SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
บทนํา
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เปนสิ่งที่มีความสําคัญยิ่งในการนําพาประเทศไปสูความเจริญ
ความกาวหนา และความเปนพลเมืองดี ที่มีคุณภาพทัดเทียมกับอารยะประเทศ จากวิวัฒนาการ
ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สงผลตอความเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดลอมของโลกในปจจุบัน ทําใหนานาประเทศปรับเปลี่ยนกลยุทธใหมุงเนนดานการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยมากขึ้น โดยกําหนดเปนนโยบายและแผนพัฒนาประเทศ รวมทั้งปรับเปลี่ยน
กระบวนการและหาวิธีการในการจัดระบบการศึกษา ใหรองรับแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก มีการกําหนดแนวคิดตาง ๆ ในการจัดการ
ศึกษา โดยยึดหลักสําคัญ 4 ประการ ไดแก ความเสมอภาคและการกระจายโอกาสทางการศึกษา
(Equity) ความเปนเลิศและคุณภาพทางวิชาการ (Excellence) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)
และความเปนสากล (Internationalization) โดยมุงเนนภารกิจหลัก ๆ ที่กอใหเกิดองคความรู
ใหม ๆ โดยพึ่งพาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแขนงตาง ๆ การศึกษาระบบเปด (Opened
System) และการเรียนการสอนรายบุคคล (Individualized Learning) ไดเขามามีบทบาทมากขึ้น
โดยเริ่มเขามาทดแทนการเรียนการสอนแบบปกติดั้งเดิม ภายใตการควบคุมคุณภาพทางวิชาการ
อยางเปนระบบและทุกขั้นตอน เทคโนโลยีที่นําสมัยดานตาง ๆ เชน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร
เทคโนโลยีการสื่อสาร และเทคโนโลยีดานการจัดการ ไดถูกนํามาประยุกตใชในการจัดการศึกษา
มากขึ้น
การเรียนการสอนในสถานศึกษาและการฝกอบรมในสถานประกอบการ มีการพัฒนาไปตาม
กระแสแหงความเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดและความจําเปนดังกลาวขางตน ความกาวหนาทางดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนปจจัยหลักในการนําเสนอองคความรู โดยมีการคิดคน พัฒนาและ
สรางสรรคสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบตาง ๆ เพื่อเอื้ออํานวยประโยชนใหเกิดการเรียนรู
สื่อการเรียนการสอนในลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic Media) ไดเขามามีบทบาท
สําคัญตอการศึกษามากขึ้น
บทเรียนคอมพิวเตอร (CAI : Computer Assisted Instruction) จัดวาเปนสื่ออิเล็กทรอนิกส
ประเภทหนึ่ง ที่นําเสนอองคความรูอยางเปนระบบและเปนขั้นตอน ตามหลักการเรียนรู โดยใช
เทคโนโลยีคอมพิวเตอรจัดการและนําเสนอบทเรียน ซึ่งวงการศึกษาไดใหความสนใจและตื่นตัวใน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรเปนอยางมากเพื่อนํามาใชในการเรียนการสอน เนื่องจากบทเรียน
1ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร
Introduction to Computer Instruction
2 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรสามารถตอบสนองการเรียนรูในลักษณะตาง ๆ ที่จะนําไปสูการพัฒนาความสามารถ
ทางดานสติปญญาของมนุษยไดอยางเต็มที่ อัตราการใชงานของบทเรียนคอมพิวเตอรจึงมี
แนวโนมที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเชนปจจุบัน
ตัวอยาง ไดแก e-Learning หรือ e-Education เปนตน
ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอร
บทเรียนคอมพิวเตอร (Computer Instruction) เปนคําที่มีความหมายกวาง หมายถึง การ
เรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยหรือบทเรียนที่นําเสนอดวยคอมพิวเตอร หากพิจารณา
เฉพาะลงไป จะพบวามีคําที่เกี่ยวของหลายคํา ซึ่งอาจจะแบงออกเปน 3 ยุค ดังนี้
1. ยุคบุกเบิก (ประมาณกอนป คศ. 1990) เปนยุคของบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชงาน
แบบเพียงลําพัง (Standalone Based) จะหมายถึงคําตอไปนี้
˜ CAI (Computer Assisted Instruction หรือ Computer Aided Instruction)
หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หรือการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวย
˜ CBE (Computer Based Education) หมายถึง การใชคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา
˜ CBI (Computer Based Instruction) หมายถึง การเรียนการสอนดวยคอมพิวเตอร
˜ CBL (Computer Based Learning) หมายถึง การเรียนรูดวยคอมพิวเตอร
˜ CAL (Computer Assisted Learning) หมายถึง การเรียนรูดวยคอมพิวเตอร
˜ CEI (Computer Enriched Instruction) หมายถึง การปรับปรุงการเรียนการสอน
โดยใชคอมพิวเตอรชวย
˜ CBT (Computer Based Training) หมายถึง การฝกอบรมดวยคอมพิวเตอร
˜ CMI (Computer Managed Instruction) หมายถึง การเรียนการสอนโดยใช
คอมพิวเตอรจัดการ
2. ยุคที่สอง (ประมาณป คศ. 1990 – 2000) เปนยุคของบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชงานบน
เครือขายคอมพิวเตอร (Network Based) จะหมายถึงคําตอไปนี้
˜ WBI (Web Based Instruction) หมายถึง เว็บชวยสอน หรือการเรียนการสอนดวย
เว็บ
˜ WBT (Web Based Training) หมายถึง การฝกอบรมดวยเว็บ
˜ NBI (Net Based Instruction) หมายถึง การเรียนการสอนดวยเน็ต
˜ NBL (Net Based Instruction) หมายถึง การเรียนรูดวยเน็ต
˜ IBT (Internet Based Training) หมายถึง การฝกอบรมดวยอินเทอรเน็ต
˜ OL (Online Learning) หมายถึง การเรียนรูออนไลน
3. ยุคปจจุบัน (ประมาณหลังป คศ. 2000 เปนตนมา) เปนยุคของบทเรียนคอมพิวเตอรใน
ลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ใชงานบนอินเทอรเน็ต (Internet Based) จะหมายถึงคําตอไปนี้
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 3
˜ e-Learning หมายถึง การเรียนรูดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส
˜ e-Education หมายถึง การศึกษาดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส
˜ e-Training หมายถึง การฝกอบรมดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส
˜ d-Learning หมายถึง การเรียนรูทางไกลดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส
˜ c-Learning หมายถึง การเรียนรูรวมกันดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส
˜ m-Learning หมายถึง การเรียนรูดวยคอมพิวเตอรแบบพกพาหรือโทรศัพทมือถือ
ความหมายทั่วไปของบทเรียนคอมพิวเตอรดังกลาวขางตน จึงหมายถึง บทเรียนสําเร็จรูป
ที่นําเสนอเนื้อหา สื่อ กิจกรรม การตรวจปรับ การประเมินผล และกระบวนการเรียนรูอื่น ๆ ดวย
สื่ออิเล็กทรอนิกส โดยใชคอมพิวเตอรนําเสนอและจัดการ
ความหมายที่แทจริงของบทเรียนคอมพิวเตอรก็คือ บทเรียนและกิจกรรมการเรียนการสอน
ที่ถูกจัดกระทําไวอยางเปนระบบและมีแบบแผน โดยใชคอมพิวเตอรนําเสนอและจัดการ เพื่อให
ผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับบทเรียนนั้น ๆ ตามความสามารถของตนเอง โดยผูเรียนไม
จําเปนตองมีทักษะและประสบการณดานการใชคอมพิวเตอรก็สามารถเรียนรูได บทเรียน
คอมพิวเตอร จึงเปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่ประยุกตใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการจัดการ
เกี่ยวกับขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการปฏิสัมพันธ ผสมผสานกันอยางกลมกลืน
และเปนระบบ เพื่อนําเสนอเนื้อหาความรูและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีแบบแผนตาม
วัตถุประสงคของบทเรียน ทําใหการนําเสนอองคความรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและตอบสนอง
ผูเรียนไดดีโดยเนนความแตกตางของผูเรียนเปนหลัก สงผลใหการเรียนการสอนเปนเรื่องที่สะดวก
และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอรมีราคาถูกลงแตมีสมรรถนะสูงขึ้นเชนใน
ปจจุบัน ในทางการศึกษา ถือวาบทเรียนคอมพิวเตอรเปนการประยุกตใชคอมพิวเตอรเพื่อการ
เรียนการสอนแขนงหนึ่ง ซึ่งยังมีวิทยาการแขนงอื่น ๆ ที่สามารถประยุกตใชคอมพิวเตอรได ไดแก
1. การใชเพื่อการวิจัยการศึกษา ไดแก งานคํานวณทางสถิติ งานเก็บขอมูลงานวิจัย งาน
สรางเครื่องมือสําหรับการวิจัย เปนตน
2. การใชเพื่อการบริหารการศึกษา ไดแก งานระบบบัญชี งานการจัดการฐานขอมูล
ประเภทตาง ๆ งานจัดทําตารางสอน/ตารางสอบ งานควบคุมวัสดุครุภัณฑการศึกษา งานการ
พิมพ เปนตน
3. การใชเพื่องานบริการ ไดแก งานบริการหองสมุด งานบริการทางดานคลังขอมูล งาน
วัดผลและประเมินผลการศึกษา งานทะเบียนประวัติ และงานสรางเว็บไซตรายวิชา เปนตน
พัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอร
บทเรียนคอมพิวเตอรมีมานานแลว นับตั้งแตป คศ. 1950 ศูนยวิจัยของไอบีเอ็ม ไดริเริ่ม
พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรบนเครื่องคอมพิวเตอรแบบเมนเฟรม เพื่อใชกับงานวิจัยดานจิตวิทยา
4 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
นับวาเปนการบุกเบิกศาสตรดานนี้เปนครั้งแรก ตอมา ในป คศ. 1958 มหาวิทยาลัยฟลอลิดา
ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรเพื่อใชสอนทบทวนวิชาฟสิกสและสถิติ มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด
ไดนําคอมพิวเตอรมาใชชวยสอนวิชาภาษาอังกฤษและคณิตศาสตรในระดับมัธยมศึกษา แต
โครงการที่รูจักกันมากที่สุด ก็คือ The University of Illinois PLATO Project (Programmed
Logical Automation Teaching Operation) ในตนป คศ. 1960 โดยอัลเพิรทและบิทเซอร (Alpert
& Bitzer) แหงมหาวิทยาลัยอิลลินอยส เปนผูนําในการผลิตบทเรียนบนคอมพิวเตอรแบบเมนเฟรม
ขึ้นมา จํานวน 150 วิชา เพื่อใชในการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย โดยพัฒนารวมกับบริษัท
CDC (Control Data Corporation)
ตอมาในป คศ. 1972 Mitre Corporation ไดเริ่มพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร โดยใชชื่อ
โครงการวา TICCIT (Time Shared Interactive Computer Controlled Information Television)
ซึ่งเปนอีกโครงการหนึ่งที่ประสบความสําเร็จอยางสูง ในการพัฒนาบทเรียนบนมินิคอมพิวเตอร
ตอมาเมื่อคอมพิวเตอรไดแพรหลายมากขึ้นในหมูผูใช ไดมีการขยายตลาดการผลิตเขาสูเครื่อง
ระดับสวนบุคคล ในป คศ. 1978 ไมโครคอมพิวเตอรยี่หอ Apple II ไดถูกผลิตเปนครั้งแรก ทําให
มีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรขึ้นเพื่อใชกับไมโครคอมพิวเตอร ตอมาในป คศ. 1981 บริษัท
ไอบีเอ็ม บริษัทชั้นนําดานคอมพิวเตอร ไดขยายฐานการผลิตเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรระดับลาง
โดยผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่รูจักกันในชื่อของไอบีเอ็มพีซี จัดวาเปนเครื่องคอมพิวเตอร
สวนบุคคลที่รูจักกันแพรหลายมากที่สุดจนถึงปจจุบัน ทําใหพัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอร
ที่ใชงานบนไมโครคอมพิวเตอรมีอัตราความกาวหนาที่สูงอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน
ในสวนของประเทศไทยนั้น ไดมีสถานศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ริเริ่มโครงการและพัฒนา
บทเรียนคอมพิวเตอรอยางตอเนื่องมาโดยตลอด สถานศึกษาแหงแรกที่บุกเบิกดานบทเรียน
คอมพิวเตอรก็คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช โดยรวมมือกับมหาวิทยาลัยกูเอลฟ (Guelph)
แหงประเทศแคนาดา เพื่อรวมพัฒนาระบบนิพนธบทเรียน ชื่อ ไวทัลไทย (VITAL/Thai) เพื่อใช
เปนเครื่องมือสําหรับพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอนทางไกล ตั้งแตป
พ.ศ. 2533 เปนตนมา ซึ่งประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง
ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ หรือ NECTEC ไดสนับสนุนใหมี
การพัฒนาระบบนิพนธบทเรียนเปนภาษาไทย นับตั้งแตระบบแรกที่ใชชื่อ ไทยโชว (Thaishow) ที่
เขียนขึ้นโดยใชภาษาปาสคาล ซึ่งใชกับระบบปฏิบัติการดอส ตอมาไดพัฒนาขึ้นใหม ใชชื่อวา
ไทยทัศน 1 และไทยทัศน 2 (TAS : Thai Authoring System) นอกจากนี้ ยังไดจัดฝกอบรม
สัมมนาเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรขึ้นเปนระยะ ๆ ในสวนของสถานศึกษาระดับ
อุดมศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ไดมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรขึ้นใชงานเชนกัน เชน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร โดยใชระบบนิพนธบทเรียนชื่อ
Authorware กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดฝกอบรมการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 5
ใหกับคณาจารยหลายครั้ง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดพัฒนาระบบนิพนธบทเรียนชื่อจุฬาซีเอไอ
ขึ้น เพื่อใชพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรทางดานการแพทย ในสวนของภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ไดพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอรในวิชาชางอุตสาหกรรม โดยใชทั้งระบบนิพนธบทเรียนและใชภาษาคอมพิวเตอร
นอกจากนี้ก็ยังมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรในสถานศึกษาอื่น ๆ ไดแก มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร มหาวิทยาลัยบูรพา สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา สถาบันสงเสริมวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและการพลังงาน เปนตน
ในสวนของภาครัฐ ก็ไดตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนในการใชบทเรียน
คอมพิวเตอร จึงไดริเริ่มโครงการปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษาในป พ.ศ. 2539 เพื่อใช
บทเรียนคอมพิวเตอรในโรงเรียนระดับประถมศึกษาทั่วประเทศ สําหรับกระทรวงแรงงานและ
สวัสดิการสังคม ซึ่งมีหนาที่ผลิตชางฝมือเขาสูตลาดแรงงาน ไดริเริ่มโครงการพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอรเพื่อใชในการฝกอบรมชางฝมือทั่วประเทศ เมื่อป พ.ศ. 2540 โดยรวมมือกับ
มหาวิทยาลัยแหงรัฐยูทาห สําหรับภาคเอกชน บริษัท เจแอสแอล จํากัด ไดพัฒนาระบบนิพนธ
บทเรียนขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2542 เพื่อใชพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร โดยรวมมือกับโรงเรียนในเขต
กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังมีบริษัทเอกชนรายอื่น ๆ ที่ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรสอน
ที่เปนภาษาไทยจําหนายพอสมควร สวนใหญเปนบทเรียนเสริมหลักสูตรสําหรับเด็กเล็ก แตยังไมมี
การผลิตบทเรียนที่ใชประกอบวิชาในหลักสูตรแตอยางใด ในสวนของการใชเพื่อการฝกอบรม
บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรเพื่อใชในการฝกอบรมพนักงานใหม เมื่อป
พ.ศ. 2538 และยังมีบริษัทอื่น ๆ อีกจํานวนหนึ่งที่อยูในขั้นทดลองใชเพื่อการฝกอบรม
บทเรียนคอมพิวเตอรกับ e-Learning
เครือขายอินเทอรเน็ต ไดกําเนิดขึ้นเปนครั้งแรกจากพัฒนาการของเครือขาย ArparNet ของ
กระทรวงกลาโหม แหงประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อป พ.ศ. 2515 หลังจากนั้นไดมีการใชงาน
เครือขายอินเทอรเน็ตอยางแพรหลาย ทั้งในวงการธุรกิจ อุตสาหกรรม การแพทย การทหาร
การเมือง และการใชงานทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะในวงการศึกษา ไดมีการประยุกตใชงานทุกดานที่
เกี่ยวกับการจัดการศึกษา การบริหารโครงการ การพัฒนาหลักสูตร การวัดและประเมินผล
การศึกษา และการบริการการศึกษา เปนตน โดยเฉพาะการใชเปนเครื่องมือหรือใชเปนชองทาง
ในการสงผานองคความรูไปยังผูเรียนในลักษณะตาง ๆ พัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใช
งานในลักษณะแบบโดยลําพังเพียงคนเดียว ไดปรับเปลี่ยนไปสูการใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต
เว็บชวยสอนหรือการเรียนการสอนโดยใชเว็บ จึงเขามาแทนที่บทเรียนคอมพิวเตอรแบบดั้งเดิม
คําวาบทเรียนคอมพิวเตอรในลักษณะของ CAI หรือ CBT จึงถูกแทนที่ดวยคําวาบทเรียนบนเว็บ
หรือเว็บชวยสอน ในลักษณะของ WBI หรือ WBT ที่ใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต
6 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
พัฒนาการของเว็บชวยสอนหรือการเรียนการสอนโดยใชเว็บ ในลักษณะของ WBI และ
WBT ไดมีสวนกระตุนการใชบทเรียนคอมพิวเตอรเปนอยางมาก ไมเฉพาะสถานศึกษาเทานั้น แต
ยังรวมถึงสถานประกอบการตาง ๆ ที่ไดปรับเปลี่ยนแนวทางการฝกอบรมจากระบบดั้งเดิมไป
การฝกอบรมโดยใชเว็บ ทําใหมีความตองการใชงาน WBI และ WBT เปนอยางมาก ดังจะเห็น
ปริมาณความตองการของ WBI และ WBT ในสถานศึกษาและสถานประกอบการ รวมทั้งจํานวน
บริษัทผูผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรในปจจุบัน
จากบทเรียนคอมพิวเตอรแบบดั้งเดิม ในลักษณะของ CAI และ CBT ไดปรับเปลี่ยนไปเปน
เว็บชวยสอน ในลักษณะของ WBI และ WBT และพัฒนาไปเปน e-Learning ในยุคปจจุบัน โดย
มุงเนนการใชงานที่ผสมผสานกัน ระหวางการศึกษาจากเนื้อหาบทเรียน กับการใชแหลงทรัพยากร
ตาง ๆ ที่มีบริการอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหการเรียนการสอนมีความสะดวก และมีความ
หลากหลายมากขึ้น รวมทั้งสามารถกระจายไปสูแหลงตาง ๆ ไดอยางทั่วถึง ในปจจุบันเมื่อ
กลาวถึงบทเรียนคอมพิวเตอรจึงมีแนวโนมที่จะหมายถึง e-Learning มากกวา CAI/CBT หรือ
WBI/WBT อยางไรก็ตามพัฒนาการทางดานนี้ยังคงมีความตอเนื่อง จาก e-Learning ที่ใชงาน
บนเครือขายอินเทอรเน็ตที่เนนการใชงานเพียงลําพัง ไดเปลี่ยนไปเปน c-Learning (Collaborative
Learning) เพื่อเนนการใชงานหลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน และปรับเปลี่ยนไปเปน m-Learning
(Mobile Learning) เพื่อใชงานบนเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา (PDA) หรือโทรศัพทมือถือ
นอกจากนี้ยังมีบทเรียนชนิดอื่น ๆ ที่เปนบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต
เชนเดียวกันกับ e-Learning เชน d-Learning หรือ d3
-Learning ซึ่งหมายถึง การเรียนรูทางไกล
ดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส เปนตน
ลักษณะการใชงาน ประโยชน และขอจํากัด
บทเรียนคอมพิวเตอร สามารถประยุกตใชงานไดทั้งการเรียนการสอนและการฝกอบรม
ลักษณะการใชงานจึงเหมาะสมกับสถานการณตอไปนี้
1. ใชเพื่อสอนแทนผูสอนทั้งในและนอกชั้นเรียน หรือใชสอนทบทวนเนื้อหาเดิมที่ศึกษา
ผานไปแลว หรือใชสําหรับสอนเสริมในกรณีที่ผูเรียนเรียนไมทันหรือไมเขาใจ
2. ใชเพื่อการศึกษาทางไกล เชน การเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียมสื่อสาร เพื่อใช
ในมหาวิทยาลัยเปด และใชในระบบมหาวิทยาลัยเสมือน (Virtual University) เปนตน
3. ใชกับเนื้อหาที่ยุงยากหรือซับซอน ไมสามารถศึกษาไดจากของจริงหรือตองอาศัยการ
จินตนาการ ยากเกินกวาจะเขาใจไดโดยงาย เชน การเกาะกลุมกันของอะตอมภายในโมเลกุล
หลักการเกิดกระแสไหลวน (Eddy Current) ในแกนเหล็กของหมอแปลงไฟฟา เปนตน
5. ใชกับเนื้อหาสาระที่ตองการแสดงใหเห็นลําดับขั้นการเปลี่ยนแปลงทีละขั้น ๆ โดยการ
จําลองจากเหตุการณจริงที่เกิดขึ้นเร็วเกินไปหรือชาเกินไป ใหเห็นลําดับขั้นการเปลี่ยนแปลงอยาง
ชา ๆ ซึ่งสามารถยอนกลับหรือเดินหนาซ้ําแลวซ้ําอีกได
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 7
6. ใชในการฝกอบรมพนักงานใหม โดยสรางเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยฝกอบรม
เพื่อใหพนักงานไดศึกษาดวยตนเองจากระบบเครือขายคอมพิวเตอร วิธีการนี้พนักงานจะไมเสีย
เวลาเริ่มงานใหมเหมือนกับการฝกอบรมแบบในงาน (on the Job Training) แบบดั้งเดิม
7. ใชเพื่อคงความเปนมาตรฐานของหลักสูตรการเรียนการสอนและการฝกอบรม ให
เหมือนกันทุกแหงที่ใชหลักสูตรและเนื้อหาเดียวกัน
8. ใชในการเรียนการสอนเพื่อชวยแบงเบาภาระของผูสอนลง อีกทั้งยังใชเพื่อลดปญหา
การขาดแคลนผูสอน
9. ใชเพื่อการแสวงหาแนวทางพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม ๆ โดยนําเอา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการศึกษา ชวยใหเกิดการพัฒนาทัดเทียมกับสาขาวิชาอื่น ๆ
10. ใชกับการเรียนการสอนผานเครือขายอินเตอรเน็ต ไดแก WBI, WBT, NBI, NBT,
e-Learning, c-Learning, m-Learning หรือ d-Learning เปนตน
ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอร มีดังนี้
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนสูงขึ้นเมื่อเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร ซึ่งเปน
ผลสรุปจากการวิจัยเกี่ยวกับการใชบทเรียนคอมพิวเตอร เปรียบเทียบกับการเรียนการสอนแบบ
ปกติ หรือเปรียบเทียบกับการเรียนการสอนแบบอื่น ๆ
2. เวลาเรียนของผูเรียนลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนการสอนปกติในชั้นเรียน
โดยเฉพาะผูเรียนที่เกง จะไมเสียเวลาคอยเพื่อนรวมชั้นเรียน
3. ความสนใจของผูเรียนสูงขึ้น เมื่อเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร โดยเฉพาะผูเรียนที่
เรียนคอนขางชา จะมีผลสัมฤทธิ์มากกวาผลสัมฤทธิ์จากวิธีการเรียนแบบปกติ
4. สงเสริมใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนอยางแทจริง โดยมีการโตตอบระหวาง
ผูเรียนกับบทเรียน ทําใหเกิดการเรียนรูอยางลึกซึ้ง นอกจากนี้บทเรียนคอมพิวเตอรยังเปดโอกาส
ใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธมากกวาสื่อการเรียนการสอนประเภทอื่น ๆ
5. ผูเรียนเปนผูควบคุมบทเรียนดวยตนเอง นับตั้งแตการจัดการบทเรียน เลือกกิจกรรม
ที่ตนเองถนัด จนถึงการประเมินผลการเรียนดวยตนเอง ทําใหสามารถตอบสนองความตองการ
ของผูเรียนไดอยางแทจริง
6. บทเรียนคอมพิวเตอรนําเสนอเนื้อหาไดรวดเร็ว ฉับไว การยอนกลับหรือขามบทเรียน
ไปยังเนื้อหาถัดไป สามารถทําไดงาย และสะดวกขึ้น นอกจากนี้สื่อที่ใชเก็บบันทึกบทเรียน
คอมพิวเตอรมีความจุสูง เชน ดีวีดีหนึ่งแผน สามารถเก็บบันทึกขอมูลไดมากกวาหนังสือหลายเทา
7. สามารถนําเสนอภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว ภาพ 3 มิติ และภาพโครงรางซับซอน
ประกอบบทเรียนได นอกจากนี้ ยังใชเสียงประกอบบทเรียนในลักษณะของสื่อประสมได ทั้งเสียง
บรรยาย เสียงดนตรี และเสียงผลพิเศษ (Sound Effect)
8 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
8. ไมมีขอจํากัดดานเวลาและสถานที่ สามารถนําติดตัวไปเรียนในสถานที่ตาง ๆ ไดตาม
ความตองการ อีกทั้งยังสามารถศึกษาบทเรียนผานเครือขายอินเตอรเน็ตได
9. การไดนําคําตอบของผูเรียนมาใชในการวิจัย นับวาเปนประโยชนอยางยิ่งในการ
ปรับปรุงและแกไขบทเรียนในภายหลัง เพื่อใหเปนบทเรียนที่มีคุณภาพ และสอดคลองกับความ
ตองการของผูเรียนที่แทจริง
ขอจํากัดของบทเรียนคอมพิวเตอร มีดังนี้
1. เสียคาใชจายสูงในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ทั้งดานฮารดแวร ไดแก ตัวเครื่อง
คอมพิวเตอรและอุปกรณประกอบ และดานซอฟทแวร ไดแก ระบบนิพนธบทเรียน และซอฟทแวร
อรรถประโยชน (Utility Software) สนับสนุนการพัฒนาบทเรียน
2. ตองจัดเตรียมผูเชี่ยวชาญหลายดานรวมระดมความคิด เพื่อออกแบบและพัฒนา
บทเรียนคอมพิวเตอร ทั้งดานหลักสูตรและดานการเรียนการสอน ดานสื่อการสอน ดานการวัดและ
ประเมินผล และดานการโปรแกรมคอมพิวเตอร
3. ใชระยะเวลายาวนานในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร รวมทั้งเวลาสําหรับการ
ทดสอบประเมินผลคุณภาพบทเรียน และการปรับปรุงแกไข
4. ยากในการออกแบบบทเรียนใหไดคุณภาพดี เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรที่ดีนั้น
จะตองออกแบบใหมีความยืดหยุนตอการใชงาน และเหมาะสมกับผูเรียนที่มีความถนัดแตกตางกัน
จึงเปนเรื่องยากที่จะออกแบบเนื้อหาใหสอดคลองกับกลุมเปาหมายทุกกลุมที่มีความแตกตางกัน
5. บทเรียนคอมพิวเตอรเปนบทเรียนที่ถูกออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอน จึงมี
ขั้นตอนการเรียนรูตามแผนการสอนที่วางไวทุกประการ เมื่อนําไปใชในการเรียนการสอน จึงไม
สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคของผูเรียนที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน ในระหวางกระบวนการเรียนรู
ไดในบางครั้ง
6. ผูเรียนไดรับการตอบสนองจากบทเรียนคอมพิวเตอรในรูปแบบที่แนนอน ตามการ
จัดการของโปรแกรม บทเรียนคอมพิวเตอรจึงไมสามารถตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรูของ
ผูเรียนขณะที่ศึกษาบทเรียนได
7. การใชบทเรียนคอมพิวเตอรมากเกินไป จะเปนการลดความสัมพันธของเพื่อนรวมชั้น
และปฏิกิริยาที่มีตอกันในทางสังคมจะลดนอยลงไป อาจสงผลใหเห็นความสําคัญของผูสอนนอยลง
ไปไดเชนกัน
8. ผูเรียนระดับผูใหญอาจจะไมชอบศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอร ที่มีโปรแกรมการ
เรียนรูเปนขั้นตอน ทําใหเกิดอุปสรรคในการเรียนรูไดมากกวาผูเรียนระดับเด็ก
9. ปญหาทางดานเทคนิค มีดังนี้
9.1 ปญหาความเร็วในการสื่อสารของเครือขาย เนื่องจากแถบความถี่ในการสื่อสารมี
ผลตอความเร็วในการสงผานเนื้อหาบทเรียน ทําใหบางแหงประสบปญหาการศึกษาบทเรียนบน
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 9
เครือขายอินเทอรเน็ต ถาความเร็วในการสื่อสารไมสูงมากเพียงพอ นอกจากนี้หากผูเรียนตอเชื่อม
เขาระบบเปนจํานวนมาก ก็จะทําใหการนําเสนอบทเรียนชาลง
9.2 ปญหาดานลิขสิทธิ์ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรตองอาศัยซอฟทแวรที่มีราคา
สูง ทําใหการพัฒนาอยูในวงจํากัดเฉพาะหนวยงานหรือสถานศึกษาที่มีงบประมาณเพียงพอเทานั้น
9.3 เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรนําเสนอผานจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่ง
ประกอบดวยอุปกรณที่เกี่ยวของหลายอยาง การใชงานจึงอาจเกิดปญหาขึ้นได บทเรียนจึงใชได
ผลดีสําหรับผูเรียนที่มีความรูดานการใชเครื่องคอมพิวเตอรมาบาง
การเรียนการสอนแบบโปรแกรม
ลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร ไดจากการประยุกตบทเรียนสําเร็จรูปหรือบทเรียน
โปรแกรม (PI : Programmed Instruction) หรือบทเรียนดวยตนเอง ที่ไดรับความนิยมในระยะ
หนึ่ง บทเรียนสําเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ออกแบบขึ้นมาอยางมีแบบแผน เพื่อใหผูเรียนได
เรียนรูดวยตนเองในการศึกษาและจัดการบทเรียนตามความตองการ เชน เลือกกิจกรรมการเรียน
ที่ตนเองถนัด เลือกวิธีการเรียนรู และประเมินผลการเรียนดวยตนเอง เปนตน แนวความคิดและ
การจัดการบทเรียนสําเร็จรูป อาศัยพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลในการพัฒนาวิธีการให
ผูเรียนไดเรียนรูตามความสามารถเฉพาะบุคคลและความพรอม โดยไมคํานึงถึงเวลาและสถานที่
บทเรียนที่สมบูรณจะมีแบบทดสอบวัดความกาวหนาทางการเรียน โดยทําแบบทดสอบกอนและ
หลังบทเรียนแลวพิจารณาวาหลังบทเรียน ผูเรียนมีคะแนนมากกวากอนบทเรียนมากนอยเพียงใด
ภาพที่ 1-1 โครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรกับบทเรียนโปรแกรม
Program Instruction
Database
Multimedia
Attributes
Computer
Instruction
CAI/CBT
WBI/WBT
10 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
เหตุที่บทเรียนคอมพิวเตอรไดรับความนิยม เนื่องจากมีจุดเดนและมีความคลองตัวในการใช
งานมากกวาบทเรียนสําเร็จรูป ไดแก สามารถสรางสรรคเนื้อหาแบบสาขา เพื่อเปดโอกาสให
ผูเรียนเลือกเรียนไดตามความสนใจในแตละบทเรียน ซึ่งทําไดทั้งในลักษณะการสอนทบทวน
เนื้อหาหรือการใชคําถาม สามารถกําหนดใหมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับบทเรียนไดตลอดเวลา
แมแตการเฉลยคําตอบหรือการประเมินผลการเรียนรูก็สามารถทําไดเชนกัน นอกจากนี้บทเรียน
คอมพิวเตอรในปจจุบัน ยังสามารถใชคุณสมบัติเฉพาะตัวของคอมพิวเตอรในการจัดการเกี่ยวกับ
บทเรียน เปนตนวา มีระบบการจัดการฐานขอมูลที่สามารถเก็บบันทึกผลการเรียนไวได สามารถ
สรางธนาคารขอสอบได ประเมินผลการเรียนไดอยางรวดเร็ว นอกเหนือจากการนําเสนอดวย
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟก และเสียง ในลักษณะของสื่อประสม ที่ไมมีในบทเรียน
สําเร็จรูปแตอยางใด
อยางไรก็ตาม บทเรียนคอมพิวเตอรก็ยังคงไวซึ่งโครงสรางของการเรียนการสอนแบบ
โปรแกรมเชนเดียวกับบทเรียนสําเร็จรูป จึงอาจกลาวไดวา บทเรียนทั้งสองมาจากแนวความคิด
เดียวกัน โดยมีลักษณะสําคัญ ๆ ดังนี้
1. มีการกําหนดความคาดหวังที่ตองการหลังจบบทเรียน โดยกําหนดเปนวัตถุประสงค
เชิงพฤติกรรมของผูเรียนหลังจากจบบทเรียนแลววา จะตองสามารถแสดงพฤติกรรมที่วัดไดหรือ
สังเกตไดอยางชัดเจน
2. การนําเสนอเนื้อหาบทเรียนจะเริ่มจากสิ่งที่รูไปยังสิ่งที่ยังไมรู หรือจากสิ่งที่งายไปยังสิ่ง
ที่ยาก โดยการจัดการนําเสนอเนื้อหาเรียงตามลําดับ เริ่มจากสวนที่ผูเรียนเรียนรูมาแลว ไปยังเรื่อง
ใหมที่ยังไมรู เนื้อหาตองสรางเปนกรอบหรือเฟรม และนําเสนอทีละเฟรม ๆ จนครบตาม
วัตถุประสงคของบทเรียน ตามลําดับความยากงาย
3. เนื้อหาแตละเฟรมยอย ตองเพิ่มขึ้นทีละนอย ๆ และมีการแนะนําความรูใหมทีละขั้น แต
ไมมากนัก ความเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาแตละสวนยอย ผูเรียนจะตองสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง
4. ในระหวางนําเสนอเนื้อหา จะมีการนําเสนอกิจกรรมการเรียนประกอบดวย เชน ตอบ
คําถาม ทําแบบทดสอบ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ในลักษณะของการสงเสริมใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธรวม
ตลอดบทเรียน เนื่องจากถาใหผูเรียนอานเนื้อหาและคิดตามเพียงอยางเดียว จะทําใหไมเกิดการ
สรางสรรคประสบการณการเรียนรู และทําใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนาย
5. เมื่อผูเรียนมีปฏิสัมพันธ ในกรณีที่ผูเรียนตอบผิด จะมีการอธิบายหรือแนะนําเพิ่มเติม
ถึงความผิดพลาดที่เกิดขึ้น หรือมีการจัดการบทเรียนใหยอนกลับไปในสวนของเนื้อหาที่เกี่ยวของ
หากผูเรียนตอบถูกตอง จะมีการใหคําชมดวยวิธีใดวิธีหนึ่งที่สรางเสริมกําลังใจในการเรียน
6. เวลาไมใชขอจํากัดในการเรียนรู บทเรียนตองอํานวยประโยชนใหผูเรียนไดเลือกเรียน
ตามความสามารถและความถนัดของผูเรียน ผูเรียนสามารถใชเวลาในการทบทวนบทเรียนหรือคิด
คําตอบเพื่อจะตอบคําถามแตละขอนานเทาใดก็ได
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 11
7. มีแบบทดสอบหลังบทเรียน เพื่อใหผูเรียนไดประเมินผลการเรียนรูของตนเอง ซึ่งจะ
เปนการสรุปเนื้อหาและมีการติดตามผลของผูเรียนดวยวาผลการเรียนรูเปนอยางไร จําเปนตอง
คนควาหรือศึกษาเนื้อหาสวนใดเพิ่มเติม
8. การใชบทเรียนสําเร็จรูป จะไมอยูภายใตการดูแลของผูสอนหรือภายในสถานที่ที่
กําหนด ผูเรียนมีอิสระจากการดูแลหรือการควบคุมจากบุคคลอื่น ๆ และสถานที่ที่พอใจ
9. ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางการเรียน การออกแบบบทเรียนจึงตอบสนองความตองการ
และความสามารถของแตละบุคคลเปนสําคัญ
ลักษณะโครงสรางของการเรียนการสอนดังกลาว เปนแนวความคิดขั้นพื้นฐานของบทเรียน
สําเร็จรูป นอกจากนี้ยังมีสวนอื่น ๆ ของบทเรียนสําเร็จรูปที่ใชเปนแนวความคิดในการออกแบบ
บทเรียนคอมพิวเตอร ไดแก รูปแบบการนําเสนอ ซึ่งจําแนกออกเปน 3 รูปแบบ ดังนี้
1. แบบเรียงลําดับเชิงเสน (Linear Program)
2. แบบสาขา (Branching Program)
3. แบบแอดจังทีฟ (Adjunctive Program)
รายละเอียดแตละรูปแบบ มีดังนี้
1. แบบเรียงลําดับเชิงเสน (Linear Program)
รูปแบบของบทเรียนสําเร็จรูปแบบนี้จะแบงออกเปนหนวยยอย ๆ ที่เรียงตอเนื่องกันไป
ตามลําดับ เริ่มจากสิ่งที่งายไปหาสิ่งที่ยาก ผูเรียนจะเรียนไปทีละหนวยจากหนวยแรกและกาว
ตอไปตามลําดับ จะขามหนวยใดหนวยหนึ่งไมได สิ่งที่ผูเรียนศึกษาจากหนวยแรก ๆ จะเปน
พื้นฐานของหนวยถัดไป ลักษณะของบทเรียนสําเร็จรูปประเภทนี้ มักจะเปนแบบใหตอบคําถาม
แบบถูกผิดหรือใหเติมคําในชองวาง และใหผูเรียนตรวจคําตอบในหนวยถัดไปหรือเฟรมถัดไป
ภาพที่ 1-2 รูปแบบการนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบเรียงลําดับเชิงเสน (Linear Program)
2. แบบสาขา (Branching Program)
บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา เปนบทเรียนสําเร็จรูปที่ออกแบบขึ้นมาโดยคํานึงถึงความ
แตกตางของบุคคลเปนหลัก โดยแบงบทเรียนออกเปนเฟรมหลักหรือหนวยหลักและหนวยยอย ๆ
ซึ่งผูเรียนทุกคนจะตองเรียนที่เฟรมหลัก สวนหนวยยอยที่แตกสาขาออกไป มีไวเพื่อเสริมความ
1 2 3 4 5 6 7 8
12 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
เขาใจสําหรับผูเรียนบางคนที่ตองการ เมื่อผานไปยังหนวยยอยแลวจะกลับมายังเฟรมหลักอีกและ
เรียนตอไปจนครบบทเรียนตามผลของการตอบสนองที่มีตอบทเรียน บทเรียนแบบนี้จะควบคุม
ขั้นตอนใหสามารถเรียนรูเนื้อหาไดตลอด โครงสรางการนําเสนอของบทเรียนจึงซับซอนและ
ออกแบบยากกวาแบบเรียงลําดับเชิงเสน
ภาพที่ 1-3 รูปแบบการนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา (Branching Program)
3. แบบแอดจังทีฟ (Adjunctive Program)
การนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบแอดจังทีฟ จะมีลักษณะเชนเดียวกันกับแบบสาขา แต
การเสนอเนื้อหาจะมีปริมาณมากกวา สวนการตอบคําถามซึ่งอาจจะกระทําในตอนทายบทเรียน
แลว ยังอาจขามไปยังหนวยยอยอื่น ๆ เลยก็ได ถาผูเรียนสามารถแสดงใหเห็นวามีความรู
ความสามารถในสวนที่จะขามไปนั้น การนําเสนอบทเรียนรูปแบบนี้จึงเปนรูปแบบผสม ที่ซับซอน
และยุงยากมากกวาสองรูปแบบแรก
ภาพที่ 1-4 รูปแบบการนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบแอดจังทีฟ (Adjunctive Program)
1 2 3 4
4.11.1 2.1 3.1
4.21.2 2.2 3.2
1 3 8
2
4
6
7
5
9
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 13
นอกจากนี้ บทเรียนคอมพิวเตอรยังใชแนวความคิดและหลักการดานอื่น ๆ ของบทเรียน
สําเร็จรูปมาประยุกตเขากับคุณสมบัติเฉพาะตัวของคอมพิวเตอร ทําใหบทเรียนคอมพิวเตอรแสดง
บทบาทในการนําเสนอองคความรูไดมีประสิทธิภาพมากกวาบทเรียนสําเร็จรูป
องคประกอบที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร
องคประกอบที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอรมี 4 สวน ถาขาดสวนใดสวนหนึ่งไป จะทําให
บทเรียนขาดความสมบูรณในดานการถายทอดองคความรูไปสูผูเรียน คอมพิวเตอรที่ใชก็จะมี
บทบาทเปนเพียงอุปกรณหรือเครื่องมือนําเสนอขอมูลหรือสําหรับฉายขอมูลเทานั้น ไมใชบทเรียน
คอมพิวเตอรที่แทจริง องคประกอบที่สําคัญทั้ง 4 สวน มีดังนี้
1. การเรียนโดยใชคอมพิวเตอร
2. บทเรียนไดออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น
3. ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนโดยตรงผานทางคอมพิวเตอร
4. บทเรียนตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล
รายละเอียดขององคประกอบทั้ง 4 สวน มีดังนี้
1. การเรียนโดยใชคอมพิวเตอร เปนการถายทอดองคความรูโดยผานคอมพิวเตอร ซึ่งได
มีการจัดระเบียบเนื้อหาและระบบการนําเสนอแบบปฏิสัมพันธไวแลวเรียบรอย ความสามารถใน
การติดตามหรือคนหาองคความรูในบทเรียนคอมพิวเตอร จึงยึดหลักการสําคัญ ไดแก ความงาย
ความสะดวกในการใชงาน ความสวยงาม ความนาสนใจ และสงเสริมใหผูเรียนสามารถเรียนรูได
ดวยตนเอง เพื่อใหผูเรียนประสบผลสําเร็จดวยวิธีการของตนเองในการเรียนรูตามที่ตองการ
2. บทเรียนไดออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น การเรียนรูดวยบทเรียน
คอมพิวเตอรเปนการเลียนแบบวิธีการสอนแบบปกติในชั้นเรียน อันเนื่องมาจากปญหาและความ
ตองการตาง ๆ ไดแก ความรับผิดชอบของผูสอนในปจจุบันที่มีตอผูเรียนมีมากขึ้น ความตองการ
ใชเทคโนโลยีสมัยใหมในวงการศึกษา เปนตน การออกแบบการเรียนการสอนจึงไดเนนการ
ประยุกตใชเทคโนโลยีทางดานสื่อการเรียนการสอนมากขึ้น บทบาทที่สําคัญในฐานะของผูสอนก็
คือการออกแบบแผนการสอนอยางเปนระบบ เพื่อนําเสนอองคความรูใหถูกตองและครบถวน
โดยเฉพาะบทเรียนคอมพิวเตอร ซึ่งออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น ดังนั้น การ
ออกแบบบทเรียนจึงตองยึดหลักการตอบสนองการเรียนรูรายบุคคลใหมากที่สุด ตามหลักการ
เรียนรู
3. ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนโดยตรงผานคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปน
องคประกอบสําคัญในการนําเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร เพื่อถายทอดองคความรูจากบทเรียนที่ได
ออกแบบไวแลว ลักษณะการนําเสนอบทเรียนจะสนับสนุนใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับ
บทเรียนตลอดเวลา เพื่อสรางเสริมใหผูเรียนเกิดพัฒนาการทางการเรียนรู โดยยึดตนเองเปนหลัก
14 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
ในการควบคุมบทเรียน นอกจากนี้ยังตองเสริมสรางความรูสึกในทางบวกแกผูเรียนในการมี
ปฏิสัมพันธกับคอมพิวเตอร สงเสริมใหผูเรียนมีสิทธิ์คิดและตัดสินใจ โดยไมรูสึกวาถูกริดรอนสิทธิ
ในการเรียนรูหรือถูกควบคุมจากคอมพิวเตอร
4. บทเรียนตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล ปรัชญาการจัดการศึกษาที่นํามาใช
ไดผลในกระบวนการเรียนการสอนในปจจุบัน ไดเนนเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล รวมทั้ง
หลักการเรียนรู สื่อการเรียนการสอน และวิธีการสอน จึงตองพยายามพัฒนาใหสนองตอบตอ
ความแตกตางระหวางบุคคลดังกลาว องคประกอบหนึ่งของบทเรียนคอมพิวเตอรซึ่งเปนนวัตกรรม
ทางการศึกษาสมัยใหมก็คือ จะตองพัฒนาใหเปนสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ตองตอบสนองความแตกตาง
ระหวางบุคคล โดยมีความยืดหยุน สามารถใชกับผูเรียนที่มีพื้นฐานความรูและความสามารถที่
แตกตางกันไดดี
คุณลักษณะที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร
นอกจากจะยึดหลักการเรียนรูแบบโปรแกรมตามหลักการพื้นฐานของบทเรียนสําเร็จรูป โดย
ตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลเปนหลักแลว บทเรียนคอมพิวเตอรที่ดียังควรประกอบดวย
คุณลักษณะที่สําคัญ 4 ประการ หรือที่เรียกวา 4 Is ดังนี้
1. ความเปนสารสนเทศ (Information)
2. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization)
3. การมีปฏิสัมพันธ (Interaction)
4. การใหผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback)
ภาพที่ 1-5 คุณลักษณะที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร
Interaction
Information
IndividualizationImmediate Feedback Computer
Instruction
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 15
รายละเอียดตาง ๆ มีดังนี้
1. ความเปนสารสนเทศ (Information) หมายถึง การจัดระเบียบขององคความรูที่ถายโยง
ไปสูผูเรียนอยางเปนระบบ โดยยึดหลักประสบการณการเรียนรู หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิธีการ
คิด การออกแบบ และการพัฒนาบทเรียน ที่จะกระตุนใหผูเรียนใหเรียนรูเนื้อหาอยางเปนระบบ
โดยใชหลักการและวิธีการของสารสนเทศ ซึ่งเปนการเปลี่ยนวิธีการศึกษาของผูเรียนจากวิธีดั้งเดิม
ทั้งปริมาณและวิธีประมวลความรู กลาวโดยสรุปก็คือ เนื้อหาที่จะนําเสนอในบทเรียนคอมพิวเตอร
จะตองเปนสารสนเทศ (Information) ซึ่งผานการจัดระเบียบมาแลว ไมใชขอมูลดิบ (Raw Data)
ทั่ว ๆ ไปเหมือนการนําเสนอขอความปกติในเอกสารสิ่งพิมพตาง ๆ
การประมวลผลสารสนเทศของผูเรียนโดยใชคอมพิวเตอร ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
1. การรับขอมูลเขา (Input) โดยใชอุปกรณรับขอมูล (Input Device) เชน แปนพิมพ
เมาส เครื่องอานแผนแมเหล็ก เครื่องอานแผนซีดีรอม เปนตน
2. ระบบปฏิบัติการ (Operating System) และซอฟทแวรการใชงาน รวมทั้งระบบนิพนธ
บทเรียน
3. การแสดงผลออก (Output) โดยใชอุปกรณแสดงผล (Output Device) เชน จอภาพ
เครื่องพิมพ เปนตน
การจัดแผนการเรียนรูของบทเรียนคอมพิวเตอร โดยพิจารณาความเปนระบบสารสนเทศ
เปนการใชศาสตรและศิลปะทางเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการเรียนการสอน ไดแก การ
วางแผนการสอน การเลือกใชสื่อการเรียนการสอน การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการจัด
กิจกรรมการเรียนรู เพื่อกระตุนกระบวนการเรียนรูตามสภาพแวดลอมของผูเรียนใหเปนไปตาม
วัตถุประสงคที่กําหนด เปนผลใหผูเรียนไดรับความรูหรือทักษะอยางหนึ่งอยางใดเพิ่มขึ้น
2. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) บทเรียนคอมพิวเตอรที่ดี ตองมี
ลักษณะยืดหยุน เพื่อใหผูเรียนมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง รวมทั้งการเลือกรูปแบบ
ของกิจกรรมการเรียนที่เหมาะสมตามความถนัดของตนเอง ไดแก
2.1 การควบคุมเนื้อหา บทเรียนตองเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเลือกเรียนรูเนื้อหา
ในสวนที่ตองการหรือจะออกจากบทเรียนเมื่อไรก็ได ความสามารถในการควบคุมกิจกรรมการ
เรียนรู โดยการเขาใจถึงผลที่เกิดตามมาของพฤติกรรมนับวามีความสําคัญมาก นักการศึกษาได
กลาวถึงความสามารถที่จะควบคุมกิจกรรมการเรียนรูวา ถาผลที่เกิดตามมาของพฤติกรรมของ
ผูเรียนคือรางวัล ผูเรียนจะมีความพอใจในพฤติกรรมของตนเอง แตถาผลที่ตามมาเปนการลงโทษ
อาจกอใหเกิดความไมพอใจ ทั้งความพอใจและความไมพอใจ มีความใกลชิดกับมาตรฐานของ
พฤติกรรมที่ผูแสดงพฤติกรรมไดตั้งไว
2.2 การควบคุมลําดับการเรียน ผูเรียนสามารถเลือกเรียนเนื้อหาไดตามความสนใจ
โดยสามารถเลือกรายการใดรายการหนึ่งตามความตองการ การเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถ
ควบคุมลําดับขั้นการเรียนรูและอัตราการเรียนตามความตองการ เปนวิธีการสงเสริมใหผูเรียนลด
16 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร
ความวิตกกังวลในการเรียน อันเนื่องจากความแตกตางระหวางบุคคล ผูเรียนที่มีลักษณะตางกัน
และมีความสามารถในการเรียนรูตางกัน อาจชอบวิธีการเรียนการสอนที่แตกตางกันก็ได
2.3 การควบคุมกิจกรรมการเรียน กิจกรรมการเรียนของบทเรียนคอมพิวเตอรโดย
พื้นฐาน ประกอบดวย การเลือกรายการบทเรียน การตอบคําถาม การเลือกสื่อการเรียนการสอนที่
ตนเองถนัด หรือการมีสวนรวมในสถานการณจําลอง นอกจากนี้ยังอาจนําเอาระบบผูเชี่ยวชาญ
(ES : Expert System) หรือระบบปญญาประดิษฐ (AI : Artificial Intelligent) มาประยุกตใชใน
บทเรียนคอมพิวเตอร เพื่อตอบสนองดานความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน เชน การจัดการ
นําเสนอเนื้อหาในระดับความยากงายที่ตรงกับพื้นฐานความสามารถและความสนใจของผูเรียน
3. การมีปฏิสัมพันธ (Interaction) หมายถึง การสงเสริมใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับ
บทเรียนคอมพิวเตอร เปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสโตตอบกับบทเรียนอยางตอเนื่อง
ตลอดทั้งบทเรียน ผลที่ตามมาก็คือจะทําใหผูเรียนไดเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว การที่ให
ผูเรียนโตตอบบทเรียน โดยการคลิกเมาสหรือกดแปนพิมพเพื่อเปลี่ยนเนื้อหาใหมทีละหนาจอภาพ
ไมถือวาเปนการปฏิสัมพันธกับบทเรียนแตอยางใด การปฏิสัมพันธจะตองเปนการรวมพัฒนา
องคความรูระหวางผูเรียนกับบทเรียนเทานั้น เชน การปอนตัวเลขทางแปนพิมพ การคลิกเมาสที่
คําตอบในขอคําถาม เปนตน การออกแบบบทเรียนสวนนี้ จึงตองจัดระเบียบวิธีคิดเพื่อวิเคราะห
และสรางสรรคกิจกรรมการเรียนรูหรือสวนสําหรับฝกปฏิบัติ ที่จะกอใหเกิดความตอเนื่องตามลําดับ
ความสําคัญของเนื้อหา โดยยึดคุณลักษณะของการปฏิสัมพันธกับบทเรียนเปนหลัก
4. การใหผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) จัดวาเปนกิจกรรมการเสริมแรง
อยางหนึ่งตามแนวความคิดของ Skinner ซึ่งเปนขอไดเปรียบในการใชคุณสมบัติของคอมพิวเตอร
ในการใหผลปอนกลับโดยทันทีที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียน คุณลักษณะดานนี้ นับวาเปน
จุดเดนที่ทําใหบทเรียนคอมพิวเตอรสามารถตอบสนองความตองการของผูเรียนไดรวดเร็ว ไม
เพียงแตเปนการปอนกลับในรูปของการตอบคําถามเทานั้น แตยังรวมถึงการประมวลผลความรู
จากแบบทดสอบที่ผูเรียนลงมือปฏิบัติ โดยไมตองรอคอยคําตอบจากการตรวจของผูสอนเหมือน
การสอนปกติในชั้นเรียนที่บางครั้งผูเรียนตองการทราบผลการเรียนรูทันที แตก็ไมสามารถทําได
เนื่องจากเพื่อนรวมชั้นมีจํานวนมาก อายเพื่อน หรือสาเหตุอื่น ๆ เปนตน
ทฤษฎีการเรียนรูกับบทเรียนคอมพิวเตอร
ทฤษฎีการเรียนรูที่เปนพื้นฐานของบทเรียนคอมพิวเตอร จําแนกเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแก
1. กลุมทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory Group)
2. กลุมทฤษฎีปญญานิยม (Cognitive Theory Group)
รายละเอียดทั้งสองกลุม มีดังนี้
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 17
1. กลุมทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory Group)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เปนทฤษฎีที่ศึกษาดานพฤติกรรมการเรียนรูวาเปนสิ่งที่สามารถ
สังเกตไดจากพฤติกรรมภายนอก มีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง
โดยเชื่อวาการเรียนรูเปนพฤติกรรมแบบแสดงอาการกระทํา (Operant Conditioning) เมื่อมีการ
เสริมแรง ซึ่งสามารถสรุปเปนประเด็นสําคัญ ๆ ไดดังนี้
l พฤติกรรมทุกอยางเกิดขึ้นโดยการเรียนรูและสามารถสังเกตได
l พฤติกรรมแตละชนิดเปนผลรวมของการเรียนที่เปนอิสระหลายอยาง
l การเสริมแรง (Reinforcement) ชวยทําใหพฤติกรรมเกิดขึ้นได
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มีอิทธิพลตอการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรในลักษณะที่เปนชุด
ของพฤติกรรมซึ่งจะตองเกิดขึ้นตามลําดับที่แนชัด การที่ผูเรียนจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นจะตอง
ผานการเรียนรูตามขั้นตอนที่กําหนดไวในวัตถุประสงค ผลที่ไดจากการเรียนขั้นแรกจะเปน
พื้นฐานของการเรียนในขั้นตอ ๆ ไป ดังนั้น บทเรียนคอมพิวเตอรที่ไดรับการออกแบบตาม
ทฤษฎีนี้ จึงมีลักษณะการนําเสนอเนื้อหาแบบเชิงเสนเปนสวนใหญ
พฤติกรรมการเรียนรูตามแนวความคิดนี้ แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก
1.1 พฤติกรรมการตอบสนอง (Respondent Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดย
สิ่งเรา (Stimulus) เมื่อมีสิ่งเรา (Response) พฤติกรรมการตอบสนองจะเกิดขึ้นโดยสามารถ
สังเกตได กระบวนการเรียนรูประเภทนี้เรียกวา ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical
Conditioning Theory)
1.2 พฤติกรรมอาการกระทํา (Operant Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลใด ๆ แสดง
พฤติกรรมตอบสนองออกมา เมื่อมีสิ่งเราที่แนนอนและมีผลตอสิ่งแวดลอม พฤติกรรมประเภทนี้
เรียกวา พฤติกรรมแสดงอาการกระทํา (Operant Conditioning Theory)
การเรียนรูตามทัศนะของนักทฤษฎีกลุมนี้ เกิดจากกระบวนการตอบสนองเมื่อมีสิ่งเรา
องคประกอบสําคัญของการเรียนรูตามทฤษฎีนี้มี 4 ประการ ไดแก
1. แรงขับ (Drive) เปนความตองการของผูเรียนในบางสิ่งบางอยาง แลวจูงใจใหผูเรียน
หาหนทางตอบสนองความตองการดังกลาว
2. สิ่งเรา (Stimulus) ผูเรียนจะไดรับองคความรูหรือการชี้แนะโดยทันทีจากสิ่งเราในการ
ที่จะตอบสนอง
3. การตอบสนอง (Response) เปนการที่ผูเรียนแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเรา
สามารถอธิบายไดดวยพฤติกรรมที่ผูเรียนแสดงออก
4. การเสริมแรง (Reinforcement) เปนการใหรางวัลเพื่อเสริมแรง เชน กลาวชมเชยแก
ผูเรียนเมื่อตอบถูกตอง จะชวยใหผูเรียนเกิดพฤติกรรมการตอบสนองเชนเดิม เขมแข็ง และ
ตอเนื่อง
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1
E1

More Related Content

Viewers also liked

Risk assessement
Risk assessement Risk assessement
Risk assessement conallenx
 
Geometrix FaceVision Presentation
Geometrix FaceVision PresentationGeometrix FaceVision Presentation
Geometrix FaceVision PresentationSteve Macdonald
 
Los problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisibles
Los problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisiblesLos problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisibles
Los problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisiblesFrancisco Fernandes
 
Mobile Operating System Preference
Mobile Operating System PreferenceMobile Operating System Preference
Mobile Operating System PreferenceNick Rivait
 
Role of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBI
Role of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBIRole of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBI
Role of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBIPallavi Priya
 
SWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATIS
SWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATISSWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATIS
SWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATISExpresión Ejecutiva
 
(5) alfred & agatha la carrera de inglaterra.
(5) alfred & agatha   la carrera de inglaterra.(5) alfred & agatha   la carrera de inglaterra.
(5) alfred & agatha la carrera de inglaterra.www.tumarketing.co
 

Viewers also liked (10)

Risk assessement
Risk assessement Risk assessement
Risk assessement
 
Geometrix FaceVision Presentation
Geometrix FaceVision PresentationGeometrix FaceVision Presentation
Geometrix FaceVision Presentation
 
Los problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisibles
Los problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisiblesLos problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisibles
Los problemas de salud. Las enfermedades transmisibles y no transmisibles
 
bassam english cetificates
bassam english cetificatesbassam english cetificates
bassam english cetificates
 
Mobile Operating System Preference
Mobile Operating System PreferenceMobile Operating System Preference
Mobile Operating System Preference
 
GREEN SLIDE - EXPRESION EXECUTIVA
GREEN SLIDE - EXPRESION EXECUTIVAGREEN SLIDE - EXPRESION EXECUTIVA
GREEN SLIDE - EXPRESION EXECUTIVA
 
Role of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBI
Role of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBIRole of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBI
Role of leadership during crisis - TURN AROUND CASE OF SBI
 
SWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATIS
SWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATISSWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATIS
SWOT ANALYSIS - POWERPOINT - FODA - GRATIS
 
4 ekosistem
4 ekosistem4 ekosistem
4 ekosistem
 
(5) alfred & agatha la carrera de inglaterra.
(5) alfred & agatha   la carrera de inglaterra.(5) alfred & agatha   la carrera de inglaterra.
(5) alfred & agatha la carrera de inglaterra.
 

Similar to E1

รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sichon
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลssuserea9dad1
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาKrieangsak Pholwiboon
 

Similar to E1 (20)

รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

E1

  • 1. บทนํา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เปนสิ่งที่มีความสําคัญยิ่งในการนําพาประเทศไปสูความเจริญ ความกาวหนา และความเปนพลเมืองดี ที่มีคุณภาพทัดเทียมกับอารยะประเทศ จากวิวัฒนาการ ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สงผลตอความเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดลอมของโลกในปจจุบัน ทําใหนานาประเทศปรับเปลี่ยนกลยุทธใหมุงเนนดานการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยมากขึ้น โดยกําหนดเปนนโยบายและแผนพัฒนาประเทศ รวมทั้งปรับเปลี่ยน กระบวนการและหาวิธีการในการจัดระบบการศึกษา ใหรองรับแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก มีการกําหนดแนวคิดตาง ๆ ในการจัดการ ศึกษา โดยยึดหลักสําคัญ 4 ประการ ไดแก ความเสมอภาคและการกระจายโอกาสทางการศึกษา (Equity) ความเปนเลิศและคุณภาพทางวิชาการ (Excellence) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และความเปนสากล (Internationalization) โดยมุงเนนภารกิจหลัก ๆ ที่กอใหเกิดองคความรู ใหม ๆ โดยพึ่งพาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแขนงตาง ๆ การศึกษาระบบเปด (Opened System) และการเรียนการสอนรายบุคคล (Individualized Learning) ไดเขามามีบทบาทมากขึ้น โดยเริ่มเขามาทดแทนการเรียนการสอนแบบปกติดั้งเดิม ภายใตการควบคุมคุณภาพทางวิชาการ อยางเปนระบบและทุกขั้นตอน เทคโนโลยีที่นําสมัยดานตาง ๆ เชน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีการสื่อสาร และเทคโนโลยีดานการจัดการ ไดถูกนํามาประยุกตใชในการจัดการศึกษา มากขึ้น การเรียนการสอนในสถานศึกษาและการฝกอบรมในสถานประกอบการ มีการพัฒนาไปตาม กระแสแหงความเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดและความจําเปนดังกลาวขางตน ความกาวหนาทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนปจจัยหลักในการนําเสนอองคความรู โดยมีการคิดคน พัฒนาและ สรางสรรคสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบตาง ๆ เพื่อเอื้ออํานวยประโยชนใหเกิดการเรียนรู สื่อการเรียนการสอนในลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic Media) ไดเขามามีบทบาท สําคัญตอการศึกษามากขึ้น บทเรียนคอมพิวเตอร (CAI : Computer Assisted Instruction) จัดวาเปนสื่ออิเล็กทรอนิกส ประเภทหนึ่ง ที่นําเสนอองคความรูอยางเปนระบบและเปนขั้นตอน ตามหลักการเรียนรู โดยใช เทคโนโลยีคอมพิวเตอรจัดการและนําเสนอบทเรียน ซึ่งวงการศึกษาไดใหความสนใจและตื่นตัวใน การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรเปนอยางมากเพื่อนํามาใชในการเรียนการสอน เนื่องจากบทเรียน 1ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร Introduction to Computer Instruction
  • 2. 2 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรสามารถตอบสนองการเรียนรูในลักษณะตาง ๆ ที่จะนําไปสูการพัฒนาความสามารถ ทางดานสติปญญาของมนุษยไดอยางเต็มที่ อัตราการใชงานของบทเรียนคอมพิวเตอรจึงมี แนวโนมที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเชนปจจุบัน ตัวอยาง ไดแก e-Learning หรือ e-Education เปนตน ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอร บทเรียนคอมพิวเตอร (Computer Instruction) เปนคําที่มีความหมายกวาง หมายถึง การ เรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยหรือบทเรียนที่นําเสนอดวยคอมพิวเตอร หากพิจารณา เฉพาะลงไป จะพบวามีคําที่เกี่ยวของหลายคํา ซึ่งอาจจะแบงออกเปน 3 ยุค ดังนี้ 1. ยุคบุกเบิก (ประมาณกอนป คศ. 1990) เปนยุคของบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชงาน แบบเพียงลําพัง (Standalone Based) จะหมายถึงคําตอไปนี้ ˜ CAI (Computer Assisted Instruction หรือ Computer Aided Instruction) หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หรือการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวย ˜ CBE (Computer Based Education) หมายถึง การใชคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ˜ CBI (Computer Based Instruction) หมายถึง การเรียนการสอนดวยคอมพิวเตอร ˜ CBL (Computer Based Learning) หมายถึง การเรียนรูดวยคอมพิวเตอร ˜ CAL (Computer Assisted Learning) หมายถึง การเรียนรูดวยคอมพิวเตอร ˜ CEI (Computer Enriched Instruction) หมายถึง การปรับปรุงการเรียนการสอน โดยใชคอมพิวเตอรชวย ˜ CBT (Computer Based Training) หมายถึง การฝกอบรมดวยคอมพิวเตอร ˜ CMI (Computer Managed Instruction) หมายถึง การเรียนการสอนโดยใช คอมพิวเตอรจัดการ 2. ยุคที่สอง (ประมาณป คศ. 1990 – 2000) เปนยุคของบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชงานบน เครือขายคอมพิวเตอร (Network Based) จะหมายถึงคําตอไปนี้ ˜ WBI (Web Based Instruction) หมายถึง เว็บชวยสอน หรือการเรียนการสอนดวย เว็บ ˜ WBT (Web Based Training) หมายถึง การฝกอบรมดวยเว็บ ˜ NBI (Net Based Instruction) หมายถึง การเรียนการสอนดวยเน็ต ˜ NBL (Net Based Instruction) หมายถึง การเรียนรูดวยเน็ต ˜ IBT (Internet Based Training) หมายถึง การฝกอบรมดวยอินเทอรเน็ต ˜ OL (Online Learning) หมายถึง การเรียนรูออนไลน 3. ยุคปจจุบัน (ประมาณหลังป คศ. 2000 เปนตนมา) เปนยุคของบทเรียนคอมพิวเตอรใน ลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ใชงานบนอินเทอรเน็ต (Internet Based) จะหมายถึงคําตอไปนี้
  • 3. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 3 ˜ e-Learning หมายถึง การเรียนรูดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ˜ e-Education หมายถึง การศึกษาดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ˜ e-Training หมายถึง การฝกอบรมดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ˜ d-Learning หมายถึง การเรียนรูทางไกลดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ˜ c-Learning หมายถึง การเรียนรูรวมกันดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ˜ m-Learning หมายถึง การเรียนรูดวยคอมพิวเตอรแบบพกพาหรือโทรศัพทมือถือ ความหมายทั่วไปของบทเรียนคอมพิวเตอรดังกลาวขางตน จึงหมายถึง บทเรียนสําเร็จรูป ที่นําเสนอเนื้อหา สื่อ กิจกรรม การตรวจปรับ การประเมินผล และกระบวนการเรียนรูอื่น ๆ ดวย สื่ออิเล็กทรอนิกส โดยใชคอมพิวเตอรนําเสนอและจัดการ ความหมายที่แทจริงของบทเรียนคอมพิวเตอรก็คือ บทเรียนและกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ถูกจัดกระทําไวอยางเปนระบบและมีแบบแผน โดยใชคอมพิวเตอรนําเสนอและจัดการ เพื่อให ผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับบทเรียนนั้น ๆ ตามความสามารถของตนเอง โดยผูเรียนไม จําเปนตองมีทักษะและประสบการณดานการใชคอมพิวเตอรก็สามารถเรียนรูได บทเรียน คอมพิวเตอร จึงเปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่ประยุกตใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการจัดการ เกี่ยวกับขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการปฏิสัมพันธ ผสมผสานกันอยางกลมกลืน และเปนระบบ เพื่อนําเสนอเนื้อหาความรูและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีแบบแผนตาม วัตถุประสงคของบทเรียน ทําใหการนําเสนอองคความรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและตอบสนอง ผูเรียนไดดีโดยเนนความแตกตางของผูเรียนเปนหลัก สงผลใหการเรียนการสอนเปนเรื่องที่สะดวก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอรมีราคาถูกลงแตมีสมรรถนะสูงขึ้นเชนใน ปจจุบัน ในทางการศึกษา ถือวาบทเรียนคอมพิวเตอรเปนการประยุกตใชคอมพิวเตอรเพื่อการ เรียนการสอนแขนงหนึ่ง ซึ่งยังมีวิทยาการแขนงอื่น ๆ ที่สามารถประยุกตใชคอมพิวเตอรได ไดแก 1. การใชเพื่อการวิจัยการศึกษา ไดแก งานคํานวณทางสถิติ งานเก็บขอมูลงานวิจัย งาน สรางเครื่องมือสําหรับการวิจัย เปนตน 2. การใชเพื่อการบริหารการศึกษา ไดแก งานระบบบัญชี งานการจัดการฐานขอมูล ประเภทตาง ๆ งานจัดทําตารางสอน/ตารางสอบ งานควบคุมวัสดุครุภัณฑการศึกษา งานการ พิมพ เปนตน 3. การใชเพื่องานบริการ ไดแก งานบริการหองสมุด งานบริการทางดานคลังขอมูล งาน วัดผลและประเมินผลการศึกษา งานทะเบียนประวัติ และงานสรางเว็บไซตรายวิชา เปนตน พัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอร บทเรียนคอมพิวเตอรมีมานานแลว นับตั้งแตป คศ. 1950 ศูนยวิจัยของไอบีเอ็ม ไดริเริ่ม พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรบนเครื่องคอมพิวเตอรแบบเมนเฟรม เพื่อใชกับงานวิจัยดานจิตวิทยา
  • 4. 4 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร นับวาเปนการบุกเบิกศาสตรดานนี้เปนครั้งแรก ตอมา ในป คศ. 1958 มหาวิทยาลัยฟลอลิดา ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรเพื่อใชสอนทบทวนวิชาฟสิกสและสถิติ มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ไดนําคอมพิวเตอรมาใชชวยสอนวิชาภาษาอังกฤษและคณิตศาสตรในระดับมัธยมศึกษา แต โครงการที่รูจักกันมากที่สุด ก็คือ The University of Illinois PLATO Project (Programmed Logical Automation Teaching Operation) ในตนป คศ. 1960 โดยอัลเพิรทและบิทเซอร (Alpert & Bitzer) แหงมหาวิทยาลัยอิลลินอยส เปนผูนําในการผลิตบทเรียนบนคอมพิวเตอรแบบเมนเฟรม ขึ้นมา จํานวน 150 วิชา เพื่อใชในการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย โดยพัฒนารวมกับบริษัท CDC (Control Data Corporation) ตอมาในป คศ. 1972 Mitre Corporation ไดเริ่มพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร โดยใชชื่อ โครงการวา TICCIT (Time Shared Interactive Computer Controlled Information Television) ซึ่งเปนอีกโครงการหนึ่งที่ประสบความสําเร็จอยางสูง ในการพัฒนาบทเรียนบนมินิคอมพิวเตอร ตอมาเมื่อคอมพิวเตอรไดแพรหลายมากขึ้นในหมูผูใช ไดมีการขยายตลาดการผลิตเขาสูเครื่อง ระดับสวนบุคคล ในป คศ. 1978 ไมโครคอมพิวเตอรยี่หอ Apple II ไดถูกผลิตเปนครั้งแรก ทําให มีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรขึ้นเพื่อใชกับไมโครคอมพิวเตอร ตอมาในป คศ. 1981 บริษัท ไอบีเอ็ม บริษัทชั้นนําดานคอมพิวเตอร ไดขยายฐานการผลิตเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรระดับลาง โดยผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่รูจักกันในชื่อของไอบีเอ็มพีซี จัดวาเปนเครื่องคอมพิวเตอร สวนบุคคลที่รูจักกันแพรหลายมากที่สุดจนถึงปจจุบัน ทําใหพัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอร ที่ใชงานบนไมโครคอมพิวเตอรมีอัตราความกาวหนาที่สูงอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน ในสวนของประเทศไทยนั้น ไดมีสถานศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ริเริ่มโครงการและพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอรอยางตอเนื่องมาโดยตลอด สถานศึกษาแหงแรกที่บุกเบิกดานบทเรียน คอมพิวเตอรก็คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช โดยรวมมือกับมหาวิทยาลัยกูเอลฟ (Guelph) แหงประเทศแคนาดา เพื่อรวมพัฒนาระบบนิพนธบทเรียน ชื่อ ไวทัลไทย (VITAL/Thai) เพื่อใช เปนเครื่องมือสําหรับพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอนทางไกล ตั้งแตป พ.ศ. 2533 เปนตนมา ซึ่งประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ หรือ NECTEC ไดสนับสนุนใหมี การพัฒนาระบบนิพนธบทเรียนเปนภาษาไทย นับตั้งแตระบบแรกที่ใชชื่อ ไทยโชว (Thaishow) ที่ เขียนขึ้นโดยใชภาษาปาสคาล ซึ่งใชกับระบบปฏิบัติการดอส ตอมาไดพัฒนาขึ้นใหม ใชชื่อวา ไทยทัศน 1 และไทยทัศน 2 (TAS : Thai Authoring System) นอกจากนี้ ยังไดจัดฝกอบรม สัมมนาเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรขึ้นเปนระยะ ๆ ในสวนของสถานศึกษาระดับ อุดมศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ไดมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรขึ้นใชงานเชนกัน เชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร โดยใชระบบนิพนธบทเรียนชื่อ Authorware กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดฝกอบรมการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร
  • 5. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 5 ใหกับคณาจารยหลายครั้ง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดพัฒนาระบบนิพนธบทเรียนชื่อจุฬาซีเอไอ ขึ้น เพื่อใชพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรทางดานการแพทย ในสวนของภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ไดพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรในวิชาชางอุตสาหกรรม โดยใชทั้งระบบนิพนธบทเรียนและใชภาษาคอมพิวเตอร นอกจากนี้ก็ยังมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรในสถานศึกษาอื่น ๆ ไดแก มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยบูรพา สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา สถาบันสงเสริมวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการพลังงาน เปนตน ในสวนของภาครัฐ ก็ไดตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนในการใชบทเรียน คอมพิวเตอร จึงไดริเริ่มโครงการปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษาในป พ.ศ. 2539 เพื่อใช บทเรียนคอมพิวเตอรในโรงเรียนระดับประถมศึกษาทั่วประเทศ สําหรับกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคม ซึ่งมีหนาที่ผลิตชางฝมือเขาสูตลาดแรงงาน ไดริเริ่มโครงการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรเพื่อใชในการฝกอบรมชางฝมือทั่วประเทศ เมื่อป พ.ศ. 2540 โดยรวมมือกับ มหาวิทยาลัยแหงรัฐยูทาห สําหรับภาคเอกชน บริษัท เจแอสแอล จํากัด ไดพัฒนาระบบนิพนธ บทเรียนขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2542 เพื่อใชพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร โดยรวมมือกับโรงเรียนในเขต กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังมีบริษัทเอกชนรายอื่น ๆ ที่ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรสอน ที่เปนภาษาไทยจําหนายพอสมควร สวนใหญเปนบทเรียนเสริมหลักสูตรสําหรับเด็กเล็ก แตยังไมมี การผลิตบทเรียนที่ใชประกอบวิชาในหลักสูตรแตอยางใด ในสวนของการใชเพื่อการฝกอบรม บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรเพื่อใชในการฝกอบรมพนักงานใหม เมื่อป พ.ศ. 2538 และยังมีบริษัทอื่น ๆ อีกจํานวนหนึ่งที่อยูในขั้นทดลองใชเพื่อการฝกอบรม บทเรียนคอมพิวเตอรกับ e-Learning เครือขายอินเทอรเน็ต ไดกําเนิดขึ้นเปนครั้งแรกจากพัฒนาการของเครือขาย ArparNet ของ กระทรวงกลาโหม แหงประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อป พ.ศ. 2515 หลังจากนั้นไดมีการใชงาน เครือขายอินเทอรเน็ตอยางแพรหลาย ทั้งในวงการธุรกิจ อุตสาหกรรม การแพทย การทหาร การเมือง และการใชงานทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะในวงการศึกษา ไดมีการประยุกตใชงานทุกดานที่ เกี่ยวกับการจัดการศึกษา การบริหารโครงการ การพัฒนาหลักสูตร การวัดและประเมินผล การศึกษา และการบริการการศึกษา เปนตน โดยเฉพาะการใชเปนเครื่องมือหรือใชเปนชองทาง ในการสงผานองคความรูไปยังผูเรียนในลักษณะตาง ๆ พัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใช งานในลักษณะแบบโดยลําพังเพียงคนเดียว ไดปรับเปลี่ยนไปสูการใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต เว็บชวยสอนหรือการเรียนการสอนโดยใชเว็บ จึงเขามาแทนที่บทเรียนคอมพิวเตอรแบบดั้งเดิม คําวาบทเรียนคอมพิวเตอรในลักษณะของ CAI หรือ CBT จึงถูกแทนที่ดวยคําวาบทเรียนบนเว็บ หรือเว็บชวยสอน ในลักษณะของ WBI หรือ WBT ที่ใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต
  • 6. 6 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร พัฒนาการของเว็บชวยสอนหรือการเรียนการสอนโดยใชเว็บ ในลักษณะของ WBI และ WBT ไดมีสวนกระตุนการใชบทเรียนคอมพิวเตอรเปนอยางมาก ไมเฉพาะสถานศึกษาเทานั้น แต ยังรวมถึงสถานประกอบการตาง ๆ ที่ไดปรับเปลี่ยนแนวทางการฝกอบรมจากระบบดั้งเดิมไป การฝกอบรมโดยใชเว็บ ทําใหมีความตองการใชงาน WBI และ WBT เปนอยางมาก ดังจะเห็น ปริมาณความตองการของ WBI และ WBT ในสถานศึกษาและสถานประกอบการ รวมทั้งจํานวน บริษัทผูผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรในปจจุบัน จากบทเรียนคอมพิวเตอรแบบดั้งเดิม ในลักษณะของ CAI และ CBT ไดปรับเปลี่ยนไปเปน เว็บชวยสอน ในลักษณะของ WBI และ WBT และพัฒนาไปเปน e-Learning ในยุคปจจุบัน โดย มุงเนนการใชงานที่ผสมผสานกัน ระหวางการศึกษาจากเนื้อหาบทเรียน กับการใชแหลงทรัพยากร ตาง ๆ ที่มีบริการอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหการเรียนการสอนมีความสะดวก และมีความ หลากหลายมากขึ้น รวมทั้งสามารถกระจายไปสูแหลงตาง ๆ ไดอยางทั่วถึง ในปจจุบันเมื่อ กลาวถึงบทเรียนคอมพิวเตอรจึงมีแนวโนมที่จะหมายถึง e-Learning มากกวา CAI/CBT หรือ WBI/WBT อยางไรก็ตามพัฒนาการทางดานนี้ยังคงมีความตอเนื่อง จาก e-Learning ที่ใชงาน บนเครือขายอินเทอรเน็ตที่เนนการใชงานเพียงลําพัง ไดเปลี่ยนไปเปน c-Learning (Collaborative Learning) เพื่อเนนการใชงานหลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน และปรับเปลี่ยนไปเปน m-Learning (Mobile Learning) เพื่อใชงานบนเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา (PDA) หรือโทรศัพทมือถือ นอกจากนี้ยังมีบทเรียนชนิดอื่น ๆ ที่เปนบทเรียนคอมพิวเตอรที่ใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต เชนเดียวกันกับ e-Learning เชน d-Learning หรือ d3 -Learning ซึ่งหมายถึง การเรียนรูทางไกล ดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส เปนตน ลักษณะการใชงาน ประโยชน และขอจํากัด บทเรียนคอมพิวเตอร สามารถประยุกตใชงานไดทั้งการเรียนการสอนและการฝกอบรม ลักษณะการใชงานจึงเหมาะสมกับสถานการณตอไปนี้ 1. ใชเพื่อสอนแทนผูสอนทั้งในและนอกชั้นเรียน หรือใชสอนทบทวนเนื้อหาเดิมที่ศึกษา ผานไปแลว หรือใชสําหรับสอนเสริมในกรณีที่ผูเรียนเรียนไมทันหรือไมเขาใจ 2. ใชเพื่อการศึกษาทางไกล เชน การเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียมสื่อสาร เพื่อใช ในมหาวิทยาลัยเปด และใชในระบบมหาวิทยาลัยเสมือน (Virtual University) เปนตน 3. ใชกับเนื้อหาที่ยุงยากหรือซับซอน ไมสามารถศึกษาไดจากของจริงหรือตองอาศัยการ จินตนาการ ยากเกินกวาจะเขาใจไดโดยงาย เชน การเกาะกลุมกันของอะตอมภายในโมเลกุล หลักการเกิดกระแสไหลวน (Eddy Current) ในแกนเหล็กของหมอแปลงไฟฟา เปนตน 5. ใชกับเนื้อหาสาระที่ตองการแสดงใหเห็นลําดับขั้นการเปลี่ยนแปลงทีละขั้น ๆ โดยการ จําลองจากเหตุการณจริงที่เกิดขึ้นเร็วเกินไปหรือชาเกินไป ใหเห็นลําดับขั้นการเปลี่ยนแปลงอยาง ชา ๆ ซึ่งสามารถยอนกลับหรือเดินหนาซ้ําแลวซ้ําอีกได
  • 7. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 7 6. ใชในการฝกอบรมพนักงานใหม โดยสรางเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยฝกอบรม เพื่อใหพนักงานไดศึกษาดวยตนเองจากระบบเครือขายคอมพิวเตอร วิธีการนี้พนักงานจะไมเสีย เวลาเริ่มงานใหมเหมือนกับการฝกอบรมแบบในงาน (on the Job Training) แบบดั้งเดิม 7. ใชเพื่อคงความเปนมาตรฐานของหลักสูตรการเรียนการสอนและการฝกอบรม ให เหมือนกันทุกแหงที่ใชหลักสูตรและเนื้อหาเดียวกัน 8. ใชในการเรียนการสอนเพื่อชวยแบงเบาภาระของผูสอนลง อีกทั้งยังใชเพื่อลดปญหา การขาดแคลนผูสอน 9. ใชเพื่อการแสวงหาแนวทางพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม ๆ โดยนําเอา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการศึกษา ชวยใหเกิดการพัฒนาทัดเทียมกับสาขาวิชาอื่น ๆ 10. ใชกับการเรียนการสอนผานเครือขายอินเตอรเน็ต ไดแก WBI, WBT, NBI, NBT, e-Learning, c-Learning, m-Learning หรือ d-Learning เปนตน ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอร มีดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนสูงขึ้นเมื่อเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร ซึ่งเปน ผลสรุปจากการวิจัยเกี่ยวกับการใชบทเรียนคอมพิวเตอร เปรียบเทียบกับการเรียนการสอนแบบ ปกติ หรือเปรียบเทียบกับการเรียนการสอนแบบอื่น ๆ 2. เวลาเรียนของผูเรียนลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนการสอนปกติในชั้นเรียน โดยเฉพาะผูเรียนที่เกง จะไมเสียเวลาคอยเพื่อนรวมชั้นเรียน 3. ความสนใจของผูเรียนสูงขึ้น เมื่อเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร โดยเฉพาะผูเรียนที่ เรียนคอนขางชา จะมีผลสัมฤทธิ์มากกวาผลสัมฤทธิ์จากวิธีการเรียนแบบปกติ 4. สงเสริมใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนอยางแทจริง โดยมีการโตตอบระหวาง ผูเรียนกับบทเรียน ทําใหเกิดการเรียนรูอยางลึกซึ้ง นอกจากนี้บทเรียนคอมพิวเตอรยังเปดโอกาส ใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธมากกวาสื่อการเรียนการสอนประเภทอื่น ๆ 5. ผูเรียนเปนผูควบคุมบทเรียนดวยตนเอง นับตั้งแตการจัดการบทเรียน เลือกกิจกรรม ที่ตนเองถนัด จนถึงการประเมินผลการเรียนดวยตนเอง ทําใหสามารถตอบสนองความตองการ ของผูเรียนไดอยางแทจริง 6. บทเรียนคอมพิวเตอรนําเสนอเนื้อหาไดรวดเร็ว ฉับไว การยอนกลับหรือขามบทเรียน ไปยังเนื้อหาถัดไป สามารถทําไดงาย และสะดวกขึ้น นอกจากนี้สื่อที่ใชเก็บบันทึกบทเรียน คอมพิวเตอรมีความจุสูง เชน ดีวีดีหนึ่งแผน สามารถเก็บบันทึกขอมูลไดมากกวาหนังสือหลายเทา 7. สามารถนําเสนอภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว ภาพ 3 มิติ และภาพโครงรางซับซอน ประกอบบทเรียนได นอกจากนี้ ยังใชเสียงประกอบบทเรียนในลักษณะของสื่อประสมได ทั้งเสียง บรรยาย เสียงดนตรี และเสียงผลพิเศษ (Sound Effect)
  • 8. 8 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร 8. ไมมีขอจํากัดดานเวลาและสถานที่ สามารถนําติดตัวไปเรียนในสถานที่ตาง ๆ ไดตาม ความตองการ อีกทั้งยังสามารถศึกษาบทเรียนผานเครือขายอินเตอรเน็ตได 9. การไดนําคําตอบของผูเรียนมาใชในการวิจัย นับวาเปนประโยชนอยางยิ่งในการ ปรับปรุงและแกไขบทเรียนในภายหลัง เพื่อใหเปนบทเรียนที่มีคุณภาพ และสอดคลองกับความ ตองการของผูเรียนที่แทจริง ขอจํากัดของบทเรียนคอมพิวเตอร มีดังนี้ 1. เสียคาใชจายสูงในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ทั้งดานฮารดแวร ไดแก ตัวเครื่อง คอมพิวเตอรและอุปกรณประกอบ และดานซอฟทแวร ไดแก ระบบนิพนธบทเรียน และซอฟทแวร อรรถประโยชน (Utility Software) สนับสนุนการพัฒนาบทเรียน 2. ตองจัดเตรียมผูเชี่ยวชาญหลายดานรวมระดมความคิด เพื่อออกแบบและพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร ทั้งดานหลักสูตรและดานการเรียนการสอน ดานสื่อการสอน ดานการวัดและ ประเมินผล และดานการโปรแกรมคอมพิวเตอร 3. ใชระยะเวลายาวนานในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร รวมทั้งเวลาสําหรับการ ทดสอบประเมินผลคุณภาพบทเรียน และการปรับปรุงแกไข 4. ยากในการออกแบบบทเรียนใหไดคุณภาพดี เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรที่ดีนั้น จะตองออกแบบใหมีความยืดหยุนตอการใชงาน และเหมาะสมกับผูเรียนที่มีความถนัดแตกตางกัน จึงเปนเรื่องยากที่จะออกแบบเนื้อหาใหสอดคลองกับกลุมเปาหมายทุกกลุมที่มีความแตกตางกัน 5. บทเรียนคอมพิวเตอรเปนบทเรียนที่ถูกออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอน จึงมี ขั้นตอนการเรียนรูตามแผนการสอนที่วางไวทุกประการ เมื่อนําไปใชในการเรียนการสอน จึงไม สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคของผูเรียนที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน ในระหวางกระบวนการเรียนรู ไดในบางครั้ง 6. ผูเรียนไดรับการตอบสนองจากบทเรียนคอมพิวเตอรในรูปแบบที่แนนอน ตามการ จัดการของโปรแกรม บทเรียนคอมพิวเตอรจึงไมสามารถตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรูของ ผูเรียนขณะที่ศึกษาบทเรียนได 7. การใชบทเรียนคอมพิวเตอรมากเกินไป จะเปนการลดความสัมพันธของเพื่อนรวมชั้น และปฏิกิริยาที่มีตอกันในทางสังคมจะลดนอยลงไป อาจสงผลใหเห็นความสําคัญของผูสอนนอยลง ไปไดเชนกัน 8. ผูเรียนระดับผูใหญอาจจะไมชอบศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอร ที่มีโปรแกรมการ เรียนรูเปนขั้นตอน ทําใหเกิดอุปสรรคในการเรียนรูไดมากกวาผูเรียนระดับเด็ก 9. ปญหาทางดานเทคนิค มีดังนี้ 9.1 ปญหาความเร็วในการสื่อสารของเครือขาย เนื่องจากแถบความถี่ในการสื่อสารมี ผลตอความเร็วในการสงผานเนื้อหาบทเรียน ทําใหบางแหงประสบปญหาการศึกษาบทเรียนบน
  • 9. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 9 เครือขายอินเทอรเน็ต ถาความเร็วในการสื่อสารไมสูงมากเพียงพอ นอกจากนี้หากผูเรียนตอเชื่อม เขาระบบเปนจํานวนมาก ก็จะทําใหการนําเสนอบทเรียนชาลง 9.2 ปญหาดานลิขสิทธิ์ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรตองอาศัยซอฟทแวรที่มีราคา สูง ทําใหการพัฒนาอยูในวงจํากัดเฉพาะหนวยงานหรือสถานศึกษาที่มีงบประมาณเพียงพอเทานั้น 9.3 เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรนําเสนอผานจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่ง ประกอบดวยอุปกรณที่เกี่ยวของหลายอยาง การใชงานจึงอาจเกิดปญหาขึ้นได บทเรียนจึงใชได ผลดีสําหรับผูเรียนที่มีความรูดานการใชเครื่องคอมพิวเตอรมาบาง การเรียนการสอนแบบโปรแกรม ลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร ไดจากการประยุกตบทเรียนสําเร็จรูปหรือบทเรียน โปรแกรม (PI : Programmed Instruction) หรือบทเรียนดวยตนเอง ที่ไดรับความนิยมในระยะ หนึ่ง บทเรียนสําเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ออกแบบขึ้นมาอยางมีแบบแผน เพื่อใหผูเรียนได เรียนรูดวยตนเองในการศึกษาและจัดการบทเรียนตามความตองการ เชน เลือกกิจกรรมการเรียน ที่ตนเองถนัด เลือกวิธีการเรียนรู และประเมินผลการเรียนดวยตนเอง เปนตน แนวความคิดและ การจัดการบทเรียนสําเร็จรูป อาศัยพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลในการพัฒนาวิธีการให ผูเรียนไดเรียนรูตามความสามารถเฉพาะบุคคลและความพรอม โดยไมคํานึงถึงเวลาและสถานที่ บทเรียนที่สมบูรณจะมีแบบทดสอบวัดความกาวหนาทางการเรียน โดยทําแบบทดสอบกอนและ หลังบทเรียนแลวพิจารณาวาหลังบทเรียน ผูเรียนมีคะแนนมากกวากอนบทเรียนมากนอยเพียงใด ภาพที่ 1-1 โครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรกับบทเรียนโปรแกรม Program Instruction Database Multimedia Attributes Computer Instruction CAI/CBT WBI/WBT
  • 10. 10 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร เหตุที่บทเรียนคอมพิวเตอรไดรับความนิยม เนื่องจากมีจุดเดนและมีความคลองตัวในการใช งานมากกวาบทเรียนสําเร็จรูป ไดแก สามารถสรางสรรคเนื้อหาแบบสาขา เพื่อเปดโอกาสให ผูเรียนเลือกเรียนไดตามความสนใจในแตละบทเรียน ซึ่งทําไดทั้งในลักษณะการสอนทบทวน เนื้อหาหรือการใชคําถาม สามารถกําหนดใหมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับบทเรียนไดตลอดเวลา แมแตการเฉลยคําตอบหรือการประเมินผลการเรียนรูก็สามารถทําไดเชนกัน นอกจากนี้บทเรียน คอมพิวเตอรในปจจุบัน ยังสามารถใชคุณสมบัติเฉพาะตัวของคอมพิวเตอรในการจัดการเกี่ยวกับ บทเรียน เปนตนวา มีระบบการจัดการฐานขอมูลที่สามารถเก็บบันทึกผลการเรียนไวได สามารถ สรางธนาคารขอสอบได ประเมินผลการเรียนไดอยางรวดเร็ว นอกเหนือจากการนําเสนอดวย ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟก และเสียง ในลักษณะของสื่อประสม ที่ไมมีในบทเรียน สําเร็จรูปแตอยางใด อยางไรก็ตาม บทเรียนคอมพิวเตอรก็ยังคงไวซึ่งโครงสรางของการเรียนการสอนแบบ โปรแกรมเชนเดียวกับบทเรียนสําเร็จรูป จึงอาจกลาวไดวา บทเรียนทั้งสองมาจากแนวความคิด เดียวกัน โดยมีลักษณะสําคัญ ๆ ดังนี้ 1. มีการกําหนดความคาดหวังที่ตองการหลังจบบทเรียน โดยกําหนดเปนวัตถุประสงค เชิงพฤติกรรมของผูเรียนหลังจากจบบทเรียนแลววา จะตองสามารถแสดงพฤติกรรมที่วัดไดหรือ สังเกตไดอยางชัดเจน 2. การนําเสนอเนื้อหาบทเรียนจะเริ่มจากสิ่งที่รูไปยังสิ่งที่ยังไมรู หรือจากสิ่งที่งายไปยังสิ่ง ที่ยาก โดยการจัดการนําเสนอเนื้อหาเรียงตามลําดับ เริ่มจากสวนที่ผูเรียนเรียนรูมาแลว ไปยังเรื่อง ใหมที่ยังไมรู เนื้อหาตองสรางเปนกรอบหรือเฟรม และนําเสนอทีละเฟรม ๆ จนครบตาม วัตถุประสงคของบทเรียน ตามลําดับความยากงาย 3. เนื้อหาแตละเฟรมยอย ตองเพิ่มขึ้นทีละนอย ๆ และมีการแนะนําความรูใหมทีละขั้น แต ไมมากนัก ความเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาแตละสวนยอย ผูเรียนจะตองสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง 4. ในระหวางนําเสนอเนื้อหา จะมีการนําเสนอกิจกรรมการเรียนประกอบดวย เชน ตอบ คําถาม ทําแบบทดสอบ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ในลักษณะของการสงเสริมใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธรวม ตลอดบทเรียน เนื่องจากถาใหผูเรียนอานเนื้อหาและคิดตามเพียงอยางเดียว จะทําใหไมเกิดการ สรางสรรคประสบการณการเรียนรู และทําใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนาย 5. เมื่อผูเรียนมีปฏิสัมพันธ ในกรณีที่ผูเรียนตอบผิด จะมีการอธิบายหรือแนะนําเพิ่มเติม ถึงความผิดพลาดที่เกิดขึ้น หรือมีการจัดการบทเรียนใหยอนกลับไปในสวนของเนื้อหาที่เกี่ยวของ หากผูเรียนตอบถูกตอง จะมีการใหคําชมดวยวิธีใดวิธีหนึ่งที่สรางเสริมกําลังใจในการเรียน 6. เวลาไมใชขอจํากัดในการเรียนรู บทเรียนตองอํานวยประโยชนใหผูเรียนไดเลือกเรียน ตามความสามารถและความถนัดของผูเรียน ผูเรียนสามารถใชเวลาในการทบทวนบทเรียนหรือคิด คําตอบเพื่อจะตอบคําถามแตละขอนานเทาใดก็ได
  • 11. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 11 7. มีแบบทดสอบหลังบทเรียน เพื่อใหผูเรียนไดประเมินผลการเรียนรูของตนเอง ซึ่งจะ เปนการสรุปเนื้อหาและมีการติดตามผลของผูเรียนดวยวาผลการเรียนรูเปนอยางไร จําเปนตอง คนควาหรือศึกษาเนื้อหาสวนใดเพิ่มเติม 8. การใชบทเรียนสําเร็จรูป จะไมอยูภายใตการดูแลของผูสอนหรือภายในสถานที่ที่ กําหนด ผูเรียนมีอิสระจากการดูแลหรือการควบคุมจากบุคคลอื่น ๆ และสถานที่ที่พอใจ 9. ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางการเรียน การออกแบบบทเรียนจึงตอบสนองความตองการ และความสามารถของแตละบุคคลเปนสําคัญ ลักษณะโครงสรางของการเรียนการสอนดังกลาว เปนแนวความคิดขั้นพื้นฐานของบทเรียน สําเร็จรูป นอกจากนี้ยังมีสวนอื่น ๆ ของบทเรียนสําเร็จรูปที่ใชเปนแนวความคิดในการออกแบบ บทเรียนคอมพิวเตอร ไดแก รูปแบบการนําเสนอ ซึ่งจําแนกออกเปน 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. แบบเรียงลําดับเชิงเสน (Linear Program) 2. แบบสาขา (Branching Program) 3. แบบแอดจังทีฟ (Adjunctive Program) รายละเอียดแตละรูปแบบ มีดังนี้ 1. แบบเรียงลําดับเชิงเสน (Linear Program) รูปแบบของบทเรียนสําเร็จรูปแบบนี้จะแบงออกเปนหนวยยอย ๆ ที่เรียงตอเนื่องกันไป ตามลําดับ เริ่มจากสิ่งที่งายไปหาสิ่งที่ยาก ผูเรียนจะเรียนไปทีละหนวยจากหนวยแรกและกาว ตอไปตามลําดับ จะขามหนวยใดหนวยหนึ่งไมได สิ่งที่ผูเรียนศึกษาจากหนวยแรก ๆ จะเปน พื้นฐานของหนวยถัดไป ลักษณะของบทเรียนสําเร็จรูปประเภทนี้ มักจะเปนแบบใหตอบคําถาม แบบถูกผิดหรือใหเติมคําในชองวาง และใหผูเรียนตรวจคําตอบในหนวยถัดไปหรือเฟรมถัดไป ภาพที่ 1-2 รูปแบบการนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบเรียงลําดับเชิงเสน (Linear Program) 2. แบบสาขา (Branching Program) บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา เปนบทเรียนสําเร็จรูปที่ออกแบบขึ้นมาโดยคํานึงถึงความ แตกตางของบุคคลเปนหลัก โดยแบงบทเรียนออกเปนเฟรมหลักหรือหนวยหลักและหนวยยอย ๆ ซึ่งผูเรียนทุกคนจะตองเรียนที่เฟรมหลัก สวนหนวยยอยที่แตกสาขาออกไป มีไวเพื่อเสริมความ 1 2 3 4 5 6 7 8
  • 12. 12 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร เขาใจสําหรับผูเรียนบางคนที่ตองการ เมื่อผานไปยังหนวยยอยแลวจะกลับมายังเฟรมหลักอีกและ เรียนตอไปจนครบบทเรียนตามผลของการตอบสนองที่มีตอบทเรียน บทเรียนแบบนี้จะควบคุม ขั้นตอนใหสามารถเรียนรูเนื้อหาไดตลอด โครงสรางการนําเสนอของบทเรียนจึงซับซอนและ ออกแบบยากกวาแบบเรียงลําดับเชิงเสน ภาพที่ 1-3 รูปแบบการนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา (Branching Program) 3. แบบแอดจังทีฟ (Adjunctive Program) การนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบแอดจังทีฟ จะมีลักษณะเชนเดียวกันกับแบบสาขา แต การเสนอเนื้อหาจะมีปริมาณมากกวา สวนการตอบคําถามซึ่งอาจจะกระทําในตอนทายบทเรียน แลว ยังอาจขามไปยังหนวยยอยอื่น ๆ เลยก็ได ถาผูเรียนสามารถแสดงใหเห็นวามีความรู ความสามารถในสวนที่จะขามไปนั้น การนําเสนอบทเรียนรูปแบบนี้จึงเปนรูปแบบผสม ที่ซับซอน และยุงยากมากกวาสองรูปแบบแรก ภาพที่ 1-4 รูปแบบการนําเสนอบทเรียนสําเร็จรูปแบบแอดจังทีฟ (Adjunctive Program) 1 2 3 4 4.11.1 2.1 3.1 4.21.2 2.2 3.2 1 3 8 2 4 6 7 5 9
  • 13. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 13 นอกจากนี้ บทเรียนคอมพิวเตอรยังใชแนวความคิดและหลักการดานอื่น ๆ ของบทเรียน สําเร็จรูปมาประยุกตเขากับคุณสมบัติเฉพาะตัวของคอมพิวเตอร ทําใหบทเรียนคอมพิวเตอรแสดง บทบาทในการนําเสนอองคความรูไดมีประสิทธิภาพมากกวาบทเรียนสําเร็จรูป องคประกอบที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร องคประกอบที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอรมี 4 สวน ถาขาดสวนใดสวนหนึ่งไป จะทําให บทเรียนขาดความสมบูรณในดานการถายทอดองคความรูไปสูผูเรียน คอมพิวเตอรที่ใชก็จะมี บทบาทเปนเพียงอุปกรณหรือเครื่องมือนําเสนอขอมูลหรือสําหรับฉายขอมูลเทานั้น ไมใชบทเรียน คอมพิวเตอรที่แทจริง องคประกอบที่สําคัญทั้ง 4 สวน มีดังนี้ 1. การเรียนโดยใชคอมพิวเตอร 2. บทเรียนไดออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น 3. ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนโดยตรงผานทางคอมพิวเตอร 4. บทเรียนตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล รายละเอียดขององคประกอบทั้ง 4 สวน มีดังนี้ 1. การเรียนโดยใชคอมพิวเตอร เปนการถายทอดองคความรูโดยผานคอมพิวเตอร ซึ่งได มีการจัดระเบียบเนื้อหาและระบบการนําเสนอแบบปฏิสัมพันธไวแลวเรียบรอย ความสามารถใน การติดตามหรือคนหาองคความรูในบทเรียนคอมพิวเตอร จึงยึดหลักการสําคัญ ไดแก ความงาย ความสะดวกในการใชงาน ความสวยงาม ความนาสนใจ และสงเสริมใหผูเรียนสามารถเรียนรูได ดวยตนเอง เพื่อใหผูเรียนประสบผลสําเร็จดวยวิธีการของตนเองในการเรียนรูตามที่ตองการ 2. บทเรียนไดออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น การเรียนรูดวยบทเรียน คอมพิวเตอรเปนการเลียนแบบวิธีการสอนแบบปกติในชั้นเรียน อันเนื่องมาจากปญหาและความ ตองการตาง ๆ ไดแก ความรับผิดชอบของผูสอนในปจจุบันที่มีตอผูเรียนมีมากขึ้น ความตองการ ใชเทคโนโลยีสมัยใหมในวงการศึกษา เปนตน การออกแบบการเรียนการสอนจึงไดเนนการ ประยุกตใชเทคโนโลยีทางดานสื่อการเรียนการสอนมากขึ้น บทบาทที่สําคัญในฐานะของผูสอนก็ คือการออกแบบแผนการสอนอยางเปนระบบ เพื่อนําเสนอองคความรูใหถูกตองและครบถวน โดยเฉพาะบทเรียนคอมพิวเตอร ซึ่งออกแบบไวกอนที่จะมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น ดังนั้น การ ออกแบบบทเรียนจึงตองยึดหลักการตอบสนองการเรียนรูรายบุคคลใหมากที่สุด ตามหลักการ เรียนรู 3. ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนโดยตรงผานคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปน องคประกอบสําคัญในการนําเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร เพื่อถายทอดองคความรูจากบทเรียนที่ได ออกแบบไวแลว ลักษณะการนําเสนอบทเรียนจะสนับสนุนใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับ บทเรียนตลอดเวลา เพื่อสรางเสริมใหผูเรียนเกิดพัฒนาการทางการเรียนรู โดยยึดตนเองเปนหลัก
  • 14. 14 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร ในการควบคุมบทเรียน นอกจากนี้ยังตองเสริมสรางความรูสึกในทางบวกแกผูเรียนในการมี ปฏิสัมพันธกับคอมพิวเตอร สงเสริมใหผูเรียนมีสิทธิ์คิดและตัดสินใจ โดยไมรูสึกวาถูกริดรอนสิทธิ ในการเรียนรูหรือถูกควบคุมจากคอมพิวเตอร 4. บทเรียนตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล ปรัชญาการจัดการศึกษาที่นํามาใช ไดผลในกระบวนการเรียนการสอนในปจจุบัน ไดเนนเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล รวมทั้ง หลักการเรียนรู สื่อการเรียนการสอน และวิธีการสอน จึงตองพยายามพัฒนาใหสนองตอบตอ ความแตกตางระหวางบุคคลดังกลาว องคประกอบหนึ่งของบทเรียนคอมพิวเตอรซึ่งเปนนวัตกรรม ทางการศึกษาสมัยใหมก็คือ จะตองพัฒนาใหเปนสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ตองตอบสนองความแตกตาง ระหวางบุคคล โดยมีความยืดหยุน สามารถใชกับผูเรียนที่มีพื้นฐานความรูและความสามารถที่ แตกตางกันไดดี คุณลักษณะที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร นอกจากจะยึดหลักการเรียนรูแบบโปรแกรมตามหลักการพื้นฐานของบทเรียนสําเร็จรูป โดย ตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลเปนหลักแลว บทเรียนคอมพิวเตอรที่ดียังควรประกอบดวย คุณลักษณะที่สําคัญ 4 ประการ หรือที่เรียกวา 4 Is ดังนี้ 1. ความเปนสารสนเทศ (Information) 2. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) 3. การมีปฏิสัมพันธ (Interaction) 4. การใหผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ภาพที่ 1-5 คุณลักษณะที่สําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร Interaction Information IndividualizationImmediate Feedback Computer Instruction
  • 15. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 15 รายละเอียดตาง ๆ มีดังนี้ 1. ความเปนสารสนเทศ (Information) หมายถึง การจัดระเบียบขององคความรูที่ถายโยง ไปสูผูเรียนอยางเปนระบบ โดยยึดหลักประสบการณการเรียนรู หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิธีการ คิด การออกแบบ และการพัฒนาบทเรียน ที่จะกระตุนใหผูเรียนใหเรียนรูเนื้อหาอยางเปนระบบ โดยใชหลักการและวิธีการของสารสนเทศ ซึ่งเปนการเปลี่ยนวิธีการศึกษาของผูเรียนจากวิธีดั้งเดิม ทั้งปริมาณและวิธีประมวลความรู กลาวโดยสรุปก็คือ เนื้อหาที่จะนําเสนอในบทเรียนคอมพิวเตอร จะตองเปนสารสนเทศ (Information) ซึ่งผานการจัดระเบียบมาแลว ไมใชขอมูลดิบ (Raw Data) ทั่ว ๆ ไปเหมือนการนําเสนอขอความปกติในเอกสารสิ่งพิมพตาง ๆ การประมวลผลสารสนเทศของผูเรียนโดยใชคอมพิวเตอร ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ 1. การรับขอมูลเขา (Input) โดยใชอุปกรณรับขอมูล (Input Device) เชน แปนพิมพ เมาส เครื่องอานแผนแมเหล็ก เครื่องอานแผนซีดีรอม เปนตน 2. ระบบปฏิบัติการ (Operating System) และซอฟทแวรการใชงาน รวมทั้งระบบนิพนธ บทเรียน 3. การแสดงผลออก (Output) โดยใชอุปกรณแสดงผล (Output Device) เชน จอภาพ เครื่องพิมพ เปนตน การจัดแผนการเรียนรูของบทเรียนคอมพิวเตอร โดยพิจารณาความเปนระบบสารสนเทศ เปนการใชศาสตรและศิลปะทางเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการเรียนการสอน ไดแก การ วางแผนการสอน การเลือกใชสื่อการเรียนการสอน การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการจัด กิจกรรมการเรียนรู เพื่อกระตุนกระบวนการเรียนรูตามสภาพแวดลอมของผูเรียนใหเปนไปตาม วัตถุประสงคที่กําหนด เปนผลใหผูเรียนไดรับความรูหรือทักษะอยางหนึ่งอยางใดเพิ่มขึ้น 2. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) บทเรียนคอมพิวเตอรที่ดี ตองมี ลักษณะยืดหยุน เพื่อใหผูเรียนมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง รวมทั้งการเลือกรูปแบบ ของกิจกรรมการเรียนที่เหมาะสมตามความถนัดของตนเอง ไดแก 2.1 การควบคุมเนื้อหา บทเรียนตองเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเลือกเรียนรูเนื้อหา ในสวนที่ตองการหรือจะออกจากบทเรียนเมื่อไรก็ได ความสามารถในการควบคุมกิจกรรมการ เรียนรู โดยการเขาใจถึงผลที่เกิดตามมาของพฤติกรรมนับวามีความสําคัญมาก นักการศึกษาได กลาวถึงความสามารถที่จะควบคุมกิจกรรมการเรียนรูวา ถาผลที่เกิดตามมาของพฤติกรรมของ ผูเรียนคือรางวัล ผูเรียนจะมีความพอใจในพฤติกรรมของตนเอง แตถาผลที่ตามมาเปนการลงโทษ อาจกอใหเกิดความไมพอใจ ทั้งความพอใจและความไมพอใจ มีความใกลชิดกับมาตรฐานของ พฤติกรรมที่ผูแสดงพฤติกรรมไดตั้งไว 2.2 การควบคุมลําดับการเรียน ผูเรียนสามารถเลือกเรียนเนื้อหาไดตามความสนใจ โดยสามารถเลือกรายการใดรายการหนึ่งตามความตองการ การเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถ ควบคุมลําดับขั้นการเรียนรูและอัตราการเรียนตามความตองการ เปนวิธีการสงเสริมใหผูเรียนลด
  • 16. 16 การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร ความวิตกกังวลในการเรียน อันเนื่องจากความแตกตางระหวางบุคคล ผูเรียนที่มีลักษณะตางกัน และมีความสามารถในการเรียนรูตางกัน อาจชอบวิธีการเรียนการสอนที่แตกตางกันก็ได 2.3 การควบคุมกิจกรรมการเรียน กิจกรรมการเรียนของบทเรียนคอมพิวเตอรโดย พื้นฐาน ประกอบดวย การเลือกรายการบทเรียน การตอบคําถาม การเลือกสื่อการเรียนการสอนที่ ตนเองถนัด หรือการมีสวนรวมในสถานการณจําลอง นอกจากนี้ยังอาจนําเอาระบบผูเชี่ยวชาญ (ES : Expert System) หรือระบบปญญาประดิษฐ (AI : Artificial Intelligent) มาประยุกตใชใน บทเรียนคอมพิวเตอร เพื่อตอบสนองดานความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน เชน การจัดการ นําเสนอเนื้อหาในระดับความยากงายที่ตรงกับพื้นฐานความสามารถและความสนใจของผูเรียน 3. การมีปฏิสัมพันธ (Interaction) หมายถึง การสงเสริมใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับ บทเรียนคอมพิวเตอร เปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสโตตอบกับบทเรียนอยางตอเนื่อง ตลอดทั้งบทเรียน ผลที่ตามมาก็คือจะทําใหผูเรียนไดเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว การที่ให ผูเรียนโตตอบบทเรียน โดยการคลิกเมาสหรือกดแปนพิมพเพื่อเปลี่ยนเนื้อหาใหมทีละหนาจอภาพ ไมถือวาเปนการปฏิสัมพันธกับบทเรียนแตอยางใด การปฏิสัมพันธจะตองเปนการรวมพัฒนา องคความรูระหวางผูเรียนกับบทเรียนเทานั้น เชน การปอนตัวเลขทางแปนพิมพ การคลิกเมาสที่ คําตอบในขอคําถาม เปนตน การออกแบบบทเรียนสวนนี้ จึงตองจัดระเบียบวิธีคิดเพื่อวิเคราะห และสรางสรรคกิจกรรมการเรียนรูหรือสวนสําหรับฝกปฏิบัติ ที่จะกอใหเกิดความตอเนื่องตามลําดับ ความสําคัญของเนื้อหา โดยยึดคุณลักษณะของการปฏิสัมพันธกับบทเรียนเปนหลัก 4. การใหผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) จัดวาเปนกิจกรรมการเสริมแรง อยางหนึ่งตามแนวความคิดของ Skinner ซึ่งเปนขอไดเปรียบในการใชคุณสมบัติของคอมพิวเตอร ในการใหผลปอนกลับโดยทันทีที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียน คุณลักษณะดานนี้ นับวาเปน จุดเดนที่ทําใหบทเรียนคอมพิวเตอรสามารถตอบสนองความตองการของผูเรียนไดรวดเร็ว ไม เพียงแตเปนการปอนกลับในรูปของการตอบคําถามเทานั้น แตยังรวมถึงการประมวลผลความรู จากแบบทดสอบที่ผูเรียนลงมือปฏิบัติ โดยไมตองรอคอยคําตอบจากการตรวจของผูสอนเหมือน การสอนปกติในชั้นเรียนที่บางครั้งผูเรียนตองการทราบผลการเรียนรูทันที แตก็ไมสามารถทําได เนื่องจากเพื่อนรวมชั้นมีจํานวนมาก อายเพื่อน หรือสาเหตุอื่น ๆ เปนตน ทฤษฎีการเรียนรูกับบทเรียนคอมพิวเตอร ทฤษฎีการเรียนรูที่เปนพื้นฐานของบทเรียนคอมพิวเตอร จําแนกเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแก 1. กลุมทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory Group) 2. กลุมทฤษฎีปญญานิยม (Cognitive Theory Group) รายละเอียดทั้งสองกลุม มีดังนี้
  • 17. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร 17 1. กลุมทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory Group) ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เปนทฤษฎีที่ศึกษาดานพฤติกรรมการเรียนรูวาเปนสิ่งที่สามารถ สังเกตไดจากพฤติกรรมภายนอก มีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง โดยเชื่อวาการเรียนรูเปนพฤติกรรมแบบแสดงอาการกระทํา (Operant Conditioning) เมื่อมีการ เสริมแรง ซึ่งสามารถสรุปเปนประเด็นสําคัญ ๆ ไดดังนี้ l พฤติกรรมทุกอยางเกิดขึ้นโดยการเรียนรูและสามารถสังเกตได l พฤติกรรมแตละชนิดเปนผลรวมของการเรียนที่เปนอิสระหลายอยาง l การเสริมแรง (Reinforcement) ชวยทําใหพฤติกรรมเกิดขึ้นได ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มีอิทธิพลตอการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรในลักษณะที่เปนชุด ของพฤติกรรมซึ่งจะตองเกิดขึ้นตามลําดับที่แนชัด การที่ผูเรียนจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นจะตอง ผานการเรียนรูตามขั้นตอนที่กําหนดไวในวัตถุประสงค ผลที่ไดจากการเรียนขั้นแรกจะเปน พื้นฐานของการเรียนในขั้นตอ ๆ ไป ดังนั้น บทเรียนคอมพิวเตอรที่ไดรับการออกแบบตาม ทฤษฎีนี้ จึงมีลักษณะการนําเสนอเนื้อหาแบบเชิงเสนเปนสวนใหญ พฤติกรรมการเรียนรูตามแนวความคิดนี้ แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1.1 พฤติกรรมการตอบสนอง (Respondent Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดย สิ่งเรา (Stimulus) เมื่อมีสิ่งเรา (Response) พฤติกรรมการตอบสนองจะเกิดขึ้นโดยสามารถ สังเกตได กระบวนการเรียนรูประเภทนี้เรียกวา ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theory) 1.2 พฤติกรรมอาการกระทํา (Operant Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลใด ๆ แสดง พฤติกรรมตอบสนองออกมา เมื่อมีสิ่งเราที่แนนอนและมีผลตอสิ่งแวดลอม พฤติกรรมประเภทนี้ เรียกวา พฤติกรรมแสดงอาการกระทํา (Operant Conditioning Theory) การเรียนรูตามทัศนะของนักทฤษฎีกลุมนี้ เกิดจากกระบวนการตอบสนองเมื่อมีสิ่งเรา องคประกอบสําคัญของการเรียนรูตามทฤษฎีนี้มี 4 ประการ ไดแก 1. แรงขับ (Drive) เปนความตองการของผูเรียนในบางสิ่งบางอยาง แลวจูงใจใหผูเรียน หาหนทางตอบสนองความตองการดังกลาว 2. สิ่งเรา (Stimulus) ผูเรียนจะไดรับองคความรูหรือการชี้แนะโดยทันทีจากสิ่งเราในการ ที่จะตอบสนอง 3. การตอบสนอง (Response) เปนการที่ผูเรียนแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเรา สามารถอธิบายไดดวยพฤติกรรมที่ผูเรียนแสดงออก 4. การเสริมแรง (Reinforcement) เปนการใหรางวัลเพื่อเสริมแรง เชน กลาวชมเชยแก ผูเรียนเมื่อตอบถูกตอง จะชวยใหผูเรียนเกิดพฤติกรรมการตอบสนองเชนเดิม เขมแข็ง และ ตอเนื่อง