได้รับ การสนับสนุนจาก สวทช. เขาใช้วัสดุและอุปกรณ์ตามแบบทุกอย่าง ด้วยเกรงเรื่องการตรวจรับงานตามข้อตกลง แต่โรงเรือนหลังต่อๆ มา เขาได้ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์และการติดตั้ง ซึ่งช่วยลดต้นทุน การก่อสร้างโรงเรือนปลูกพืช “ผมเคยสร้างโรงเรือนแบบ ก.ไก่ มาแล้ว ก็พอรู้ว่าตรงไหน ที่ปรับลดต้นทุนได้ เหล็กแทนที่จะเป็นเหล็กกลมด�ำพ่นกันสนิม ก็ใช้เป็นเหล็กแป๊บประปา (เหล็กกัลวาไนซ์) ทนกว่า คลิปล็อก เจอลมแรงบ่อยเข้า เด้งหลุด ก็ใช้ท่อพีวีซีผ่าครึ่งแล้วยิงน็อตยึด กับพลาสติกคลุมโรงเรือน” วิรัตน์ บอกว่า โรงเรือนหนึ่งหลังมีค่าใช้จ่ายคลิปล็อกประมาณ 4,000-5,000บาทหากใช้รางวายล็อคค่าใช้จ่ายประมาณ10,000บาท แต่ถ้าเป็นท่อพีวีซี ค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 1,000 บาท “การค�ำนวณขนาดเหล็กที่ต้องใช้” เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ วิรัตน์ ให้ความส�ำคัญ เพื่อใช้เหล็กแต่ละเส้นให้คุ้มค่า “มีเศษเหล็กเหลือ ทิ้งน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย” 30