SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
บทที่ 2
เอกสารที่เกียวข้ อง
่

ทุเรี ยน

ภาพที่ 1
ผลทุเรียน

ทุเรี ยน เป็ นผลไม้ซ่ ึ งได้ชื่อว่าเป็ นราชาของผลไม้

ผลทุเรี ยนมีขนาดใหญ่และมีหนามแข็งปกคลุมทัวเปลือก อาจมีขนาดยาวถึง 30 ซม.
่
และอาจมีเส้นผ่าศูนย์กลางยาวถึง 15 ซม. โดยทัวไปมีน้ าหนัก 1-3 กิโลกรัม ผลมีรูปรี ถึงกลม
่
เปลือกมีสีเขียวถึงน้ าตาล เนื้ อในมีสีเหลืองซี ดถึงแดง แตกต่างกันไปตามสปี ชีส์
ทุเรี ยนเป็ นผลไม้ที่มีกลิ่นเฉพาะตัว ซึ่ งเป็ นส่ วนผสมของสารระเหยที่ประกอบไปด้วย
เอสเทอร์ คีโตน และสารประกอบกามะถัน บางคนบอกว่าทุเรี ยนมีกลิ่นหอม
ในขณะที่บางคนบอกว่ามีกลิ่นเหม็นรุ นแรงจนถึงขั้นสะอิดสะเอียน
ทาให้มีการห้ามนาทุเรี ยนเข้ามาในโรงแรมทุเรี ยนเป็ นผลไม้ที่มีน้ าตาลสู ง
ทั้งยังอุดมไปด้วยกามะถันและไขมัน จึงไม่เหมาะสาหรับผูป่วยเป็ นโรคเบาหวาน
้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ทุเรี ยนเป็ นไม้ผลยืนต้นไม่ผลัดใบ ลาต้นตรง สู ง 25-50 เมตรขึ้นกับชนิดแตกกิ่งเป็ นมุมแหลม
ปลายกิ่งตั้งกระจายกิ่งกลางลาต้นขึ้นไป เปลือกชั้นนอกของลาต้นสี เทาแก่
ผิวขรุ ขระหลุดลอกออกเป็ นสะเก็ด ไม่มียาง ใบเป็ นใบเดี่ยว เกิดกระจายทัวกิ่ง
่
่
เกิดเป็ นคู่อยูตรงกันข้ามระนาบเดียวกัน ก้านใบกลมยาว 2–4 ซม.
แผ่นใบรู ปไข่แกมขอบขนานปลายใบใบเรี ยวแหลม ยาว 10-18 ซม. ผิวใบเรี ยบลื่น มีไขนวล
ใบด้านบนมีสีเขียว ท้องใบมีสีน้ าตาลเส้นใบด้านล่างนูนเด่น ขอบใบเรี ยบ ดอกเป็ นดอกช่อ มี 3-30
ช่อบนกิ่งเดียวกัน
เว็ปไซด์ :http://fruitthaii.wordpress.com

เกิดตามลาต้น และกิ่งก้านยาว 1–2 ซม. ลักษณะดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบเลี้ยงและมีกลีบดอก 5 กลีบ
(บางครั้งอาจมี 4 หรื อ 6 กลีบ) มีสีขาวหอม ลักษณะดอกคล้ายระฆัง มีช่วงเวลาออกดอก 1-2 ครั้งต่อปี
ช่วงเวลาออกดอกขึ้นกับชนิด สายพันธุ์ และสถานที่ปลูกเลี้ยง โดยทัวไปทุเรี ยนจะให้ผลเมื่อมีอายุ 4-5 ปี
่
โดยจะออกตามกิ่งและสุ กหลังจากผสมเกสรไปแล้ว 3 เดือน ผลเป็ นผลสดชนิดผลเดี่ยว อาจยาวมากกว่า 30
ซม. เส้นผ่าศูนย์กลางอาจยาวกว่า 15 ซม. มีน้ าหนัก 1-3 กก.[10] เป็ นรู ปรี ถึงกลม
เปลือกทุเรี ยนมีหนามแหลมเมื่อแก่ผลมีสีเขียว เมื่อสุ กมีสีน้ าตาลอ่อน แตกตามแต่ละส่ วนของผลเรี ยกเป็ นพู
เนื้อในมีต้ งแต่สีเหลืองอ่อนถึงแดง ขึ้นกับชนิด เนื้ อในจะนิ่ ม กึ่งอ่อนกึ่งแข็ง มีรสหวาน เมล็ดมีเยือหุ ม กลมรี
ั
่ ้
เปลือกหุ มสี น้ าตาลผิวเรี ยบ เนื้อในเมล็ดสี ขาว รสชาติฝาด
้
พันธุ์ทุเรียนในประเทศไทยที่นิยมปลูกกันมากมี 4 พันธุ์ คือ
พันธุ์กระดุม ผลจะมีขนาดค่อนข้างเล็ก น้ าหนักประมาณ 1 กิโลกรัม
ผลมีลกษณะค่อนข้างกลมด้านหัวและด้านท้ายผลค่อนข้างป้ าน ก้นผลบุ๋มเล็กน้อย หนามเล็กสั้นและถี่
ั
ขั้วค่อนข้างเล็กและสั้น ลักษณะของพูเต็มสมบูรณ์ ร่ องพูค่อนข้างลึก เนื้ อละเอียดอ่อนนุ่มสี เหลืองอ่อน
เนื้อค่อนข้างบาง รสชาติหวานไม่ค่อยมัน เละง่ายเมื่อสุ กจัด เมล็ดมีขนาดใหญ่
พันธุ์ชะนี ผลมีขนาดปานกลางถึงใหญ่ น้ าหนักประมาณ 2.5-3 กิโลกรัม ผลมีรูปทรงหวด กล่าวคือ
กลางผลป่ อง หัวเรี ยว ก้นตัด ร่ องพูค่อนข้างลึกเห็นได้ชด ขั้วผลใหญ่และสั้น เนื้ อละเอียด
ั
สี เหลืองจัดเกือบเป็ นสี จาปา ปริ มาณมาก รสชาติหวานมัน เมล็ดค่อนข้างเล็กและมีจานวนเมล็ดน้อย
พันธุ์หมอนทอง ผลมีขนาดใหญ่ น้ าหนักประมาณ 3-4 กิโลกรัม ทรงผลค่อนข้างยาวมีบ่าผล
ปลายผลแหลม พูมกไม่ค่อยเต็มทุกพู หนามแหลมสู ง ฐานหนามเป็ นเหลี่ยม
ั
่ ั่
่
ระหว่างหนามใหญ่จะมีหนามเล็กวางแซมอยูทวไป ซึ่ งเรี ยกหนามชนิดนี้วา เขี้ยวงู ก้านผลใหญ่แข็งแรง
ช่วงกลางก้านผลจนถึงปากปลิงจะอ้วนใหญ่เป็ นทรงกระบอก เนื้ อหนาสี เหลืองอ่อนละเอียด
เนื้อค่อนข้างแห้งไม่แฉะติดมือ รสชาติหวานมัน เมล็ดน้อยและลีบเป็ นส่ วนใหญ่
้
พันธุ์กานยาว ผลมีขนาดปานกลาง น้ าหนักประมาณ 3 กิโลกรัม ทรงผลกลมเห็นพูไม่ชดเจน พูเต็มทุกพู
ั
หนามเล็กถี่ส้ ันสม่าเสมอทั้งผล ก้านผลใหญ่และยาวกว่าพันธุ์อื่นๆ เนื้ อละเอียดสี เหลืองหนาปานกลาง
รสชาติหวานมัน เมล็ดมากค่อนข้างใหญ่
รสชาติและกลินรสชาติและกลิ่นที่ไม่ธรรมดาของทุเรี ยนทาให้หลาย ๆ คนแสดงปฏิกิริยาที่ต่างกัน
่
จากชอบมากจนถึงรังเกียจอย่างรุ นแรง
เว็ปไซด์ :http://fruitthaii.wordpress.com

กรรมวิธีการผลิตแปงจากข้ าว
้
กรรมวิธีการผลิตมี 3 วิธี คือ วิธีโม่แห้ง วิธีโม่น้ าและวิธีผสม
การผลิตแป้ งข้าวด้วยการโม่แห้ง ได้จากการนาข้าวมาทาความสะอาด (cleaning)
เพื่อแยกสิ่ งสกปรกออก แล้วจึงนาไปบด เป็ นแป้ งจะมีคุณภาพต่า
เพราะเม็ดแป้ งค่อนข้างหยาบและมีสิ่งเจือปนสู ง อายุการเก็บรักษาสั้น เพราะเกิดกลิ่นหื น (rancidity)
ได้ง่ายเพราะมีปริ มาณไขมันสู ง และถูกทาลายจากแมลงได้ง่าย
การผลิตแป้ งข้าวด้วยวิธีการโม่น้ าเป็ นวิธีการผลิตแป้ งข้าวในปั จจุบน แป้ งมีคุณภาพดี
ั
มีความละเอียดและสิ่ งเจือปนน้อย เทคโนโลยีการผลิตแป้ งโดยวิธีการโม่น้ าได้รับการพัฒนามาช้านาน
การผลิตแป้ งในปั จจุบนยังคงมุ่งเน้นแป้ งข้าวเจ้าชนิดอมิโลส (amylose) สู ง
ั
การผลิตแป้ งข้าววิธีผสม เป็ นการโม่แป้ งจากข้าวที่แช่น้ าและอบแห้งด้วยความร้อนก่อนโม่เป็ นแป้ ง
แป้ งชนิดนี้ เป็ นแป้ งคุณภาพสู งและนาไปใช้ทาขนมเฉพาะอย่าง เช่น ขนมโก๋ จากแป้ งข้าวเหนียว
เว็ปไซด์ :http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1656/rice-flour

วิธีการทาขนมไข่ หงส์
ส่ วนผสมไส้ ขนมไข่ หงส์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

น้ ามัน
หัวหอมซอย
พริ กไทย
รากผักชี
เกลือ
น้ าตาลทราย
ถัวเขียวนึ่งบด
่

วิธีทาแปงขนมไข่ หงส์
้

ส่ วนผสมแปงขนมไข่ หงส์
้
จานวน 1/3 ถ้วยตวง
จานวน 2 ช้อนโต๊ะ
จานวน 1 ช้อนชา
จานวน 1 ช้อนโต๊
จานวน 1 ช้อนโต๊ะ
จานวน 1/2 ถ้วยตวง
จานวน 3 ถ้วยตวง

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

น้ าปูนใส
ฟักทองนึ่งบด
แป้ งข้าวเหนียว
แป้ งข้าวเจ้า
หัวกะทิ
น้ ามัน
น้ าตาลทราย
น้ า

จานวน 3/4 ถ้วยตวง
จานวน 1/2 ถ้วยตวง
จานวน 3 ถ้วยตวง
จานวน 1 1/2 ถ้วยตวง
จานวน 1/2 ถ้วยตวง
จานวน 1 ขวด
จานวน 1 1/2 ถ้วยตวง
จานวน 1/4 ถ้วยตวง
ผสมแป้ งทั้งสองชนิดเข้าด้วยกันนวดกับฟักทอง,ใส่ น้ าปูนใส,กะทิ นวดจนเข้ากันและเนื้อเนียน
ปั้ นเป็ นก้อนกลมขนาด 1 นิ้ว
วิธีทาขนมไข่ หงส์
1.
2.
3.
4.
5.
6.

ตารากผักชี หัวหอม พริ กไทย ให้ละเอียด ใส่ น้ ามันในกระทะ เจียวเครื่ องที่โขลกให้เหลือง
ใส่ ถวลงผัดปรุ งรสด้วยน้ าตาลและเกลือให้เข้ากันผัดจนแห้งปั้ นเป็ นก้อนกลมเล็กกว่าแป้ งและพักไว้
ั่
หยิบไส้ใส่ หุมแป้ งให้มิดไส้คลึงเป็ นรู ปรี หรื อกลม
้
นาไปทอดในน้ ามันร้อนจัดพอเหลืองตักขึ้น
ผสมน้ าตาลทรายน้ าตั้งไฟเคี่ยวให้เป็ นยางข้นใส่ ขนมที่ทอดไว้ลงคลุกจนน้ าตาลจับขนม
ตักขึ้นผึ่งให้น้ าตาลแห้งเป็ นเกล็ดขาวพักให้เย็นเก็บใส่ ภาชนะมีฝาปิ ด

More Related Content

Similar to บทที่ 2

งานSh
งานShงานSh
งานSh
xavi2536
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
toonkp_shadow
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
Wichai Likitponrak
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
Varee Supa
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
Wichai Likitponrak
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
Yuporn Tugsila
 

Similar to บทที่ 2 (20)

Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
 
ฟ้อนลาวแพน
ฟ้อนลาวแพนฟ้อนลาวแพน
ฟ้อนลาวแพน
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 

More from Jenny Rattanaporn

More from Jenny Rattanaporn (7)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทคัดย่อยาว
บทคัดย่อยาวบทคัดย่อยาว
บทคัดย่อยาว
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทคัดย่อยาว
บทคัดย่อยาวบทคัดย่อยาว
บทคัดย่อยาว
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ ทุเรี ยน ภาพที่ 1 ผลทุเรียน ทุเรี ยน เป็ นผลไม้ซ่ ึ งได้ชื่อว่าเป็ นราชาของผลไม้ ผลทุเรี ยนมีขนาดใหญ่และมีหนามแข็งปกคลุมทัวเปลือก อาจมีขนาดยาวถึง 30 ซม. ่ และอาจมีเส้นผ่าศูนย์กลางยาวถึง 15 ซม. โดยทัวไปมีน้ าหนัก 1-3 กิโลกรัม ผลมีรูปรี ถึงกลม ่ เปลือกมีสีเขียวถึงน้ าตาล เนื้ อในมีสีเหลืองซี ดถึงแดง แตกต่างกันไปตามสปี ชีส์ ทุเรี ยนเป็ นผลไม้ที่มีกลิ่นเฉพาะตัว ซึ่ งเป็ นส่ วนผสมของสารระเหยที่ประกอบไปด้วย เอสเทอร์ คีโตน และสารประกอบกามะถัน บางคนบอกว่าทุเรี ยนมีกลิ่นหอม ในขณะที่บางคนบอกว่ามีกลิ่นเหม็นรุ นแรงจนถึงขั้นสะอิดสะเอียน ทาให้มีการห้ามนาทุเรี ยนเข้ามาในโรงแรมทุเรี ยนเป็ นผลไม้ที่มีน้ าตาลสู ง ทั้งยังอุดมไปด้วยกามะถันและไขมัน จึงไม่เหมาะสาหรับผูป่วยเป็ นโรคเบาหวาน ้ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ทุเรี ยนเป็ นไม้ผลยืนต้นไม่ผลัดใบ ลาต้นตรง สู ง 25-50 เมตรขึ้นกับชนิดแตกกิ่งเป็ นมุมแหลม ปลายกิ่งตั้งกระจายกิ่งกลางลาต้นขึ้นไป เปลือกชั้นนอกของลาต้นสี เทาแก่ ผิวขรุ ขระหลุดลอกออกเป็ นสะเก็ด ไม่มียาง ใบเป็ นใบเดี่ยว เกิดกระจายทัวกิ่ง ่ ่ เกิดเป็ นคู่อยูตรงกันข้ามระนาบเดียวกัน ก้านใบกลมยาว 2–4 ซม. แผ่นใบรู ปไข่แกมขอบขนานปลายใบใบเรี ยวแหลม ยาว 10-18 ซม. ผิวใบเรี ยบลื่น มีไขนวล
  • 2. ใบด้านบนมีสีเขียว ท้องใบมีสีน้ าตาลเส้นใบด้านล่างนูนเด่น ขอบใบเรี ยบ ดอกเป็ นดอกช่อ มี 3-30 ช่อบนกิ่งเดียวกัน เว็ปไซด์ :http://fruitthaii.wordpress.com เกิดตามลาต้น และกิ่งก้านยาว 1–2 ซม. ลักษณะดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบเลี้ยงและมีกลีบดอก 5 กลีบ (บางครั้งอาจมี 4 หรื อ 6 กลีบ) มีสีขาวหอม ลักษณะดอกคล้ายระฆัง มีช่วงเวลาออกดอก 1-2 ครั้งต่อปี ช่วงเวลาออกดอกขึ้นกับชนิด สายพันธุ์ และสถานที่ปลูกเลี้ยง โดยทัวไปทุเรี ยนจะให้ผลเมื่อมีอายุ 4-5 ปี ่ โดยจะออกตามกิ่งและสุ กหลังจากผสมเกสรไปแล้ว 3 เดือน ผลเป็ นผลสดชนิดผลเดี่ยว อาจยาวมากกว่า 30 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลางอาจยาวกว่า 15 ซม. มีน้ าหนัก 1-3 กก.[10] เป็ นรู ปรี ถึงกลม เปลือกทุเรี ยนมีหนามแหลมเมื่อแก่ผลมีสีเขียว เมื่อสุ กมีสีน้ าตาลอ่อน แตกตามแต่ละส่ วนของผลเรี ยกเป็ นพู เนื้อในมีต้ งแต่สีเหลืองอ่อนถึงแดง ขึ้นกับชนิด เนื้ อในจะนิ่ ม กึ่งอ่อนกึ่งแข็ง มีรสหวาน เมล็ดมีเยือหุ ม กลมรี ั ่ ้ เปลือกหุ มสี น้ าตาลผิวเรี ยบ เนื้อในเมล็ดสี ขาว รสชาติฝาด ้ พันธุ์ทุเรียนในประเทศไทยที่นิยมปลูกกันมากมี 4 พันธุ์ คือ พันธุ์กระดุม ผลจะมีขนาดค่อนข้างเล็ก น้ าหนักประมาณ 1 กิโลกรัม ผลมีลกษณะค่อนข้างกลมด้านหัวและด้านท้ายผลค่อนข้างป้ าน ก้นผลบุ๋มเล็กน้อย หนามเล็กสั้นและถี่ ั ขั้วค่อนข้างเล็กและสั้น ลักษณะของพูเต็มสมบูรณ์ ร่ องพูค่อนข้างลึก เนื้ อละเอียดอ่อนนุ่มสี เหลืองอ่อน เนื้อค่อนข้างบาง รสชาติหวานไม่ค่อยมัน เละง่ายเมื่อสุ กจัด เมล็ดมีขนาดใหญ่ พันธุ์ชะนี ผลมีขนาดปานกลางถึงใหญ่ น้ าหนักประมาณ 2.5-3 กิโลกรัม ผลมีรูปทรงหวด กล่าวคือ กลางผลป่ อง หัวเรี ยว ก้นตัด ร่ องพูค่อนข้างลึกเห็นได้ชด ขั้วผลใหญ่และสั้น เนื้ อละเอียด ั สี เหลืองจัดเกือบเป็ นสี จาปา ปริ มาณมาก รสชาติหวานมัน เมล็ดค่อนข้างเล็กและมีจานวนเมล็ดน้อย พันธุ์หมอนทอง ผลมีขนาดใหญ่ น้ าหนักประมาณ 3-4 กิโลกรัม ทรงผลค่อนข้างยาวมีบ่าผล ปลายผลแหลม พูมกไม่ค่อยเต็มทุกพู หนามแหลมสู ง ฐานหนามเป็ นเหลี่ยม ั ่ ั่ ่ ระหว่างหนามใหญ่จะมีหนามเล็กวางแซมอยูทวไป ซึ่ งเรี ยกหนามชนิดนี้วา เขี้ยวงู ก้านผลใหญ่แข็งแรง ช่วงกลางก้านผลจนถึงปากปลิงจะอ้วนใหญ่เป็ นทรงกระบอก เนื้ อหนาสี เหลืองอ่อนละเอียด เนื้อค่อนข้างแห้งไม่แฉะติดมือ รสชาติหวานมัน เมล็ดน้อยและลีบเป็ นส่ วนใหญ่ ้ พันธุ์กานยาว ผลมีขนาดปานกลาง น้ าหนักประมาณ 3 กิโลกรัม ทรงผลกลมเห็นพูไม่ชดเจน พูเต็มทุกพู ั หนามเล็กถี่ส้ ันสม่าเสมอทั้งผล ก้านผลใหญ่และยาวกว่าพันธุ์อื่นๆ เนื้ อละเอียดสี เหลืองหนาปานกลาง รสชาติหวานมัน เมล็ดมากค่อนข้างใหญ่
  • 3. รสชาติและกลินรสชาติและกลิ่นที่ไม่ธรรมดาของทุเรี ยนทาให้หลาย ๆ คนแสดงปฏิกิริยาที่ต่างกัน ่ จากชอบมากจนถึงรังเกียจอย่างรุ นแรง เว็ปไซด์ :http://fruitthaii.wordpress.com กรรมวิธีการผลิตแปงจากข้ าว ้ กรรมวิธีการผลิตมี 3 วิธี คือ วิธีโม่แห้ง วิธีโม่น้ าและวิธีผสม การผลิตแป้ งข้าวด้วยการโม่แห้ง ได้จากการนาข้าวมาทาความสะอาด (cleaning) เพื่อแยกสิ่ งสกปรกออก แล้วจึงนาไปบด เป็ นแป้ งจะมีคุณภาพต่า เพราะเม็ดแป้ งค่อนข้างหยาบและมีสิ่งเจือปนสู ง อายุการเก็บรักษาสั้น เพราะเกิดกลิ่นหื น (rancidity) ได้ง่ายเพราะมีปริ มาณไขมันสู ง และถูกทาลายจากแมลงได้ง่าย การผลิตแป้ งข้าวด้วยวิธีการโม่น้ าเป็ นวิธีการผลิตแป้ งข้าวในปั จจุบน แป้ งมีคุณภาพดี ั มีความละเอียดและสิ่ งเจือปนน้อย เทคโนโลยีการผลิตแป้ งโดยวิธีการโม่น้ าได้รับการพัฒนามาช้านาน การผลิตแป้ งในปั จจุบนยังคงมุ่งเน้นแป้ งข้าวเจ้าชนิดอมิโลส (amylose) สู ง ั การผลิตแป้ งข้าววิธีผสม เป็ นการโม่แป้ งจากข้าวที่แช่น้ าและอบแห้งด้วยความร้อนก่อนโม่เป็ นแป้ ง แป้ งชนิดนี้ เป็ นแป้ งคุณภาพสู งและนาไปใช้ทาขนมเฉพาะอย่าง เช่น ขนมโก๋ จากแป้ งข้าวเหนียว
  • 4. เว็ปไซด์ :http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1656/rice-flour วิธีการทาขนมไข่ หงส์ ส่ วนผสมไส้ ขนมไข่ หงส์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. น้ ามัน หัวหอมซอย พริ กไทย รากผักชี เกลือ น้ าตาลทราย ถัวเขียวนึ่งบด ่ วิธีทาแปงขนมไข่ หงส์ ้ ส่ วนผสมแปงขนมไข่ หงส์ ้ จานวน 1/3 ถ้วยตวง จานวน 2 ช้อนโต๊ะ จานวน 1 ช้อนชา จานวน 1 ช้อนโต๊ จานวน 1 ช้อนโต๊ะ จานวน 1/2 ถ้วยตวง จานวน 3 ถ้วยตวง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. น้ าปูนใส ฟักทองนึ่งบด แป้ งข้าวเหนียว แป้ งข้าวเจ้า หัวกะทิ น้ ามัน น้ าตาลทราย น้ า จานวน 3/4 ถ้วยตวง จานวน 1/2 ถ้วยตวง จานวน 3 ถ้วยตวง จานวน 1 1/2 ถ้วยตวง จานวน 1/2 ถ้วยตวง จานวน 1 ขวด จานวน 1 1/2 ถ้วยตวง จานวน 1/4 ถ้วยตวง
  • 5. ผสมแป้ งทั้งสองชนิดเข้าด้วยกันนวดกับฟักทอง,ใส่ น้ าปูนใส,กะทิ นวดจนเข้ากันและเนื้อเนียน ปั้ นเป็ นก้อนกลมขนาด 1 นิ้ว วิธีทาขนมไข่ หงส์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. ตารากผักชี หัวหอม พริ กไทย ให้ละเอียด ใส่ น้ ามันในกระทะ เจียวเครื่ องที่โขลกให้เหลือง ใส่ ถวลงผัดปรุ งรสด้วยน้ าตาลและเกลือให้เข้ากันผัดจนแห้งปั้ นเป็ นก้อนกลมเล็กกว่าแป้ งและพักไว้ ั่ หยิบไส้ใส่ หุมแป้ งให้มิดไส้คลึงเป็ นรู ปรี หรื อกลม ้ นาไปทอดในน้ ามันร้อนจัดพอเหลืองตักขึ้น ผสมน้ าตาลทรายน้ าตั้งไฟเคี่ยวให้เป็ นยางข้นใส่ ขนมที่ทอดไว้ลงคลุกจนน้ าตาลจับขนม ตักขึ้นผึ่งให้น้ าตาลแห้งเป็ นเกล็ดขาวพักให้เย็นเก็บใส่ ภาชนะมีฝาปิ ด